ดาวเทียม (อังกฤษ: satellite) คือ สิ่งประดิษฐ์ที่มนุษย์คิดค้นขึ้น เป็นสิ่งที่สามารถโคจรรอบโลกโดยอาศัยแรงดึงดูดของโลก ส่งผลให้สามารถโคจรรอบโลกได้ในลักษณะเดียวกันกับที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลก และโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ วัตถุประสงค์ของสิ่งประดิษฐ์นี้เพื่อใช้ ทางการทหาร การสื่อสาร การรายงานสภาพอากาศ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์เช่นการสำรวจทางธรณีวิทยาสังเกตการณ์สภาพของอวกาศ โลก ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวอื่น ๆ รวมถึงการสังเกตวัตถุ และดวงดาว กาแล็กซี ต่าง ๆ
ประวัติ
ดาวเทียมได้ถูกส่งขึ้นไปโคจรรอบโลกครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2500 ดาวเทียมดังกล่าวมีชื่อว่า "สปุตนิก (Sputnik)" โดยรัสเซียเป็นผู้ส่งขึ้นไปโคจร สปุตนิกทำหน้าที่ตรวจสอบการแผ่รังสีของชั้นบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟีย ในปี พ.ศ. 2501 สหรัฐได้ส่งดาวเทียมขึ้นไปโคจรบ้างมีชื่อว่า "Explorer" ทำให้รัสเซียและสหรัฐเป็น 2 ประเทศผู้นำทางด้านการสำรวจทางอวกาศ และการแข่งขันกันระหว่างทั้งคู่ได้เริ่มขึ้นในเวลาต่อมา
ส่วนประกอบดาวเทียม
ดาวเทียมเป็นเครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ซับซ้อน มีส่วนประกอบหลาย ๆ อย่างประกอบเข้าด้วยกันและสามารถทำงานได้โดยอัตโนมัติ สามารถโคจรรอบโลกด้วยความเร็วที่สูงพอที่จะหนีจากแรงดึงดูดของโลกได้ การสร้างดาวเทียมนั้นมีความพยายามออกแบบให้ชิ้นส่วนต่าง ๆ ทำงานได้อย่างประสิทธิภาพมากที่สุด และราคาไม่แพงมาก ดาวเทียมประกอบด้วยส่วนประกอบเป็นจำนวนมาก แต่ละส่วนจะมีระบบควบคุมการทำงานแยกย่อยกันไป และมีอุปกรณ์เพื่อควบคุมให้ระบบต่าง ๆ ทำงานร่วมกัน โดยองค์ประกอบส่วนใหญ่ของดาวเทียมประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้
- โครงสร้างดาวเทียม เป็นส่วนประกอบที่สำคัญมาก โครงจะมีน้ำหนักประมาณ 15 - 25% ของน้ำหนักรวม ดังนั้น จึงจำเป็นต้องเลือกวัสดุที่มีน้ำหนักเบา และต้องไม่เกิดการสั่นมากเกินที่กำหนด หากได้รับสัญญาณที่มีความถี่ หรือความสูงของคลื่นมาก ๆ (amptitude)
- ระบบเครื่องยนต์ ซึ่งเรียกว่า "aerospike" อาศัยหลักการทำงานคล้ายกับเครื่องอัดอากาศ และปล่อยออกทางปลายท่อ ซึ่งระบบดังกล่าวจะทำงานได้ดีในสภาพสุญญากาศ ซึ่งต้องพิจารณาถึงน้ำหนักบรรทุกของดาวเทียมด้วย
- ระบบพลังงาน ทำหน้าที่ผลิตพลังงาน และกักเก็บไว้เพื่อแจกจ่ายไปยังระบบไฟฟ้าของดาวเทียม โดยมีแผงรับพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Cell) ไว้รับพลังงานจากแสงอาทิตย์เพื่อเปลี่ยนเป็น ให้ดาวเทียม แต่ในบางกรณีอาจใช้พลังงานนิวเคลียร์แทน
- ระบบควบคุมและบังคับ ประกอบด้วย คอมพิวเตอร์ที่เก็บรวมรวมข้อมูล และประมวลผลคำสั่งต่าง ๆ ที่ได้รับจากส่วนควบคุมบนโลก โดยมีอุปกรณ์รับส่งสัญญาณ (Radar System) เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสาร
- ระบบสื่อสารและนำทาง มีอุปกรณ์ตรวจจับความร้อน ซึ่งจะทำงาน โดยแผงวงจรควบคุมอัตโนมัติ
- อุปกรณ์ควบคุมระดับความสูง เพื่อรักษาระดับความสูงให้สัมพันธ์กันระหว่างพื้นโลก และดวงอาทิตย์ หรือเพื่อรักษาระดับให้ดาวเทียมสามารถโคจรอยู่ได้
- เครื่องมือบอกตำแหน่ง เพื่อกำหนดการเคลื่อนที่ นอกจากนี้ยังมีส่วนย่อย ๆ อีกบางส่วนที่จะทำงานหลังจาก ได้รับการกระตุ้นบางอย่าง เช่น ทำงานเมื่อได้รับสัญญาณ สะท้อนจากวัตถุบางชนิด หรือทำงานเมื่อได้รับลำแสงรังสี ฯลฯ
ชิ้นส่วนต่าง ๆ ของดาวเทียมได้ถูกทดสอบอย่างละเอียด ส่วนประกอบต่าง ๆ ถูกออกแบบสร้าง และทดสอบใช้งานอย่างอิสระ ส่วนต่าง ๆ ได้ถูกนำมาประกอบเข้าด้วยกัน และทดสอบอย่างละเอียดครั้งภายใต้สภาวะที่เสมือนอยู่ในอวกาศก่อนที่มัน จะถูกปล่อยขึ้นไปในวงโคจร ดาวเทียมจำนวนไม่น้อยที่ต้องนำมาปรับปรุงอีกเล็กน้อย ก่อนที่พวกมันจะสามารถทำงานได้ เพราะว่าหากปล่อยดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจรแล้ว เราจะไม่สามารถปรับปรุงอะไรได้ และดาวเทียมต้องทำงานอีกเป็นระยะเวลานาน ดาวเทียมส่วนมากจะถูกนำขึ้นไปพร้อมกันกับจรวด ซึ่งตัวจรวดจะตกลงสู่มหาสมุทรหลังจากที่เชื้อเพลิงหมด
วงโคจรของดาวเทียม
วงโคจรดาวเทียม (Satellite Orbit) เมื่อแบ่งตามระยะความสูง (Altitude) จากพื้นโลกแบ่งเป็น 3 ระยะคือ
วงโคจรต่ำของโลก (Low Earth Orbit "LEO")
คือระยะสูงจากพื้นโลกไม่เกิน 2,000 กม. ใช้ในการสังเกตการณ์ สำรวจสภาวะแวดล้อม, ถ่ายภาพ ไม่สามารถใช้งานครอบคลุมบริเวณใดบริเวณหนึ่งได้ตลอดเวลา เพราะมีความเร็วในการเคลื่อนที่สูง แต่จะสามารถบันทึกภาพคลุมพื้นที่ตามเส้นทางวงโคจรที่ผ่านไป ตามที่สถานีภาคพื้นดินจะกำหนดเส้นทางโคจรอยู่ในแนวขั้วโลก (Polar Orbit) ดาวเทียมวงโคจรระยะต่ำขนาดใหญ่บางดวงสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าในเวลาค่ำ หรือก่อนสว่าง เพราะดาวเทียมจะสว่างเป็นจุดเล็ก ๆ เคลื่อนที่ผ่านในแนวนอนอย่างรวดเร็ว
วงโคจรระยะปานกลาง (Medium Earth Orbit "MEO")
อยู่ที่ระยะความสูงตั้งแต่ 5000-15,000 กม. ขึ้นไป ส่วนใหญ่ใช้ในด้านอุตุนิยมวิทยา และสามารถใช้ในการติดต่อสื่อสารเฉพาะพื้นที่ได้ แต่หากจะติดต่อให้ครอบคลุมทั่วโลกจะต้องใช้ดาวเทียมหลายดวงในการส่งผ่าน...
วงโคจรประจำที่ (Geosynchronous Earth Orbit "GEO")
เป็นดาวเทียมเพื่อการสื่อสารเป็นส่วนใหญ่ อยู่สูงจากพื้นโลก 35,786 กม. เส้นทางโคจรอยู่ในแนวเส้นศูนย์สูตร (Equatorial Orbit) ดาวเทียมจะหมุนรอบโลกด้วยความเร็วเชิงมุมเท่ากับโลกหมุนรอบตัวเองทำให้ดูเหมือนลอยนิ่งอยู่เหนือ จุดจุดหนึ่งบนโลกตลอดเวลา (เรียกทั่ว ๆ ไปว่า "ดาวเทียมค้างฟ้า")
ดาวเทียมจะอยู่กับที่เมื่อเทียบกับโลกมีวงโคจรอยู่ในระนาบเดียวกันกับเส้นศูนย์สูตร อยู่สูงจากพื้นโลกประมาณ 35,768 กม. วงโคจรพิเศษนี้เรียกว่า “วงโคจรค้างฟ้า” หรือ “วงโคจรคลาร์ก” (Clarke Belt) เพื่อเป็นเกียรติแก่นาย อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก ผู้นำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับวงโคจรนี้ เมื่อ เดือนตุลาคม ค.ศ. 1945
วงโคจรคลาร์ก เป็นวงโคจรในระนาบเส้นศูนย์สูตร (EQUATOR) ที่มีความสูงเป็นระยะที่ทำให้ดาวเทียมที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเชิงมุมเท่ากันกับการหมุนของโลก แล้วทำให้เกิดแรงเหวี่ยงหนีศูนย์กลางมีค่าพอดีกับค่าแรงดึงดูดของโลกพอดีเป็นผลให้ดาวเทียมดูเหมือนคงอยู่กับที่ ณ ระดับความสูงนี้ ดาวเทียมค้างฟ้าส่วนใหญ่ใช้ในการสื่อสารระหว่างประเทศและภายในประเทศ เช่น ดาวเทียมอนุกรม อินเทลแซต ฯลฯ
ประเภทของดาวเทียม
- ดาวเทียมสื่อสาร เป็นดาวเทียมที่มีจุดประสงค์เพื่อการศึกษาและทางการโทรคมนาคม จะถูกส่งไปในช่วงของอวกาศเข้าสู่วงโคจรโดยมีความห่างจากพื้นโลกประมาณ 35.786. กิโลเมตร
- ดาวเทียมสำรวจ เป็นการใช้ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรและสภาพแวดล้อมของโลก เป็นการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีการถ่ายภาพ และโทรคมนาคม โดยการทำงานของดาวเทียมสำรวจทรัพยากรจะใช้หลักการ สำรวจข้อมูลจากระยะไกล
- เป็นดาวเทียมวงโคจรต่ำทีมีวงโคจรแบบใกล้ขั้วโลก ที่ระยะสูงประมาณ 800 กิโลเมตร จึงไม่มีรายละเอียดสูงเท่าภาพถ่ายที่ได้จากดาวเทียมทำแผนที่
- คือดาวเทียมที่แต่ละประเทศมีไว้เพื่อสอดแนมศัตรูหรือข้าศึก
- ดาวเทียมทำแผนที่ เป็นดาวเทียมที่มีวงโคจรต่ำ (LEO) ที่ระดับความสูงไม่เกิน 800 กิโลเมตร เพื่อให้ได้ภาพที่มีรายละเอียดสูง
- ดาวเทียมเพื่อการนำร่อง เป็นระบบบอกตำแหน่งพิกัดภูมิศาสตร์พื้นโลก ซึ่งประกอบด้วยเครือข่าวดาวเทียมจำนวน 32 ดวง
- ดาวเทียมโทรคมนาคม
- ดาวเทียมภารกิจพิเศษ
การทำงานของดาวเทียม
ดาวเทียมจะถูกส่งขึ้นไปลอยอยู่ในตำแหน่ง วงโคจรค้างฟ้า ซึ่งมีระยะห่างจากพื้นโลกประมาณ 36000 - 38000 กิโลเมตร และโคจรตามการหมุนของโลก เมื่อเมื่อเปรียบเทียบกับพื้นโลกจะเสมือนว่าดาวเทียมลอยนิ่งอยู่บนท้องฟ้า และดาวเทียมจะมีระบบเชื้อเพลิงเพื่อควบคุมตำแหน่งให้อยู่ในตำแหน่งองศาที่ได้สัปทานเอาไว้ กับหน่วยงานที่ดูแลเรื่องตำแหน่งวงโคจรของดาวเทียมคือ IFRB (International Frequency Registration Board) ดาวเทียมที่ลอยอยู่บนท้องฟ้า จะทำหน้าที่เหมือนสถานีทวนสัญญาณ คือจะรับสัญญาณที่ยิงขึ้นมาจากสถานีภาคพื้นดิน เรียกสัญญาณนี้ว่าสัญญาณขาขึ้นหรือ (Uplink) รับและขยายสัญญาณพร้อมทั้งแปลงสัญญาณให้มีความถี่ต่ำลงเพื่อป้องกันการรบกวนกันระหว่างสัญญาณขาขึ้นและส่งลงมา โดยมีจานสายอากาศทำหน้าที่รับและส่งสัญญาณ ส่วนสัญญาณในขาลงเรียกว่า (Downlink)
วงโคจรของดาวเทียม(Satellite orbit) ดาวเทียมเคลื่อนทีเป็นวงรอบโลก เรียกว่า"วงโคจร"สามารถแบ่งได้ 2 ประเภทดังนี้ 1. วงโคจรแบบสัมพันธ์กับดวงอาทิตย์ (Sun-synchronous orbit) เป็นวงโคจรในแนวเหนือ-ใต้และผ่านแนวละติจูดหนึ่งๆที่เวลาท้องถิ่นเดียวกันซึ้งส่วนใหญ่เป็นวงโคจรสำหรับดาวเทียมสำรวจทรัพยากร โดยแบ่งเป็น 2 ประเภท
- วงโคจรผ่านขั้วโลก (Polar orbit)
- วงโคจรเอียง (Inclined orbit)
2. วงโคจรระนาบศูนย์กลาง (Equtorial orbit) เป็นวงโคจรในแนวระนาบ มีลักษณะการโคจรเป็นรูปวงกลม โคจรในแนวระนาบกับเส้นผ่านศูนย์สูต
ประเทศที่ยิงดาวเทียม
อันดับ | ประเทศ | วันที่ปล่อย | ดาวเทียม | จรวด | จุดปล่อย |
---|---|---|---|---|---|
1 | สหภาพโซเวียต | 4 ตุลาคม 1957 | ดาวเทียมสปุตนิก 1 | Sputnik-PS | บัยโกเงอร์, สหภาพโซเวียต (คาซัคสถานปัจจุบัน) |
2 | สหรัฐ | 1 กุมภาพันธ์ 1958 | ดาวเทียมเอ็กซ์พลอเรอ 1 | Juno I | แหลมคานาเวอรัล, สหรัฐ |
3 | ฝรั่งเศส | 26 พฤศจิกายน 1965 | Astérix 1 | Diamant A | CIEES/Hammaguir, แอลจีเรีย |
4 | ญี่ปุ่น | 11 กุมภาพันธ์ 1970 | ดาวเทียมโอซุมิ | Lambda-4S | อุชิโนอุระ, ญี่ปุ่น |
5 | จีน | 24 เมษายน 1970 | ดาวเทียมตงฟังหง 1 | Long March 1 | จิ่วเฉฺวียน, จีน |
6 | สหราชอาณาจักร | 28 ตุลาคม 1971 | Prospero | Black Arrow | วูเมอรา, ออสเตรเลีย |
- | องค์การอวกาศยุโรป | 24 ธันวาคม 1979 | แคท-1 | Ariane 1 | คูรู, เฟรนช์เกียนา |
7 | อินเดีย | 18 กรกฎาคม 1980 | ดาวเทียมโรหิณี 1 | SLV | ศรีหริโคตา, อินเดีย |
8 | อิสราเอล | 19 กันยายน 1988 | ดาวเทียมโอเฟก 1 | Shavit | พัลมาชิม, อิสราเอล |
9 | รัสเซีย | 21 มกราคม 1992 | ดาวเทียมคอสมอส 2175 | Soyuz-U | เพลเชสค, รัสเซีย |
10 | ยูเครน | 13 กรกฎาคม 1992 | Strela | Tsyklon-3 | เพลเชสค, รัสเซีย |
11 | อิหร่าน | 2 กุมภาพันธ์ 2009 | ดาวเทียมโอมิด | Safir-1A | เซมนาน, อิหร่าน |
12 | เกาหลีเหนือ | 12 ธันวาคม 2012 | ดาวเทียมกวางเมียงซอง-3 เวอร์ชันที่ 2 | Unha-3 | โซแฮ, เกาหลีเหนือ |
13 | เกาหลีใต้ | 30 มกราคม 2013 | Naro-1 | STSAT-2C | นาโร, เกาหลีใต้ |
14 | นิวซีแลนด์ | 12 พฤศจิกายน 2018 | CubeSat | Electron | Mahia Peninsula, นิวซีแลนด์ |
ดาวเทียมดวงแรกของแต่ละประเทศ
ประเทศ | ปีที่ปล่อย | ดาวเทียมดวงแรก |
---|---|---|
สหภาพโซเวียต ( รัสเซีย) | 1957 (1992) | ดาวเทียมสปุตนิก 1 (ดาวเทียมคอสมอส 2175) |
สหรัฐ | 1958 | ดาวเทียมเอ็กซ์พลอเรอ 1 |
สหราชอาณาจักร | 1962 | Ariel 1 |
แคนาดา | 1962 | Alouette 1 |
อิตาลี | 1964 | San Marco 1 |
ฝรั่งเศส | 1965 | Astérix 1 |
ออสเตรเลีย | 1967 | WRESAT |
เยอรมนี | 1969 | Azur |
ญี่ปุ่น | 1970 | ดาวเทียมโอซุมิ |
จีน | 1970 | ดาวเทียมตงฟังหง 1 |
เนเธอร์แลนด์ | 1974 | ANS |
สเปน | 1974 | Intasat |
อินเดีย | 1975 | Aryabhata |
อินโดนีเซีย | 1976 | Palapa A1 |
เชโกสโลวาเกีย | 1978 | Magion 1 |
บัลแกเรีย | 1981 | Intercosmos Bulgaria 1300 |
ซาอุดีอาระเบีย | 1985 | Arabsat-1A |
บราซิล | 1985 | Brasilsat A1 |
เม็กซิโก | 1985 | Morelos 1 |
สวีเดน | 1986 | Viking |
อิสราเอล | 1988 | ดาวเทียมโอเฟก 1 |
ลักเซมเบิร์ก | 1988 | Astra 1A |
อาร์เจนตินา | 1990 | Lusat |
ฮ่องกง | 1990 | AsiaSat 1 |
ปากีสถาน | 1990 | Badr-1 |
เกาหลีใต้ | 1992 | Kitsat A |
โปรตุเกส | 1993 | PoSAT-1 |
ไทย | 1993 | ไทยคม 1 |
ตุรกี | 1994 | Turksat 1B |
เช็กเกีย | 1995 | Magion 4 |
ยูเครน | 1995 | Sich-1 |
มาเลเซีย | 1996 | MEASAT |
นอร์เวย์ | 1997 | Thor 2 |
ฟิลิปปินส์ | 1997 | Mabuhay 1 |
อียิปต์ | 1998 | Nilesat 101 |
ชิลี | 1998 | FASat-Bravo |
สิงคโปร์ | 1998 | ST-1 |
ไต้หวัน | 1999 | ROCSAT-1 |
เดนมาร์ก | 1999 | Ørsted |
แอฟริกาใต้ | 1999 | SUNSAT |
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | 2000 | Thuraya 1 |
โมร็อกโก | 2001 | Maroc-Tubsat |
เบลเยียม | 2001 | PROBA-1 |
ตองงา | 2002 | Esiafi 1 (former Comstar D4) |
แอลจีเรีย | 2002 | Alsat 1 |
กรีซ | 2003 | Hellas Sat 2 |
ไซปรัส | 2003 | Hellas Sat 2 |
ไนจีเรีย | 2003 | Nigeriasat 1 |
อิหร่าน | 2005 | Sina-1 |
คาซัคสถาน | 2006 | KazSat 1 |
โคลอมเบีย | 2007 | Libertad 1 |
มอริเชียส | 2007 | Rascom-QAF 1 |
เวียดนาม | 2008 | Vinasat-1 |
เวเนซุเอลา | 2008 | Venesat-1 |
สวิตเซอร์แลนด์ | 2009 | SwissCube-1 |
ไอล์ออฟแมน | 2011 | ViaSat-1 |
โปแลนด์ | 2012 | PW-Sat-1 |
ฮังการี | 2012 | MaSat-1 |
โรมาเนีย | 2012 | Goliat |
เบลารุส | 2012 | BelKA-2 |
เกาหลีเหนือ | 2012 | ดาวเทียมกวางเมียงซอง-3 เวอร์ชันที่ 2 |
อาเซอร์ไบจาน | 2013 | Azerspace |
ออสเตรีย | 2013 | TUGSAT-1 |
เบอร์มิวดา | 2013 | Bermudasat 1 (former EchoStar VI) |
เอกวาดอร์ | 2013 | NEE-01 Pegaso |
เอสโตเนีย | 2013 | ESTCube-1 |
เจอร์ซีย์ | 2013 | O3b-1 |
กาตาร์ | 2013 | Es'hailSat1 |
เปรู | 2013 | PUCPSAT-1 |
โบลิเวีย | 2013 | TKSat-1 |
ลิทัวเนีย | 2014 | LituanicaSAT-1 และ LitSat-1 |
อุรุกวัย | 2014 | Antelsat |
อิรัก | 2014 | Tigrisat |
เติร์กเมนิสถาน | 2015 | TurkmenAlem52E/MonacoSAT |
ลาว | 2015 | Lao Sat-1 |
ฟินแลนด์ | 2017 | Aalto-2 |
บังกลาเทศ | 2017 | BRAC Onnesha และ Bangabandhu-1 |
กานา | 2017 | GhanaSat-1 |
มองโกเลีย | 2017 | Mazaalai |
ลัตเวีย | 2017 | Venta-1 |
สโลวาเกีย | 2017 | skCUBE |
2017 | Asgardia-1 | |
แองโกลา | 2017 | AngoSat 1 |
นิวซีแลนด์ | 2018 | Humanity Star |
คอสตาริกา | 2018 | Proyecto Irazú |
เคนยา | 2018 | 1KUNS-PF |
ภูฏาน | 2018 | CubeSat Bhutan-1 |
จอร์แดน | 2018 | JY1-SAT |
เนปาล | 2019 | |
ศรีลังกา | 2019 | |
รวันดา | 2019 | |
ซูดาน | 2019 | Sudan Remote Sensing Satellite 1 () |
เอธิโอเปีย | 2019 | Ethiopian Remote Sensing Satellite 1 () |
กัวเตมาลา | 2020 | |
สโลวีเนีย | 2020 | , |
โมนาโก | 2020 | |
ปารากวัย | 2021 | |
พม่า | 2021 | |
มอลโดวา | 2021 | |
ตูนิเซีย | 2021 | |
คูเวต | 2021 | QMR-KWT |
บาห์เรน | 2021 | Light-1 |
อาร์มีเนีย | 2022 | ARMSAT_1 |
มอลโดวา | 2022 | TUMnanoSAT |
ยูกันดา | 2022 | PearlAfricaSat-1 |
ซิมบับเว | 2022 | ZIMSAT-1 |
แอลเบเนีย | 2023 | Albania 1, 2 |
นครรัฐวาติกัน | 2023 | SpeiSat |
การทำลายดาวเทียม
ประเทศที่ยิงทำลายดาวเทียมได้สำเร็จ คือ สหรัฐ (ค.ศ. 1959), รัสเซีย (ค.ศ. 1964 โดยอดีตสหภาพโซเวียต), จีน (ค.ศ. 2007), อินเดีย (ค.ศ. 2019)[]
อ้างอิง
- Wragg, David W. (1973). A Dictionary of Aviation (first ed.). Osprey. p. 234. ISBN .
- http://53010512079g19.blogspot.com/2012/01/blog-post_5930.html
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-04-05. สืบค้นเมื่อ 2014-10-16.
- satellite was transferred to Tonga being at orbit after launch in 1981
- satellite was transferred to Bermuda being at orbit after launch in 2000
- http://www.komchadluek.net/detail/20151119/217151.html
- . BBC News (ภาษาอังกฤษ). BBC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 July 2017. สืบค้นเมื่อ 8 July 2017.
- http://www.bbs.bt/news/?p=98870
http://www.lesa.biz/space-technology/satellite/types-of-satellites 2017-05-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
แหล่งข้อมูลอื่น
- รายละเอียดดาวเทียม 2007-03-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- องค์กรดาวเทียมวิทยุสมัครเล่น หรือ The Radio Amateur Satellite Corporation (AMSAT)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
dawethiym xngkvs satellite khux singpradisththimnusykhidkhnkhun epnsingthisamarthokhcrrxbolkodyxasyaerngdungdudkhxngolk sngphlihsamarthokhcrrxbolkidinlksnaediywknkbthidwngcnthrokhcrrxbolk aelaolkokhcrrxbdwngxathity wtthuprasngkhkhxngsingpradisthniephuxich thangkarthhar karsuxsar karrayngansphaphxakas karwicythangwithyasastrechnkarsarwcthangthrniwithyasngektkarnsphaphkhxngxwkas olk dwngxathity dwngcnthr aeladawxun rwmthungkarsngektwtthu aeladwngdaw kaaelksi tang sthanibnphunolkprawtidawethiymidthuksngkhunipokhcrrxbolkkhrngaerkemuxpi ph s 2500 dawethiymdngklawmichuxwa sputnik Sputnik odyrsesiyepnphusngkhunipokhcr sputnikthahnathitrwcsxbkaraephrngsikhxngchnbrryakaschnixoxonsefiy inpi ph s 2501 shrthidsngdawethiymkhunipokhcrbangmichuxwa Explorer thaihrsesiyaelashrthepn 2 praethsphunathangdankarsarwcthangxwkas aelakaraekhngkhnknrahwangthngkhuiderimkhuninewlatxmaswnprakxbdawethiymdawethiymepnekhruxngmuxthangxielkthrxniksthisbsxn miswnprakxbhlay xyangprakxbekhadwyknaelasamarththanganidodyxtonmti samarthokhcrrxbolkdwykhwamerwthisungphxthicahnicakaerngdungdudkhxngolkid karsrangdawethiymnnmikhwamphyayamxxkaebbihchinswntang thanganidxyangprasiththiphaphmakthisud aelarakhaimaephngmak dawethiymprakxbdwyswnprakxbepncanwnmak aetlaswncamirabbkhwbkhumkarthanganaeykyxyknip aelamixupkrnephuxkhwbkhumihrabbtang thanganrwmkn odyxngkhprakxbswnihykhxngdawethiymprakxbdwyswntang dngni okhrngsrangdawethiym epnswnprakxbthisakhymak okhrngcaminahnkpraman 15 25 khxngnahnkrwm dngnn cungcaepntxngeluxkwsduthiminahnkeba aelatxngimekidkarsnmakekinthikahnd hakidrbsyyanthimikhwamthi hruxkhwamsungkhxngkhlunmak amptitude rabbekhruxngynt sungeriykwa aerospike xasyhlkkarthangankhlaykbekhruxngxdxakas aelaplxyxxkthangplaythx sungrabbdngklawcathanganiddiinsphaphsuyyakas sungtxngphicarnathungnahnkbrrthukkhxngdawethiymdwy rabbphlngngan thahnathiphlitphlngngan aelakkekbiwephuxaeckcayipyngrabbiffakhxngdawethiym odymiaephngrbphlngnganaesngxathity Solar Cell iwrbphlngngancakaesngxathityephuxepliynepn ihdawethiym aetinbangkrnixacichphlngnganniwekhliyraethn rabbkhwbkhumaelabngkhb prakxbdwy khxmphiwetxrthiekbrwmrwmkhxmul aelapramwlphlkhasngtang thiidrbcakswnkhwbkhumbnolk odymixupkrnrbsngsyyan Radar System ephuxichinkartidtxsuxsar rabbsuxsaraelanathang mixupkrntrwccbkhwamrxn sungcathangan odyaephngwngcrkhwbkhumxtonmti xupkrnkhwbkhumradbkhwamsung ephuxrksaradbkhwamsungihsmphnthknrahwangphunolk aeladwngxathity hruxephuxrksaradbihdawethiymsamarthokhcrxyuid ekhruxngmuxbxktaaehnng ephuxkahndkarekhluxnthi nxkcakniyngmiswnyxy xikbangswnthicathanganhlngcak idrbkarkratunbangxyang echn thanganemuxidrbsyyan sathxncakwtthubangchnid hruxthanganemuxidrblaaesngrngsi l chinswntang khxngdawethiymidthukthdsxbxyanglaexiyd swnprakxbtang thukxxkaebbsrang aelathdsxbichnganxyangxisra swntang idthuknamaprakxbekhadwykn aelathdsxbxyanglaexiydkhrngphayitsphawathiesmuxnxyuinxwkaskxnthimn cathukplxykhunipinwngokhcr dawethiymcanwnimnxythitxngnamaprbprungxikelknxy kxnthiphwkmncasamarththanganid ephraawahakplxydawethiymkhunsuwngokhcraelw eracaimsamarthprbprungxairid aeladawethiymtxngthanganxikepnrayaewlanan dawethiymswnmakcathuknakhunipphrxmknkbcrwd sungtwcrwdcatklngsumhasmuthrhlngcakthiechuxephlinghmdwngokhcrkhxngdawethiymwngokhcrdawethiym Satellite Orbit emuxaebngtamrayakhwamsung Altitude cakphunolkaebngepn 3 rayakhux wngokhcrtakhxngolk Low Earth Orbit LEO khuxrayasungcakphunolkimekin 2 000 km ichinkarsngektkarn sarwcsphawaaewdlxm thayphaph imsamarthichngankhrxbkhlumbriewnidbriewnhnungidtlxdewla ephraamikhwamerwinkarekhluxnthisung aetcasamarthbnthukphaphkhlumphunthitamesnthangwngokhcrthiphanip tamthisthaniphakhphundincakahndesnthangokhcrxyuinaenwkhwolk Polar Orbit dawethiymwngokhcrrayatakhnadihybangdwngsamarthmxngehniddwytaeplainewlakha hruxkxnswang ephraadawethiymcaswangepncudelk ekhluxnthiphaninaenwnxnxyangrwderw wngokhcrrayapanklang Medium Earth Orbit MEO xyuthirayakhwamsungtngaet 5000 15 000 km khunip swnihyichindanxutuniymwithya aelasamarthichinkartidtxsuxsarechphaaphunthiid aethakcatidtxihkhrxbkhlumthwolkcatxngichdawethiymhlaydwnginkarsngphan wngokhcrpracathi Geosynchronous Earth Orbit GEO epndawethiymephuxkarsuxsarepnswnihy xyusungcakphunolk 35 786 km esnthangokhcrxyuinaenwesnsunysutr Equatorial Orbit dawethiymcahmunrxbolkdwykhwamerwechingmumethakbolkhmunrxbtwexngthaihduehmuxnlxyningxyuehnux cudcudhnungbnolktlxdewla eriykthw ipwa dawethiymkhangfa dawethiymcaxyukbthiemuxethiybkbolkmiwngokhcrxyuinranabediywknkbesnsunysutr xyusungcakphunolkpraman 35 768 km wngokhcrphiessnieriykwa wngokhcrkhangfa hrux wngokhcrkhlark Clarke Belt ephuxepnekiyrtiaeknay xarethxr si khlark phunaesnxaenwkhidekiywkbwngokhcrni emux eduxntulakhm kh s 1945 wngokhcrkhlark epnwngokhcrinranabesnsunysutr EQUATOR thimikhwamsungepnrayathithaihdawethiymthiekhluxnthidwykhwamerwechingmumethaknkbkarhmunkhxngolk aelwthaihekidaerngehwiynghnisunyklangmikhaphxdikbkhaaerngdungdudkhxngolkphxdiepnphlihdawethiymduehmuxnkhngxyukbthi n radbkhwamsungni dawethiymkhangfaswnihyichinkarsuxsarrahwangpraethsaelaphayinpraeths echn dawethiymxnukrm xinethlaest lpraephthkhxngdawethiymdawethiymsuxsar epndawethiymthimicudprasngkhephuxkarsuksaaelathangkarothrkhmnakhm cathuksngipinchwngkhxngxwkasekhasuwngokhcrodymikhwamhangcakphunolkpraman 35 786 kiolemtr dawethiymsarwc epnkarichdawethiymsarwcthrphyakraelasphaphaewdlxmkhxngolk epnkarphsmphsanrahwangethkhonolyikarthayphaph aelaothrkhmnakhm odykarthangankhxngdawethiymsarwcthrphyakrcaichhlkkar sarwckhxmulcakrayaikl epndawethiymwngokhcrtathimiwngokhcraebbiklkhwolk thirayasungpraman 800 kiolemtr cungimmiraylaexiydsungethaphaphthaythiidcakdawethiymthaaephnthi khuxdawethiymthiaetlapraethsmiiwephuxsxdaenmstruhruxkhasuk dawethiymthaaephnthi epndawethiymthimiwngokhcrta LEO thiradbkhwamsungimekin 800 kiolemtr ephuxihidphaphthimiraylaexiydsung dawethiymephuxkarnarxng epnrabbbxktaaehnngphikdphumisastrphunolk sungprakxbdwyekhruxkhawdawethiymcanwn 32 dwng dawethiymothrkhmnakhm dawethiympharkicphiesskarthangankhxngdawethiymdawethiymcathuksngkhuniplxyxyuintaaehnng wngokhcrkhangfa sungmirayahangcakphunolkpraman 36000 38000 kiolemtr aelaokhcrtamkarhmunkhxngolk emuxemuxepriybethiybkbphunolkcaesmuxnwadawethiymlxyningxyubnthxngfa aeladawethiymcamirabbechuxephlingephuxkhwbkhumtaaehnngihxyuintaaehnngxngsathiidspthanexaiw kbhnwynganthiduaeleruxngtaaehnngwngokhcrkhxngdawethiymkhux IFRB International Frequency Registration Board dawethiymthilxyxyubnthxngfa cathahnathiehmuxnsthanithwnsyyan khuxcarbsyyanthiyingkhunmacaksthaniphakhphundin eriyksyyanniwasyyankhakhunhrux Uplink rbaelakhyaysyyanphrxmthngaeplngsyyanihmikhwamthitalngephuxpxngknkarrbkwnknrahwangsyyankhakhunaelasnglngma odymicansayxakasthahnathirbaelasngsyyan swnsyyaninkhalngeriykwa Downlink wngokhcrkhxngdawethiym Satellite orbit dawethiymekhluxnthiepnwngrxbolk eriykwa wngokhcr samarthaebngid 2 praephthdngni 1 wngokhcraebbsmphnthkbdwngxathity Sun synchronous orbit epnwngokhcrinaenwehnux itaelaphanaenwlaticudhnungthiewlathxngthinediywknsungswnihyepnwngokhcrsahrbdawethiymsarwcthrphyakr odyaebngepn 2 praephth wngokhcrphankhwolk Polar orbit wngokhcrexiyng Inclined orbit 2 wngokhcrranabsunyklang Equtorial orbit epnwngokhcrinaenwranab milksnakarokhcrepnrupwngklm okhcrinaenwranabkbesnphansunysutpraethsthiyingdawethiympraethsthiyingdawethiymsaerc aedng xngkhkrthiyingdawethiymsaerc sm praethsthimiaephncayingdawethiym ekhiyw dawethiymsputnik 1khxngshphaphosewiyt epndawethiymdwngaerkkhxngolkraychuxkardawethiymdwngaerkthiyingodyaetlapraeths xndb praeths wnthiplxy dawethiym crwd cudplxy1 shphaphosewiyt 4 tulakhm 1957 dawethiymsputnik 1 Sputnik PS byokengxr shphaphosewiyt khaskhsthanpccubn 2 shrth 1 kumphaphnth 1958 dawethiymexksphlxerx 1 Juno I aehlmkhanaewxrl shrth3 frngess 26 phvscikayn 1965 Asterix 1 Diamant A CIEES Hammaguir aexlcieriy4 yipun 11 kumphaphnth 1970 dawethiymoxsumi Lambda 4S xuchionxura yipun5 cin 24 emsayn 1970 dawethiymtngfnghng 1 Long March 1 ciwech wiyn cin6 shrachxanackr 28 tulakhm 1971 Prospero Black Arrow wuemxra xxsetreliy xngkhkarxwkasyuorp 24 thnwakhm 1979 aekhth 1 Ariane 1 khuru efrnchekiyna7 xinediy 18 krkdakhm 1980 dawethiymorhini 1 SLV srihriokhta xinediy8 xisraexl 19 knyayn 1988 dawethiymoxefk 1 Shavit phlmachim xisraexl9 rsesiy 21 mkrakhm 1992 dawethiymkhxsmxs 2175 Soyuz U ephlechskh rsesiy10 yuekhrn 13 krkdakhm 1992 Strela Tsyklon 3 ephlechskh rsesiy11 xihran 2 kumphaphnth 2009 dawethiymoxmid Safir 1A esmnan xihran12 ekahliehnux 12 thnwakhm 2012 dawethiymkwangemiyngsxng 3 ewxrchnthi 2 Unha 3 osaeh ekahliehnux13 ekahliit 30 mkrakhm 2013 Naro 1 STSAT 2C naor ekahliit14 niwsiaelnd 12 phvscikayn 2018 CubeSat Electron Mahia Peninsula niwsiaelnddawethiymdwngaerkkhxngaetlapraeths and satellite operation satellite operation launched by foreign supplier satellite in development project at advanced stage or indigenous ballistic missiles deployedpraeths pithiplxy dawethiymdwngaerk shphaphosewiyt rsesiy 1957 1992 dawethiymsputnik 1 dawethiymkhxsmxs 2175 shrth 1958 dawethiymexksphlxerx 1 shrachxanackr 1962 Ariel 1 aekhnada 1962 Alouette 1 xitali 1964 San Marco 1 frngess 1965 Asterix 1 xxsetreliy 1967 WRESAT eyxrmni 1969 Azur yipun 1970 dawethiymoxsumi cin 1970 dawethiymtngfnghng 1 enethxraelnd 1974 ANS sepn 1974 Intasat xinediy 1975 Aryabhata xinodniesiy 1976 Palapa A1 echoksolwaekiy 1978 Magion 1 blaekeriy 1981 Intercosmos Bulgaria 1300 saxudixaraebiy 1985 Arabsat 1A brasil 1985 Brasilsat A1 emksiok 1985 Morelos 1 swiedn 1986 Viking xisraexl 1988 dawethiymoxefk 1 lkesmebirk 1988 Astra 1A xarecntina 1990 Lusat hxngkng 1990 AsiaSat 1 pakisthan 1990 Badr 1 ekahliit 1992 Kitsat A oprtueks 1993 PoSAT 1 ithy 1993 ithykhm 1 turki 1994 Turksat 1B echkekiy 1995 Magion 4 yuekhrn 1995 Sich 1 maelesiy 1996 MEASAT nxrewy 1997 Thor 2 filippins 1997 Mabuhay 1 xiyipt 1998 Nilesat 101 chili 1998 FASat Bravo singkhopr 1998 ST 1 ithwn 1999 ROCSAT 1 ednmark 1999 Orsted aexfrikait 1999 SUNSAT shrthxahrbexmierts 2000 Thuraya 1 omrxkok 2001 Maroc Tubsat ebleyiym 2001 PROBA 1 txngnga 2002 Esiafi 1 former Comstar D4 aexlcieriy 2002 Alsat 1 kris 2003 Hellas Sat 2 isprs 2003 Hellas Sat 2 incieriy 2003 Nigeriasat 1 xihran 2005 Sina 1 khaskhsthan 2006 KazSat 1 okhlxmebiy 2007 Libertad 1 mxriechiys 2007 Rascom QAF 1 ewiydnam 2008 Vinasat 1 ewensuexla 2008 Venesat 1 switesxraelnd 2009 SwissCube 1 ixlxxfaemn 2011 ViaSat 1 opaelnd 2012 PW Sat 1 hngkari 2012 MaSat 1 ormaeniy 2012 Goliat eblarus 2012 BelKA 2 ekahliehnux 2012 dawethiymkwangemiyngsxng 3 ewxrchnthi 2 xaesxribcan 2013 Azerspace xxsetriy 2013 TUGSAT 1 ebxrmiwda 2013 Bermudasat 1 former EchoStar VI exkwadxr 2013 NEE 01 Pegaso exsoteniy 2013 ESTCube 1 ecxrsiy 2013 O3b 1 katar 2013 Es hailSat1 epru 2013 PUCPSAT 1 obliewiy 2013 TKSat 1 lithweniy 2014 LituanicaSAT 1 aela LitSat 1 xurukwy 2014 Antelsat xirk 2014 Tigrisat etirkemnisthan 2015 TurkmenAlem52E MonacoSAT law 2015 Lao Sat 1 finaelnd 2017 Aalto 2 bngklaeths 2017 BRAC Onnesha aela Bangabandhu 1 kana 2017 GhanaSat 1 mxngokeliy 2017 Mazaalai ltewiy 2017 Venta 1 solwaekiy 2017 skCUBE2017 Asgardia 1 aexngokla 2017 AngoSat 1 niwsiaelnd 2018 Humanity Star khxstarika 2018 Proyecto Irazu ekhnya 2018 1KUNS PF phutan 2018 CubeSat Bhutan 1 cxraedn 2018 JY1 SAT enpal 2019 srilngka 2019 rwnda 2019 sudan 2019 Sudan Remote Sensing Satellite 1 exthioxepiy 2019 Ethiopian Remote Sensing Satellite 1 kwetmala 2020 solwieniy 2020 omnaok 2020 parakwy 2021 phma 2021 mxlodwa 2021 tuniesiy 2021 khuewt 2021 QMR KWT bahern 2021 Light 1 xarmieniy 2022 ARMSAT 1 mxlodwa 2022 TUMnanoSAT yuknda 2022 PearlAfricaSat 1 simbbew 2022 ZIMSAT 1 aexlebeniy 2023 Albania 1 2 nkhrrthwatikn 2023 SpeiSatkarthalaydawethiympraethsthiyingthalaydawethiymidsaerc khux shrth kh s 1959 rsesiy kh s 1964 odyxditshphaphosewiyt cin kh s 2007 xinediy kh s 2019 txngkarxangxing xangxingWragg David W 1973 A Dictionary of Aviation first ed Osprey p 234 ISBN 9780850451634 http 53010512079g19 blogspot com 2012 01 blog post 5930 html khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2014 04 05 subkhnemux 2014 10 16 satellite was transferred to Tonga being at orbit after launch in 1981 satellite was transferred to Bermuda being at orbit after launch in 2000 http www komchadluek net detail 20151119 217151 html BBC News phasaxngkvs BBC khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 8 July 2017 subkhnemux 8 July 2017 http www bbs bt news p 98870 http www lesa biz space technology satellite types of satellites 2017 05 01 thi ewyaebkaemchchinaehlngkhxmulxunraylaexiyddawethiym 2007 03 12 thi ewyaebkaemchchin xngkhkrdawethiymwithyusmkhreln hrux The Radio Amateur Satellite Corporation AMSAT