ดาวเทียมสื่อสาร (อังกฤษ: communication satellite หรือเรียกสั้น ๆ ว่า comsat) เป็นดาวเทียมที่มีจุดประสงค์เพื่อการสื่อสารและโทรคมนาคม จะถูกส่งไปในช่วงของอวกาศเข้าสู่วงโคจรโดยมีความห่างจากพื้นโลกโดยประมาณ 35,786 กิโลเมตร ซึ่งความสูงในระดับนี้จะเป็นผลทำให้เกิดแรงดึงดูดระหว่างโลกกับดาวเทียม ในขณะที่โลกหมุนก็จะส่งแรงเหวี่ยง ทำให้ดาวเทียมเกิดการโคจรรอบโลกตามการหมุนของโลก
ประวัติ
ผู้ริเริ่มแนวคิดการสื่อสารดาวเทียมคือ อาเธอร์ ซี คลาร์ก (Arthur C. Clarke) นักเขียนนวนิยายและสารคดีวิทยาศาสตร์ผู้มีชื่อเสียงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาสร้างจินตนาการการสื่อสารดาวเทียมตั้งแต่ปี ค.ศ. 1945 โดยเขียนบทความเรื่อง "Extra Terrestrial Relay" ในนิตยสาร Wireless World ฉบับเดือนตุลาคม 1945 ซึ่งบทความนั้นได้กล่าวถึงการเชื่อมระบบสัญญาณวิทยุจากมุมโลกหนึ่งไปยังอีกมุมโลกหนึ่ง ให้สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ตลอด 24 ชั่วโมง โดยใช้สถานีถ่ายทอดวิทยุที่ลอยอยู่ในอวกาศเหนือพื้นโลกขึ้นไปประมาณ 35,786 กิโลเมตร จำนวน 3 สถานี
ในวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ. 1957 ข้อคิดในบทความของอาร์เธอร์ ซี คลาร์ก เริ่มเป็นจริงขึ้นมาเมื่อสหภาพโซเวียตได้ส่งดาวเทียมสปุตนิก ซึ่งเป็นดาวเทียมดวงแรกของโลกขึ้นสู่อวกาศได้สำเร็จ ต่อมาเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ. 1958 สหรัฐอเมริกาได้ส่งดาวเทียมเพื่อการสื่อสารดวงแรกที่ชื่อว่า สกอร์ (SCORE) ขึ้นสู่อวกาศ และได้บันทึกเสียงสัญญาณที่เป็นคำกล่าวอวยพรของ ประธานาธิบดีสหรัฐ เนื่องเทศกาลคริสต์มาสจากสถานีภาคพื้นดินแล้วถ่ายทอดสัญญาณจากดาวเทียมลงมาสู่ชาวโลก นับเป็นการส่งวิทยุกระจายเสียงจากดาวเทียมภาคพื้นโลกได้เป็นครั้งแรก
วันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1964 ประเทศสมาชิกสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ITU) จำนวน 11 ประเทศ ร่วมกันจัดตั้งองค์การโทรคมนาคมทางดาวเทียมระหว่างประเทศ หรือเรียกว่า “” ขึ้นที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริกา โดยให้ประเทศสมาชิกเข้าถือหุ้นดำเนินการใช้ดาวเทียมเพื่อกิจการโทรคมนาคมพานิชย์แห่งโลก INTELSAT ตั้งคณะกรรมการ INTERIM COMMUNICATIONS SATELLITE COMMITTEE (ICSC) จัดการในธุรกิจต่าง ๆ ตามนโยบายของ ICSC เช่นการจัดสร้างดาวเทียมการปล่อยดาวเทียมการกำหนดมาตรฐานสถานีภาคพื้นดิน การกำหนดค่าเช่าใช้ช่องสัญญาณดาวเทียม เป็นต้น
วันที่ 10 ตุลาคม ค.ศ. 1964 ได้มีการถ่ายทอดโทรทัศน์พิธีเปิดงานกีฬาโอลิมปิกครั้งที่ 18 จากกรุงโตเกียว ผ่านดาวเทียม “SYNCOM III” ไปสหรัฐอเมริกานับได้ว่าเป็นการถ่ายทอดผ่านดาวเทียมครั้งแรกของโลก
วันที่ 6 เมษายน ค.ศ. 1965 COMSAT ส่งดาวเทียม “TELSAT 1” หรือในชื่อว่า EARLY BIRD ส่งขึ้นเหนือมหาสมุทรแอตแลนติก ถือว่าเป็นดาวเทียมเพื่อการสื่อสาร เพื่อการพานิชย์ดวงแรกของโลก ในระยะหลังมี่อินโดนีเซีย
ดาวเทียมไทยคม เป็นโครงการ ดาวเทียมสื่อสาร เพื่อให้บริการสื่อสารผ่านช่องสัญญาณดาวเทียม ซึ่งกระทรวงคมนาคม (ในขณะนั้น) ต้องการจัดหาดาวเทียมเพื่อรองรับการขยายตัวด้านการสื่อสารของประเทศอย่างรวดเร็ว แต่ในเวลานั้นประเทศไทยยังไม่มีดาวเทียมเป็นของตนเอง และต้องทำการเช่าวงจรสื่อสารจากดาวเทียมของประเทศต่างๆ ทำให้ให้เกิดความไม่สะดวกและสูญเสียเงินออกนอกประเทศเป็นจำนวนมาก แต่เนื่องจากการจัดสร้างดาวเทียมต้องใช้เงินลงทุนสูงมากจึงได้มีการเปิดประมูลเพื่อให้สัมปทานแก่บริษัทเอกชนเข้ามาดำเนินการแทนการใช้งบประมาณจากภาครัฐ และ บริษัท ชินวัตร แซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท ชินแซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของ บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ได้รับสัมปทานเมื่อ พ.ศ. 2534 เป็นต้นมา เป็นระยะเวลา 30 ปี (ปัจจุบันอำนาจการดูแลสัญญาโอนไปที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) ชื่อ "ไทยคม" (Thaicom) เป็นชื่อพระราชทาน ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน โดยย่อมาจาก Thai Communications ในภาษาอังกฤษ ปัจจุบัน ดาวเทียมสื่อสารภายใต้ชื่อ ดาวเทียมไทยคม มีทั้งสิ้น 7 ดวง ใช้งานได้จริง 4 ดวง ดังนี้
ประวัติการสื่อสารผ่านดาวเทียมของโลก
- พ.ศ. 2500 รัสเซีย ทดลองระบบวิทยุโดยผ่านดาวเทียม สปุตนิก 1 เป็นดาวเทียมดวงแรกที่มนุษย์ส่งขึ้นไปเคลื่อนรอบโลก
- พ.ศ. 2505 สหรัฐอเมริการ่วมกับอังกฤษ ฝรั่งเศส สื่อสารข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกด้วยดาวเทียมเทลสตาร์ 1
- พ.ศ. 2505 รัสเซีย ใช้ดาวเทียมในการส่งสัญญาณโทรทัศน์ติดต่อผ่านดาวเทียมวอลสตอก 3,4
- พ.ศ. 2507 สหรัฐอเมริกาได้ร่วมกันถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์ในการแข่งขันโอลิมปิกผ่านดาวเทียม ซินคอม 3
- พ.ศ. 2508 องค์การอินเทลแสท ( Intelsat ) ส่งดาวเทียมโทรคมนาคมดวงแรกชื่อว่าเออร์ลี่ เบอร์ด หรืออินเทลแสท 1 เหนือมหาสมุทร แอตแลนติก เพื่อติดต่อระหว่างยุโรบและสหรัฐอเมริกา ส่งโทรศัพท์หรือรายการโทรทัศน์ได้ 240 คู่สาย
- พ.ศ. 2509 ดาวเทียมอินเทลแสท 2 สู่วงโคจร ประเทศไทยเปิดการติดต่อสื่อวารผ่านดาวเทียมเหนือมหาสมุทรแปซิฟิกกับสหรัฐอเมริกา ในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2510
- พ.ศ. 2511 ดาวเทียมอินเทลแสท 3 ขึ้นสู่วงโคจร ประเทศไทยเปิดการติดต่อสื่อสารผ่านดาวเทียมเหนือมหาสมุทรแปซิฟิกและอินเดียเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2513
อ้างอิง
- Wragg, David W. (1973). A Dictionary of Aviation (first ed.). Osprey. p. 260. ISBN .
อ้างอิง
- ดาวเทียมเบื้องต้น Satellite 2007-09-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- นิตยสาร Cable TV Magazine ฉบับที่ 10 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2550
- ดาวเทียม 2014-03-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
dawethiymsuxsar xngkvs communication satellite hruxeriyksn wa comsat epndawethiymthimicudprasngkhephuxkarsuxsaraelaothrkhmnakhm cathuksngipinchwngkhxngxwkasekhasuwngokhcrodymikhwamhangcakphunolkodypraman 35 786 kiolemtr sungkhwamsunginradbnicaepnphlthaihekidaerngdungdudrahwangolkkbdawethiym inkhnathiolkhmunkcasngaerngehwiyng thaihdawethiymekidkarokhcrrxbolktamkarhmunkhxngolkdawethiym Milstar dawethiymsuxsarkhxngkxngthphshrthxemrikaprawtiphurierimaenwkhidkarsuxsardawethiymkhux xaethxr si khlark Arthur C Clarke nkekhiynnwniyayaelasarkhdiwithyasastrphumichuxesiyngplaykhriststwrrsthi 20 ekhasrangcintnakarkarsuxsardawethiymtngaetpi kh s 1945 odyekhiynbthkhwameruxng Extra Terrestrial Relay innitysar Wireless World chbbeduxntulakhm 1945 sungbthkhwamnnidklawthungkarechuxmrabbsyyanwithyucakmumolkhnungipyngxikmumolkhnung ihsamarthtidtxsuxsarknidtlxd 24 chwomng odyichsthanithaythxdwithyuthilxyxyuinxwkasehnuxphunolkkhunippraman 35 786 kiolemtr canwn 3 sthani inwnthi 4 tulakhm kh s 1957 khxkhidinbthkhwamkhxngxarethxr si khlark erimepncringkhunmaemuxshphaphosewiytidsngdawethiymsputnik sungepndawethiymdwngaerkkhxngolkkhunsuxwkasidsaerc txmaemuxwnthi 18 thnwakhm kh s 1958 shrthxemrikaidsngdawethiymephuxkarsuxsardwngaerkthichuxwa skxr SCORE khunsuxwkas aelaidbnthukesiyngsyyanthiepnkhaklawxwyphrkhxng prathanathibdishrth enuxngethskalkhristmascaksthaniphakhphundinaelwthaythxdsyyancakdawethiymlngmasuchawolk nbepnkarsngwithyukracayesiyngcakdawethiymphakhphunolkidepnkhrngaerk wnthi 20 singhakhm kh s 1964 praethssmachikshphaphothrkhmnakhmrahwangpraeths ITU canwn 11 praeths rwmkncdtngxngkhkarothrkhmnakhmthangdawethiymrahwangpraeths hruxeriykwa khunthikrungwxchingtn di si shrthxemrika odyihpraethssmachikekhathuxhundaeninkarichdawethiymephuxkickarothrkhmnakhmphanichyaehngolk INTELSAT tngkhnakrrmkar INTERIM COMMUNICATIONS SATELLITE COMMITTEE ICSC cdkarinthurkictang tamnoybaykhxng ICSC echnkarcdsrangdawethiymkarplxydawethiymkarkahndmatrthansthaniphakhphundin karkahndkhaechaichchxngsyyandawethiym epntn wnthi 10 tulakhm kh s 1964 idmikarthaythxdothrthsnphithiepidngankilaoxlimpikkhrngthi 18 cakkrungotekiyw phandawethiym SYNCOM III ipshrthxemrikanbidwaepnkarthaythxdphandawethiymkhrngaerkkhxngolk wnthi 6 emsayn kh s 1965 COMSAT sngdawethiym TELSAT 1 hruxinchuxwa EARLY BIRD sngkhunehnuxmhasmuthraextaelntik thuxwaepndawethiymephuxkarsuxsar ephuxkarphanichydwngaerkkhxngolk inrayahlngmixinodniesiy SAKURA khxngyipun COMSTAR khxngxemrika aela THAICOM khxng praethsithy dawethiymithykhm epnokhrngkar dawethiymsuxsar ephuxihbrikarsuxsarphanchxngsyyandawethiym sungkrathrwngkhmnakhm inkhnann txngkarcdhadawethiymephuxrxngrbkarkhyaytwdankarsuxsarkhxngpraethsxyangrwderw aetinewlannpraethsithyyngimmidawethiymepnkhxngtnexng aelatxngthakarechawngcrsuxsarcakdawethiymkhxngpraethstang thaihihekidkhwamimsadwkaelasuyesiyenginxxknxkpraethsepncanwnmak aetenuxngcakkarcdsrangdawethiymtxngichenginlngthunsungmakcungidmikarepidpramulephuxihsmpthanaekbristhexkchnekhamadaeninkaraethnkarichngbpramancakphakhrth aela bristh chinwtr aesthethlilth cakd mhachn sungtxmaidepliynchuxepn bristh chinaesthethlilth cakd mhachn aela bristh ithykhm cakd mhachn tamladb sungepnbristhinekhruxkhxng bristh chin khxrpxerchn cakd mhachn idrbsmpthanemux ph s 2534 epntnma epnrayaewla 30 pi pccubnxanackarduaelsyyaoxnipthikrathrwngethkhonolyisarsnethsaelakarsuxsar chux ithykhm Thaicom epnchuxphrarachthan thiphrabathsmedcphraprminthrmhaphumiphlxdulyedch thrngphrakrunaoprdekla phrarachthan odyyxmacak Thai Communications inphasaxngkvs pccubn dawethiymsuxsarphayitchux dawethiymithykhm mithngsin 7 dwng ichnganidcring 4 dwng dngniprawtikarsuxsarphandawethiymkhxngolkph s 2500 rsesiy thdlxngrabbwithyuodyphandawethiym sputnik 1 epndawethiymdwngaerkthimnusysngkhunipekhluxnrxbolk ph s 2505 shrthxemrikarwmkbxngkvs frngess suxsarkhammhasmuthraextaelntikdwydawethiymethlstar 1 ph s 2505 rsesiy ichdawethiyminkarsngsyyanothrthsntidtxphandawethiymwxlstxk 3 4 ph s 2507 shrthxemrikaidrwmknthaythxdsyyanothrthsninkaraekhngkhnoxlimpikphandawethiym sinkhxm 3 ph s 2508 xngkhkarxinethlaesth Intelsat sngdawethiymothrkhmnakhmdwngaerkchuxwaexxrli ebxrd hruxxinethlaesth 1 ehnuxmhasmuthr aextaelntik ephuxtidtxrahwangyuorbaelashrthxemrika sngothrsphthhruxraykarothrthsnid 240 khusay ph s 2509 dawethiymxinethlaesth 2 suwngokhcr praethsithyepidkartidtxsuxwarphandawethiymehnuxmhasmuthraepsifikkbshrthxemrika inwnthi 1 emsayn ph s 2510 ph s 2511 dawethiymxinethlaesth 3 khunsuwngokhcr praethsithyepidkartidtxsuxsarphandawethiymehnuxmhasmuthraepsifikaelaxinediyemuxwnthi 1 emsayn ph s 2513xangxingWragg David W 1973 A Dictionary of Aviation first ed Osprey p 260 ISBN 9780850451634 xangxingdawethiymebuxngtn Satellite 2007 09 11 thi ewyaebkaemchchin nitysar Cable TV Magazine chbbthi 10 eduxntulakhm ph s 2550 dawethiym 2014 03 05 thi ewyaebkaemchchin