บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
ฉันทลักษณ์ หมายถึง ลักษณะบังคับของคำประพันธ์ไทย ซึ่งให้ความหมายไว้ว่า ฉันทลักษณ์ คือตำราที่ว่าด้วยวิธีร้อยกรองถ้อยคำหรือเรียบเรียงถ้อยคำให้เป็นระเบียบตามลักษณะบังคับและบัญญัติที่นักปราชญ์ได้ร่างเป็นแบบไว้ ถ้อยคำที่ร้อยกรองขึ้นตามลักษณะบัญญัติแห่งฉันทลักษณ์ เรียกว่า คำประพันธ์ และได้ให้ความหมายของ คำประพันธ์ คือถ้อยคำที่ได้ร้อยกรองหรือเรียบเรียงขึ้น โดยมีข้อบังคับ จำกัดคำและวรรคตอนให้รับสัมผัสกัน ไพเราะ ตามกฎเกณฑ์ที่ได้วางไว้ในฉันทลักษณ์ โดยแบ่งเป็น 7 ชนิด คือ โคลง ร่าย ลิลิต กลอน กาพย์ ฉันท์ กล ซึ่งก็คือ ร้อยกรองไทย นั่นเอง
ร้อยกรองไทยมีความหมาย 2 นัย นัยหนึ่งหมายถึงการแต่งหนังสือดีให้มีความไพเราะ อีกนัยหนึ่งหมายถึงถ้อยคำที่เรียบเรียงให้เป็นระเบียบตามบทบัญญัติแห่งฉันทลักษณ์ ทั้งนี้ ยังมีอีกหลายคำที่มีความหมายทำนองเดียวกัน เช่น กวีนิพนธ์ บทกวี บทประพันธ์ กวีวัจนะ ลำนำ บทกลอน กาพย์กลอน กลอนกานต์ กานต์ รวมทั้งคำว่าฉันท์ กาพย์และกลอนด้วย บทความนี้มุ่งให้ความรู้เรื่องลักษณะบังคับของร้อยกรองไทยเป็นสำคัญ เพื่อเป็นพื้นฐานในการทำความเข้าใจคำประพันธ์ไทยต่อไป
ตำราฉันทลักษณ์ไทย
ตำราแต่งร้อยกรองไทยที่ถือเป็นตำราหลักเท่าที่ปรากฏต้นฉบับในปัจจุบัน มีอยู่ 7 เล่ม ส่วนใหญ่เป็นตำราแต่งกวีนิพนธ์แบบฉบับ ได้แก่
- จินดามณี
- ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน
- ชุมนุมตำรากลอน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ
- ประชุมลำนำ ของ หลวงธรรมาภิมณฑ์
- ฉันทศาสตร์ ของ นายฉันท์ ขำวิไล
- ฉันทลักษณ์ ของ พระยาอุปกิตศิลปสาร
- คัมภีร์สุโพธาลังการ แปลโดย น.อ.แย้ม ประพัฒน์ทอง
การแบ่งฉันทลักษณ์
สุภาพร มากแจ้ง ได้วิเคราะห์ฉันทลักษณ์ร้อยกรองไทยไว้อย่างละเอียดใน กวีนิพนธ์ไทย
ซึ่งกล่าวว่าการแบ่งฉันทลักษณ์อย่างแคบและนิยมใช้อยู่ทั่วไปจะได้ 5 ชนิดใหญ่ ๆ แต่หากรวมคำประพันธ์ท้องถิ่นเข้าไปด้วยจะได้ 10 ชนิดใหญ่ ๆ ได้แก่
คำประพันธ์ทั้ง 10 ชนิดนี้ ถ้านำมาแบ่งตามลักษณะบังคับร่วมจะได้ 2 กลุ่มคือ
กลุ่มที่ 1 ไม่บังคับวรรณยุกต์ ได้แก่ ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย และกานต์
กลุ่มที่ 2 บังคับวรรณยุกต์ ได้แก่ โคลง กอน (อีสาน) กาบ (อีสาน) กาพย์ (เหนือ) และค่าว
ลักษณะบังคับ
หมายถึง ลักษณะบังคับที่มีในคำประพันธ์ไทย ได้แก่
- ครุ ลหุ
- เอก โท
- คณะ
- พยางค์
- สัมผัส
- คำเป็น คำตาย
- คำนำ
- คำสร้อย
ครุและลหุ
- ครุ คือพยางค์ที่มีเสียงหนัก ได้แก่ พยางค์ที่ประกอบด้วย สระเสียงยาว (ทีฆสระ) และ สระเกินทั้ง 4 คือ สระ อำ ใอ ไอ เอา และพยางค์ที่มีตัวสะกดทั้งสิ้น เช่น ตา ดำ หัด เรียน ฯลฯ
- ลหุ คือพยางค์ที่มีเสียงเบา ได้แก่พยางค์ที่ประกอบด้วย สระสั้น (รัสสระ) ที่ไม่มีตัวสะกด เช่น พระ จะ มิ ดุ แกะ ฯลฯ
เอก โท
- เอก คือพยางค์หรือคำที่มีรูปวรรณยุกต์เอก และบรรดาคำตายทั้งสิ้น ซึ่งในโคลง และร่าย ใช้เอกแทนได้ เช่น พ่อ แม่ พี่ ปู่ ชิ ชะ มัก มาก ฯลฯ
- โท คือพยางค์หรือคำที่มีรูปวรรณยุกต์โท เช่น น้า ป้า ช้าง นี้น้อง ต้อง เลี้ยว ฯลฯ
คณะ
- คณะ กล่าวโดยทั่วไปคือแบบบังคับที่วางเป็นกำหนดกฎเกณฑ์ไว้ว่า คำประพันธ์ชนิดนั้น จะต้องมีเท่านั้นวรรค เท่านั้นคำ และต้องมีเอกโท ครุลหุตรงนั้นตรงนี้
- แต่สำหรับใน ฉันท์ คำว่า คณะ มีความหมายแคบ คือหมายถึง ลักษณะที่วางคำเสียงหนัก เสียงเบา ที่เรียกว่า ครุ ลหุ และแบ่งออกเป็น 8 คณะ คณะหนึ่งมีคำอยู่ 3 คำ เรียง ครุ ลหุ ไว้ต่างๆ กัน
คณะทั้ง 8 นั้น คือ ย ร ต ภ ช ส ม น ชื่อคณะทั้ง 8 นี้ เป็นอักษรที่ย่อมาจากคำเต็ม คือ
- ย มาจาก ยชมาน แปลว่า พราหมณ์บูชายัญ
- ร มาจาก รวิ แปลว่า พระอาทิตย์
- ต มาจาก โตย แปลว่า น้ำ
- ภ มาจาก ภูมิ แปลว่า ดิน
- ช มาจาก ชลน แปลว่า ไฟ
- ส มาจาก โสม แปลว่า พระจันทร์
- ม มาจาก มารุต แปลว่า ลม
- น มาจาก นภ แปลว่า ฟ้า
กำชัย ได้แต่งคำคล้องจองไว้สำหรับจำ คณะ ไว้ดังนี้
- ย ยะยิ้มยวน (ลหุ-ครุ-ครุ)
- ร รวนฤดี (ครุ-ลหุ-ครุ)
- ส สุรภี (ลหุ-ลหุ-ครุ)
- ภ ภัสสระ (ครุ-ลหุ-ลหุ)
- ช ชโลมและ (ลหุ-ครุ-ลหุ)
- น แนะเกะกะ (ลหุ-ลหุ-ลหุ)
- ต ตาไปละ (ครุ-ครุ-ลหุ)
- ม มาดีดี/มาดี ๆ (ครุ-ครุ-ครุ)
เมื่อแยกพยางค์แล้ว จะได้ ครุ-ลหุ เต็มตามคณะทั้ง 8 (ชื่อคณะนี้ ไม่สู้จำเป็นในการเรียนฉันทลักษณ์ไทยนัก เพราะมุ่งจำครุ-ลหุกันมากกว่าจำชื่อคณะ เท่าที่จัดมาให้ดูเพื่อประดับความรู้เท่านั้น)
พยางค์
พยางค์ คือจังหวะเสียง ที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่งๆ หรือหน่วยเสียง ที่ประกอบด้วยสระตัวเดียว จะมีความหมาย หรือไม่ก็ตาม คำที่ใช้บรรจุในบทร้อยกรองต่างๆ นั้น ล้วนหมายถึง คำพยางค์ ทั้งสิ้น คำพยางค์นี้ ถ้ามีเสียงเป็น ลหุ จะรวม 2 พยางค์ เป็นคำหนึ่ง หรือหน่วยหนึ่ง ในการแต่งร้อยกรองก็ได้ แต่ถ้ามี เสียงเป็น ครุ จะรวมกันไม่ได้ ต้องใช้พยางค์ละคำ
สัมผัส
สัมผัส คือลักษณะที่บังคับให้ใช้คำคล้องจองกัน คำที่คล้องจองกันนั้น หมายถึง คำที่ใช้สระ และมาตราสะกดอย่างเดียวกัน แต่ต้องไม่ซ้ำอักษร หรือซ้ำเสียงกัน (สระใอ, ไอ อนุญาตให้ใช้สัมผัสกับ อัย ได้) มี 2 ชนิด คือ สัมผัสนอกและสัมผัสใน
- 1. สัมผัสนอก ได้แก่คำที่บังคับให้คล้องจองกัน ในระหว่างวรรคหนึ่ง กับอีกวรรคหนึ่ง ซึ่งมีตำแหน่งที่ต่างๆ กัน ตามชนิดของคำประพันธ์นั้นๆ สัมผัสนอกนี้ เป็นสัมผัสบังคับ ซึ่งจำเป็นต้องมี จะขาดไม่ได้ ดังตัวอย่าง ที่โยงเส้นไว้ให้ดู เช่น
- โคลง
แท้ไทยใช่เผ่าผู้ | แผ่มหิทธิ์ | |
รักสงบระงับจิต | ประจักษ์แจ้ง | |
ไป่รานไป่รุกคิด | คดประทุษ ใครเลย | |
เว้นแต่ชาติใดแกล้ง | กลั่นร้ายรานไทย |
- กลอน
มิใช่ชายดอกนะจะดีเลิศ | หญิงประเสริฐเลิศดีก็มีถม | |
ชายเป็นปราชญ์หญิงฉลาดหลักแหลมคม | มีให้ชมทั่วไปในธาตรี |
- 2. สัมผัสใน ได้แก่ คำที่คล้องจองกัน และอยู่ในวรรคเดียวกัน จะเป็นสัมผัสคู่ เรียงคำไว้ติดต่อกัน หรือจะเป็นสัมผัสสลับ คือเรียงคำอื่น แทรกคั่นไว้ ระหว่างคำที่สัมผัสก็ได้สุดแต่จะเหมาะ ทั้งไม่มีกฎเกณฑ์จำกัดว่า จะต้องมีอยู่ตรงนั้น ตรงนี้ เหมือนอย่างสัมผัสนอก และไม่จำเป็น จะต้องใช้สระอย่างเดียวกันด้วย เพียงแต่ให้อักษรเหมือนกัน หรือเป็นอักษรประเภทเดียวกัน หรืออักษรที่มีเสียงคู่กัน ก็ใช้ได้ สัมผัสใน แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ สัมผัสสระและสัมผัสอักษร
- 2.1 สัมผัสสระ ได้แก่คำคล้องจองที่มีสระและมาตราสะกดอย่างเดียวกัน เช่น
บางน้ำจืดชื่อบางเป็นทางคิด | ใครมีจิตจืดนักมักหมองหมาง | |
คนใจจืดชืดชื้อเหมือนชื่อบาง | ควรตีห่างเหินกันจนวันตาย |
อันน้ำจืดรสสนิทกว่าจิตมืด | ถึงเย็นชืดลิ้มรสหมดกระหาย | |
แต่ใจจืดรสระทมขมมิวาย | มักทำลายมิตรภาพให้ราบเตียน | |
— จาก นิราศวัดสิงห์ |
- 2.2 สัมผัสอักษร ได้แก่ คำคล้องจองที่ใช้ตัวอักษรชนิดเดียวกัน หรือตัวอักษร ประเภทเดียวกัน หรือใช้ตัวอักษร ที่มีเสียงคู่กัน ที่เรียกว่า "อักษรคู่" เช่น ข ค ฆ หรือ ถ ท ธ เป็นต้น เช่น
- ใช้ตัวอักษรชนิดเดียวกัน คือใช้อักษรตัวเดียวกันตลอดทั้งวรรค ดังนี้
แลลิงลิงเล่นล้อ | ลางลิง | |
พาเพื่อนเพ่นพ่านพิง | พวกพ้อง | |
ตื่นเต้นไต่ต่อติง | เตี้ยต่ำ | |
ก่นกู่กันกึกก้อง | เกาะเกี้ยวกวนกัน |
- ใช้ตัวอักษรประเภทเดียวกัน คือใช้อักษรที่มีเสียงเหมือนกัน แต่รูปไม่เหมือนกัน เช่น ค ฆ ท ธ ร ล ศ ษ ส เป็นต้น ดังนี้
ศึกษาสำเร็จรู้ | ลีลา กลอนแฮ | |
ระลึกพระคุณครูบา | บ่มไว้ | |
อุโฆษคุณาภา | เพ็ญพิพัฒน์ | |
นิเทศธรณินให้ | หื่นซ้องสาธุการ |
- ใช้อักษรที่มีเสียงคู่กัน คือใช้อักษรต่ำ ชนิดอักษรคู่ 14 ตัว กับอักษรสูง 11 ตัว ซึ่งมีเสียงผันเข้ากันได้ เป็นคู่ๆ ดังนี้
- ใช้อักษรที่มีเสียงคู่กัน คือใช้อักษรต่ำ ชนิดอักษรคู่ 14 ตัว กับอักษรสูง 11 ตัว ซึ่งมีเสียงผันเข้ากันได้ เป็นคู่ๆ ดังนี้
อักษรต่ำ 14 ตัว | อักษรสูง 11 ตัว |
---|---|
ค ฆ | ข |
ช ฌ | ฉ |
ซ (ทร-ซ) | ศ ษ ส |
ฑ ฒ ท ธ | ฐ ถ |
พ ภ | ผ |
ฟ | ฝ |
ฮ | ห |
- ตัวอย่างดังนี้
คูนแคขิงข่าขึ้น | เคียงคาง | |
แฟงฟักไฟฝ่อฝาง | ฝิ่นฝ้าย | |
ซางไทรโศกสนสาง | ซ่อนซุ่ม | |
ทิ้งถ่อนทุยท่อมท้าย | เถื่อนท้องแถวถิน |
สัมผัสในดังที่กล่าวมาแล้วนี้ เป็นสัมผัสที่ไม่บังคับ จึงมิได้มีแบบกำหนดมาแต่โบราณ แต่ถ้าไม่มี ก็ขาดรสไพเราะ ซึ่งเป็นยอดของรส ในเชิงฉันทลักษณ์ เพราะฉะนั้น คำประพันธ์ที่ดี จะขาดสัมผัสในเสียมิได้ เหมือนเกสร เป็นเครื่องเชิดชู ความสวยงามของบุปผชาติฉะนั้น
คำเป็นคำตาย
- คำเป็น คือคำที่ไม่มีตัวสะกดประกอบด้วย สระเสียงยาว (ทีฆสระ) ในแม่ ก กา และคำที่มีตัวสะกด ในแม่กน กง กม เกย (คำที่มีตัว ว สะกด จัดอยู่ในแม่เกย) รวมทั้ง สระสั้นทั้ง 4 ตัว คือ อำ ใอ ไอ เอาเช่น ตาดำชมเชยคนหุงข้าวเหนียวในครัวไฟ
- คำตาย คือคำไม่มีตัวสะกดที่ประกอบด้วย สระเสียงสั้น (รัสสระ) ในแม่ ก กา (ยกเว้น อำใอ ไอเอา) และคำที่มีตัวสะกด ในแม่ กก กด กบ เช่น นกกะหรอด กับนกกะปูด จิกพริก (ในการแต่งโคลงทุกชนิด ใช้คำตายแทน เอก ได้)
คำนำ
คำนำ คือคำที่ใช้กล่าวขึ้นต้น สำหรับเป็นบทนำ ในคำประพันธ์ เป็นคำเดียวบ้าง เป็นวลีบ้าง เช่น เมื่อนั้น บัดนั้น โฉมเฉลา น้องเอ๋ยน้องรัก รถเอ๋ยรถทรง ครานั้น สักวา ฯลฯ บางทีก็ใช้คำนามตรงๆ เหมือนอย่าง นามอาลปนะ เช่น สุริยา พระองค์ ภมร ดวงจันทร์ ฯลฯ ดังตัวอย่าง ต่อไปนี้
ปทุมา | โสภาหมดจดสดสี | |
เกิดในใต้ตมวารี | แต่ไร้ราคีเปือกตม | |
— ฯลฯ |
ภมร | สุนทรมธุรสถ้อยหรรษา | |
กลั่นกล่าวเร้าดวงวิญญาณ์ | วาจาสิ้นลมคมใน | |
— ฯลฯ |
คำสร้อย
คำสร้อย คือคำที่ใช้สำหรับลงท้ายบทหรือท้ายบาทของคำประพันธ์ ซึ่งตามธรรมดา มีคำซึ่งมีความหมายอยู่ข้างหน้าแล้ว แต่ยังไม่ครบจำนวนคำ ตามที่บัญญัติไว้ ในคำประพันธ์ จึงต้องเติมสร้อย เพื่อให้มีคำ ครบตามจำนวน และเป็นการเพิ่มสำเนียงให้ไพเราะ ในการอ่านด้วย คำสร้อยนี้ จะเป็นคำนาม คำวิเศษณ์ คำกริยานุเคราะห์ คำสันธาน หรือคำอุทาน ก็ได้ แต่ถ้าเป็นคำอุทาน ที่มีรูปวรรณยุกต์ ต้องตัดรูปวรรณยุกต์ออก และไม่ต้องมีเครื่องหมายอัศเจรีย์ มิฉะนั้น จะขัดต่อการอ่านทำนองเสนาะ และในการใช้นั้น ควรเลือกคำที่ท่านวาง เป็นแบบฉบับไว้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
- คำนาม เช่น พ่อ แม่ พี่
- คำกริยานุเคราะห์ เช่น เทอญ นา
- คำสันธาน เช่น ฤๅ แล ก็ดี
- คำอุทาน เช่น ฮา แฮ เฮย เอย เวย รา อา นอ
- คำวิเศษณ์ เช่น บารนี เลย
คำสร้อยนี้ ต้องเป็นคำเป็น จะใช้คำตายไม่ได้ และใช้เฉพาะบทประพันธ์ ชนิดโคลง และร่าย เท่านั้น
สุนทรียภาพของฉันทลักษณ์ไทย
คือ แง่ความงามของฉันทลักษณ์เป็นเครื่องยังให้เกิดความสะเทือนอารมณ์ เกิดจากองค์ประกอบ 3 ประการ ได้แก่
สุนทรียรูป
ได้แก่ การเลือกใช้รูปแบบของคำประพันธ์ให้เหมาะสมกับเนื้อหาและอารมณ์ที่ผู้แต่งต้องการสื่อ รวมทั้งความถูกต้องตามแบบแผนของคำประพันธ์ที่เลือกด้วย
สุนทรียลีลา
คือ แง่งามในด้านกระบวนการพรรณนา ซึ่งมีอยู่ 4 กระบวน คือ
- เสวรจนี กระบวนการชมความงามทั้งของตัวละครและสิ่งต่างๆ
- นารีปราโมช กระบวนการเล้าโลมเกี้ยวพาราสีหรือพูดให้เพลิดเพลิน
- พิโรธวาทัง กระบวนการตัดพ้อ โกรธขุ่นเคือง เยาะเย้ย เหน็บแนม
- สัลลาปังคพิไสย กระบวนการคร่ำครวญ โศกเศร้า พร่ำเพ้อ อาลัยอาวรณ์
สุนทรียรส
คือ แง่งามด้านอารมณ์สะเทือนใจ อันเกิดจากกระบวนการพรรณนา และกลวิธีการประพันธ์ที่เหมาะสม มีอยู่ 9 รส คือ
- สิงคารรส ( รสแห่งความรัก )
- หาสยรส ( รสแห่งความตลกขบขัน )
- กรุณารส ( รสแห่งความเมตตากรุณา )
- รุทธรส ( รสแห่งความโกรธ )
- วีรรส ( รสแห่งความกล้าหาญ )
- ภยานกรส ( รสแห่งความกลัว )
- วิภัจฉารส ( รสแห่งความเกลียดชัง ขยะแขยง )
- อัพภูตรส ( รสแห่งความพิศวง อัศจรรย์ )
- สันตรส ( รสแห่งความสงบ เยือกเย็น บริสุทธิ์ )
ขนาด
ฉันทลักษณ์ในงานร้อยกรอง มีขนาดลดหลั่นกัน ดังนี้ คือ บท → บาท → วรรค → คำ เฉพาะในคำประพันธ์ประเภทกลอน มักเรียกว่า คำกลอน แทนคำว่า บาท
คำประพันธ์ส่วนใหญ่ กำหนด 1 บท เป็น 2 บาท และ 1 บาท เป็น 2 วรรค แต่ยังมีคำประพันธ์อีกไม่น้อย ที่กำหนดบาทแตกต่างไปจากนี้ โดยแต่ละบาทจะมีชื่อเรียกกำกับ ว่า บาทเอก บาทโท บาทตรี บาทจัตวา บางครั้งอาจใช้จำนวนนับแทน เช่น บาทที่หนึ่ง บาทที่สอง เป็นต้น
อ้างอิง
- กำชัย ทองหล่อ. หลักภาษาไทย. รวมสาส์น (1977) : กรุงเทพฯ, 2545.
- กรมศิลปากร. ครรภครรลองร้อยกรองไทย. กรุงเทพฯ, 2545.
- สุภาพร มากแจ้ง. กวีนิพนธ์ไทย 1. กรุงเทพฯ, โอเดียนสโตร์, 2535.
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul chnthlksn kwiniphnthithy khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir chnthlksn hmaythung lksnabngkhbkhxngkhapraphnthithy sungihkhwamhmayiwwa chnthlksn khuxtarathiwadwywithirxykrxngthxykhahruxeriyberiyngthxykhaihepnraebiybtamlksnabngkhbaelabyytithinkprachyidrangepnaebbiw thxykhathirxykrxngkhuntamlksnabyytiaehngchnthlksn eriykwa khapraphnth aelaidihkhwamhmaykhxng khapraphnth khuxthxykhathiidrxykrxnghruxeriyberiyngkhun odymikhxbngkhb cakdkhaaelawrrkhtxnihrbsmphskn ipheraa tamkdeknththiidwangiwinchnthlksn odyaebngepn 7 chnid khux okhlng ray lilit klxn kaphy chnth kl sungkkhux rxykrxngithy nnexng rxykrxngithymikhwamhmay 2 ny nyhnunghmaythungkaraetnghnngsuxdiihmikhwamipheraa xiknyhnunghmaythungthxykhathieriyberiyngihepnraebiybtambthbyytiaehngchnthlksn thngni yngmixikhlaykhathimikhwamhmaythanxngediywkn echn kwiniphnth bthkwi bthpraphnth kwiwcna lana bthklxn kaphyklxn klxnkant kant rwmthngkhawachnth kaphyaelaklxndwy bthkhwamnimungihkhwamrueruxnglksnabngkhbkhxngrxykrxngithyepnsakhy ephuxepnphunthaninkarthakhwamekhaickhapraphnthithytxiptarachnthlksnithytaraaetngrxykrxngithythithuxepntarahlkethathiprakttnchbbinpccubn mixyu 7 elm swnihyepntaraaetngkwiniphnthaebbchbb idaek cindamni prachumcarukwdphraechtuphn chumnumtaraklxn chbbhxphrasmudwchiryan prachumlana khxng hlwngthrrmaphimnth chnthsastr khxng naychnth khawiil chnthlksn khxng phrayaxupkitsilpsar khmphirsuophthalngkar aeplody n x aeym praphthnthxngkaraebngchnthlksnsuphaphr makaecng idwiekhraahchnthlksnrxykrxngithyiwxyanglaexiydin kwiniphnthithy sungklawwakaraebngchnthlksnxyangaekhbaelaniymichxyuthwipcaid 5 chnidihy aethakrwmkhapraphnththxngthinekhaipdwycaid 10 chnidihy idaek okhlng chnth kaphy klxn ray khapraphnththng 10 chnidni thanamaaebngtamlksnabngkhbrwmcaid 2 klumkhux klumthi 1 imbngkhbwrrnyukt idaek chnth kaphy klxn ray aelakant klumthi 2 bngkhbwrrnyukt idaek okhlng kxn xisan kab xisan kaphy ehnux aelakhawlksnabngkhbhmaythung lksnabngkhbthimiinkhapraphnthithy idaek khru lhu exk oth khna phyangkh smphs khaepn khatay khana khasrxykhruaelalhu khru khuxphyangkhthimiesiynghnk idaek phyangkhthiprakxbdwy sraesiyngyaw thikhsra aela sraekinthng 4 khux sra xa ix ix exa aelaphyangkhthimitwsakdthngsin echn ta da hd eriyn l lhu khuxphyangkhthimiesiyngeba idaekphyangkhthiprakxbdwy srasn rssra thiimmitwsakd echn phra ca mi du aeka lexk oth exk khuxphyangkhhruxkhathimirupwrrnyuktexk aelabrrdakhataythngsin sunginokhlng aelaray ichexkaethnid echn phx aem phi pu chi cha mk mak l oth khuxphyangkhhruxkhathimirupwrrnyuktoth echn na pa chang ninxng txng eliyw lkhna khna klawodythwipkhuxaebbbngkhbthiwangepnkahndkdeknthiwwa khapraphnthchnidnn catxngmiethannwrrkh ethannkha aelatxngmiexkoth khrulhutrngnntrngni aetsahrbin chnth khawa khna mikhwamhmayaekhb khuxhmaythung lksnathiwangkhaesiynghnk esiyngeba thieriykwa khru lhu aelaaebngxxkepn 8 khna khnahnungmikhaxyu 3 kha eriyng khru lhu iwtang kn khnathng 8 nn khux y r t ph ch s m n chuxkhnathng 8 ni epnxksrthiyxmacakkhaetm khux y macak ychman aeplwa phrahmnbuchayy r macak rwi aeplwa phraxathity t macak oty aeplwa na ph macak phumi aeplwa din ch macak chln aeplwa if s macak osm aeplwa phracnthr m macak marut aeplwa lm n macak nph aeplwa fa kachy idaetngkhakhlxngcxngiwsahrbca khna iwdngni y yayimywn lhu khru khru r rwnvdi khru lhu khru s surphi lhu lhu khru ph phssra khru lhu lhu ch cholmaela lhu khru lhu n aenaekaka lhu lhu lhu t taipla khru khru lhu m madidi madi khru khru khru emuxaeykphyangkhaelw caid khru lhu etmtamkhnathng 8 chuxkhnani imsucaepninkareriynchnthlksnithynk ephraamungcakhru lhuknmakkwacachuxkhna ethathicdmaihduephuxpradbkhwamruethann phyangkh phyangkh khuxcnghwaesiyng thieplngxxkmakhrnghnung hruxhnwyesiyng thiprakxbdwysratwediyw camikhwamhmay hruximktam khathiichbrrcuinbthrxykrxngtang nn lwnhmaythung khaphyangkh thngsin khaphyangkhni thamiesiyngepn lhu carwm 2 phyangkh epnkhahnung hruxhnwyhnung inkaraetngrxykrxngkid aetthami esiyngepn khru carwmknimid txngichphyangkhlakha smphs smphs khuxlksnathibngkhbihichkhakhlxngcxngkn khathikhlxngcxngknnn hmaythung khathiichsra aelamatrasakdxyangediywkn aettxngimsaxksr hruxsaesiyngkn sraix ix xnuyatihichsmphskb xy id mi 2 chnid khux smphsnxkaelasmphsin 1 smphsnxk idaekkhathibngkhbihkhlxngcxngkn inrahwangwrrkhhnung kbxikwrrkhhnung sungmitaaehnngthitang kn tamchnidkhxngkhapraphnthnn smphsnxkni epnsmphsbngkhb sungcaepntxngmi cakhadimid dngtwxyang thioyngesniwihdu echnokhlng dd aethithyichephaphu aephmhiththirksngbrangbcit pracksaecngipraniprukkhid khdprathus ikhrelyewnaetchatiidaeklng klnrayranithyklxn dd miichchaydxknacadielis hyingpraesrithelisdikmithmchayepnprachyhyingchladhlkaehlmkhm miihchmthwipinthatri2 smphsin idaek khathikhlxngcxngkn aelaxyuinwrrkhediywkn caepnsmphskhu eriyngkhaiwtidtxkn hruxcaepnsmphsslb khuxeriyngkhaxun aethrkkhniw rahwangkhathismphskidsudaetcaehmaa thngimmikdeknthcakdwa catxngmixyutrngnn trngni ehmuxnxyangsmphsnxk aelaimcaepn catxngichsraxyangediywkndwy ephiyngaetihxksrehmuxnkn hruxepnxksrpraephthediywkn hruxxksrthimiesiyngkhukn kichid smphsin aebngxxkepn 2 chnid khux smphssraaelasmphsxksr2 1 smphssra idaekkhakhlxngcxngthimisraaelamatrasakdxyangediywkn echn dd bangnacudchuxbangepnthangkhid ikhrmicitcudnkmkhmxnghmangkhniccudchudchuxehmuxnchuxbang khwrtihangehinkncnwntayxnnacudrssnithkwacitmud thungeynchudlimrshmdkrahayaeticcudrsrathmkhmmiway mkthalaymitrphaphihrabetiyn cak niraswdsingh2 2 smphsxksr idaek khakhlxngcxngthiichtwxksrchnidediywkn hruxtwxksr praephthediywkn hruxichtwxksr thimiesiyngkhukn thieriykwa xksrkhu echn kh kh kh hrux th th th epntn echn dd ichtwxksrchnidediywkn khuxichxksrtwediywkntlxdthngwrrkh dngni dd dd aellinglingelnlx langlingphaephuxnephnphanphing phwkphxngtunetnittxting etiytaknkuknkukkxng ekaaekiywkwnknichtwxksrpraephthediywkn khuxichxksrthimiesiyngehmuxnkn aetrupimehmuxnkn echn kh kh th th r l s s s epntn dngni dd dd suksasaercru lila klxnaehralukphrakhunkhruba bmiwxuokhskhunapha ephyphiphthnniethsthrninih hunsxngsathukarichxksrthimiesiyngkhukn khuxichxksrta chnidxksrkhu 14 tw kbxksrsung 11 tw sungmiesiyngphnekhaknid epnkhu dngni dd dd xksrta 14 tw xksrsung 11 twkh kh khch ch chs thr s s s sth th th th th thph ph phf fh htwxyangdngni dd dd khunaekhkhingkhakhun ekhiyngkhangaefngfkiffxfang finfaysangithrosksnsang sxnsumthingthxnthuythxmthay ethuxnthxngaethwthin smphsindngthiklawmaaelwni epnsmphsthiimbngkhb cungmiidmiaebbkahndmaaetobran aetthaimmi kkhadrsipheraa sungepnyxdkhxngrs inechingchnthlksn ephraachann khapraphnththidi cakhadsmphsinesiymiid ehmuxneksr epnekhruxngechidchu khwamswyngamkhxngbupphchatichann khaepnkhatay khaepn khuxkhathiimmitwsakdprakxbdwy sraesiyngyaw thikhsra inaem k ka aelakhathimitwsakd inaemkn kng km eky khathimitw w sakd cdxyuinaemeky rwmthng srasnthng 4 tw khux xa ix ix exaechn tadachmechykhnhungkhawehniywinkhrwif khatay khuxkhaimmitwsakdthiprakxbdwy sraesiyngsn rssra inaem k ka ykewn xaix ixexa aelakhathimitwsakd inaem kk kd kb echn nkkahrxd kbnkkapud cikphrik inkaraetngokhlngthukchnid ichkhatayaethn exk id khana khana khuxkhathiichklawkhuntn sahrbepnbthna inkhapraphnth epnkhaediywbang epnwlibang echn emuxnn bdnn ochmechla nxngexynxngrk rthexyrththrng khrann skwa l bangthikichkhanamtrng ehmuxnxyang namxalpna echn suriya phraxngkh phmr dwngcnthr l dngtwxyang txipni pthuma osphahmdcdsdsiekidinittmwari aetirrakhiepuxktm lphmr sunthrmthursthxyhrrsaklnklaweradwngwiyyan wacasinlmkhmin lkhasrxy khasrxy khuxkhathiichsahrblngthaybthhruxthaybathkhxngkhapraphnth sungtamthrrmda mikhasungmikhwamhmayxyukhanghnaaelw aetyngimkhrbcanwnkha tamthibyytiiw inkhapraphnth cungtxngetimsrxy ephuxihmikha khrbtamcanwn aelaepnkarephimsaeniyngihipheraa inkarxandwy khasrxyni caepnkhanam khawiessn khakriyanuekhraah khasnthan hruxkhaxuthan kid aetthaepnkhaxuthan thimirupwrrnyukt txngtdrupwrrnyuktxxk aelaimtxngmiekhruxnghmayxsecriy michann cakhdtxkarxanthanxngesnaa aelainkarichnn khwreluxkkhathithanwang epnaebbchbbiw dngtwxyangtxipni khanam echn phx aem phi khakriyanuekhraah echn ethxy na khasnthan echn vi ael kdi khaxuthan echn ha aeh ehy exy ewy ra xa nx khawiessn echn barni ely khasrxyni txngepnkhaepn caichkhatayimid aelaichechphaabthpraphnth chnidokhlng aelaray ethannsunthriyphaphkhxngchnthlksnithykhux aengkhwamngamkhxngchnthlksnepnekhruxngyngihekidkhwamsaethuxnxarmn ekidcakxngkhprakxb 3 prakar idaek sunthriyrup idaek kareluxkichrupaebbkhxngkhapraphnthihehmaasmkbenuxhaaelaxarmnthiphuaetngtxngkarsux rwmthngkhwamthuktxngtamaebbaephnkhxngkhapraphnththieluxkdwy sunthriylila khux aengngamindankrabwnkarphrrnna sungmixyu 4 krabwn khux eswrcni krabwnkarchmkhwamngamthngkhxngtwlakhraelasingtang naripraomch krabwnkarelaolmekiywpharasihruxphudihephlidephlin phiorthwathng krabwnkartdphx okrthkhunekhuxng eyaaeyy ehnbaenm sllapngkhphiisy krabwnkarkhrakhrwy oskesra phraephx xalyxawrnsunthriyrs khux aengngamdanxarmnsaethuxnic xnekidcakkrabwnkarphrrnna aelaklwithikarpraphnththiehmaasm mixyu 9 rs khux singkharrs rsaehngkhwamrk hasyrs rsaehngkhwamtlkkhbkhn krunars rsaehngkhwamemttakruna ruththrs rsaehngkhwamokrth wirrs rsaehngkhwamklahay phyankrs rsaehngkhwamklw wiphcchars rsaehngkhwamekliydchng khyaaekhyng xphphutrs rsaehngkhwamphiswng xscrry sntrs rsaehngkhwamsngb eyuxkeyn brisuththi khnadchnthlksninnganrxykrxng mikhnadldhlnkn dngni khux bth bath wrrkh kha echphaainkhapraphnthpraephthklxn mkeriykwa khaklxn aethnkhawa bath khapraphnthswnihy kahnd 1 bth epn 2 bath aela 1 bath epn 2 wrrkh aetyngmikhapraphnthxikimnxy thikahndbathaetktangipcakni odyaetlabathcamichuxeriykkakb wa bathexk bathoth bathtri bathctwa bangkhrngxacichcanwnnbaethn echn baththihnung baththisxng epntnxangxingkachy thxnghlx hlkphasaithy rwmsasn 1977 krungethph 2545 krmsilpakr khrrphkhrrlxngrxykrxngithy krungethph 2545 suphaphr makaecng kwiniphnthithy 1 krungethph oxediynsotr 2535 aehlngkhxmulxunhttp thaiarc tu ac th poetry poemt html http klon thailandschool org category chnthlksn 2013 10 30 thi ewyaebkaemchchin