คนยิงธนูเอ* (อังกฤษ: Sagittarius A*) เป็นหลุมดำใจกลางดาราจักรทางช้างเผือก ในวันที่ 12 พฤษภาคม ค.ศ. 2022 ตามเวลาในประเทศไทย เครือข่ายกล้องโทรทรรศน์ขอบฟ้าเหตุการณ์ได้ประกาศความสำเร็จในการถ่ายภาพหลุมดำบริเวณใจกลางทางช้างเผือกที่มีชื่อว่า คนยิงธนูเอ* ได้เป็นครั้งแรก เป็นการยืนยันการมีอยู่จริงของหลุมดำใจกลางดาราจักรทางช้างเผือก และยืนยันความถูกต้องของทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
ภาพถ่ายหลุมดำคนยิงธนูเอ* ที่เครือข่ายกล้องโทรทรรศน์ขอบฟ้าเหตุการณ์เผยแพร่เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม ค.ศ. 2022 | |
ข้อมูลสังเกตการณ์ ต้นยุคอ้างอิง J2000.0 วิษุวัต J2000.0 | |
---|---|
กลุ่มดาว | กลุ่มดาวคนยิงธนู |
ไรต์แอสเซนชัน | 17h 45m 40.0409s |
เดคลิเนชัน | −29° 0′ 28.118″ |
มาตรดาราศาสตร์ | |
ระยะทาง | 26,673 ± 42×106ly |
รายละเอียด | |
มวล | (4.154±0.014) ×106M☉ |
ฐานข้อมูลอ้างอิงอื่น | |
SIMBAD | data |
คนยิงธนูเอ* เป็นหลุมดำมวลยิ่งยวด อยู่ห่างจากโลกประมาณ 27,000 ปีแสง มีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์ถึง 4 ล้านเท่า มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 60 ล้านกิโลเมตร เล็กกว่าหลุมดำเอ็ม87* ซึ่งอยู่ใจกลางดาราจักรเมซีเย 87 1,000 เท่า นักวิทยาศาสตร์กว่า 300 คน ต้องร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลกว่า 6 เทระไบต์ เป็นเวลาหลายปีกว่าจะได้ภาพถ่ายภาพแรกของหลุมดำคนยิงธนูเอ*
การศึกษาและการค้นพบ
ใน ค.ศ. 1933 นักดาราศาสตร์ได้ค้นพบแหล่งกำเนิดคลื่นวิทยุปริศนาจากทิศทางของกลุ่มดาวคนยิงธนูซึ่งอยู่บริเวณใจกลางดาราจักรทางช้างเผือก นักดาราศาสตร์จึงได้เรียกชื่อของแหล่งกำเนิดคลื่นวิทยุปริศนานี้ตามชื่อของกลุ่มดาวคนยิงธนูว่า คนยิงธนูเอ* ต่อมานักดาราศาสตร์ได้ค้นพบว่า ดาวฤกษ์และกลุ่มแก๊สร้อนที่โคจรรอบวัตถุนี้มีการโคจรด้วยความเร็วที่สูงมาก จึงเป็นหลักฐานที่บ่งชี้ให้เห็นว่าวัตถุปริศนาที่มองไม่เห็นนี้จะต้องมีแรงโน้มถ่วงที่มหาศาลมาก ๆ ในปริมาตรที่น้อยมาก ๆ สอดคล้องกับคุณสมบัติของหลุมดำมวลยิ่งยวด การค้นพบหลักฐานที่บ่งชี้การมีอยู่ของหลุมดำใจกลางดาราจักรทางช้างเผือกนี้ทำให้นักดาราศาสตร์สองคนคือ และ ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ใน ค.ศ. 2020 ร่วมกับ นอกจากการค้นพบนี้เราก็ไม่เคยมีการค้นพบอื่นที่บ่งชี้ถึงการมีอยู่ของหลุมดำใจกลางทางช้างเผือกนี้อีกเลย จนกระทั่งวันที่ 12 พฤษภาคม ค.ศ. 2022 เครือข่ายกล้องโทรทรรศน์ขอบฟ้าเหตุการณ์ได้ประกาศความสำเร็จในการถ่ายภาพหลุมดำคนยิงธนูเอ* สำเร็จเป็นครั้งแรก
ในการถ่ายภาพหลุมดำคนยิงธนูเอ* นักวิทยาศาสตร์ต้องใช้เทคโนโลยีที่มีความซับซ้อนมากกว่าการถ่ายภาพหลุมดำเอ็ม87* ที่ถ่ายได้ครั้งก่อน เนื่องจากกลุ่มแก๊สที่โคจรรอบหลุมดำคนยิงธนูเอ* ใชเวลาในการโคจรเร็วกว่ากลุ่มแก๊สที่โคจรรอบหลุมดำเอ็ม87* โดยใช้เวลาโคจรครบรอบไม่กี่วินาที ซึ่งหมายความว่าความสว่างและรูปแบบของแก๊สรอบ ๆ หลุมดำคนยิงธนูเอ* เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในขณะที่ทีมกล้องโทรทรรศน์ขอบฟ้าเหตุการณ์กำลังสังเกตอยู่ โดยนักวิทยาศาสตร์อธิบายว่าความยากในการถ่ายภาพหลุมดำคนยิงธนูเอ* นั้นยากพอ ๆ กับการเอาโดนัทไปวางไว้บนดวงจันทร์แล้วสังเกตโดนัทจากพื้นโลก
อ้างอิง
- Reid, M.J.; Brunthaler, A. (2004).| "Sgr A* – Radio-source". Astrophysical Journal. 616 (2) : 872–884.(identifier) | arXiv:| astro-ph/0408107.(identifier) | Bibcode:| 2004ApJ...616..872R.(identifier) | doi:| :10.1086/424960.(identifier) | S2CID | 16568545.
- The GRAVITY collaboration (April 2019). "A geometric distance measurement to the Galactic center black hole with 0.3% uncertainty". Astronomy & Astrophysics. 625: L10. (identifier) arXiv:1904.05721. (identifier) Bibcode:2019A&A...625L..10G. (identifier) doi:10.1051/0004-6361/201935656. (identifier) S2CID 119190574. from the original on October 4, 2019. สืบค้นเมื่อ 16/05/2565.
- The GRAVITY collaboration (April 2019). "A geometric distance measurement to the Galactic center black hole with 0.3% uncertainty". Astronomy & Astrophysics. 625: L10. (identifier) arXiv:1904.05721. (identifier) Bibcode:2019A&A...625L..10G. (identifier) doi:10.1051/0004-6361/201935656. (identifier) S2CID 119190574. from the original on October 4, 2019. สืบค้นเมื่อ 16/05/2565.
- "เปิดภาพแรก หลุมดำกลางดาราจักรทางช้างเผือก". สมาคมดาราศาสตร์ไทย. สืบค้นเมื่อ 9 June 2022.
- -สรุปภาพหลุมดำมวลยิ่งยวด Sagittarius A* ใจกลางทางช้างเผือก, Spaceth , สืบค้นวันที่ 16/05/2565.
- Sagittarius A*: NASA Telescopes Support Event Horizon Telescope in Studying Milky Way's Black Hole, NASA, สืบค้นวันที่ 16/05/2565.
- เผยภาพถ่ายแรกของหลุมดำ ใจกลางกาแลกซีทางช้างเผือกสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7, สืบค้นเมื่อ 16/05/2565.
- "NARIT ภาพแรก !! ของหลุมดำ ณ ใจกลางทางช้างเผือก". สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ. 13 May 2022. สืบค้นเมื่อ 2 June 2022.
- Astronomers reveal first image of the black hole at the heart of our galaxy, Event Horizon Telescope, สืบค้นเมื่อ 16/05/2565.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khnyingthnuex xngkvs Sagittarius A epnhlumdaicklangdarackrthangchangephuxk inwnthi 12 phvsphakhm kh s 2022 tamewlainpraethsithy ekhruxkhayklxngothrthrrsnkhxbfaehtukarnidprakaskhwamsaercinkarthayphaphhlumdabriewnicklangthangchangephuxkthimichuxwa khnyingthnuex idepnkhrngaerk epnkaryunynkarmixyucringkhxnghlumdaicklangdarackrthangchangephuxk aelayunynkhwamthuktxngkhxngthvsdismphththphaphthwipkhxngxlebirt ixnsitnkhnyingthnuex phaphthayhlumdakhnyingthnuex thiekhruxkhayklxngothrthrrsnkhxbfaehtukarnephyaephremuxwnthi 12 phvsphakhm kh s 2022khxmulsngektkarn tnyukhxangxing J2000 0 wisuwt J2000 0klumdaw klumdawkhnyingthnuirtaexsesnchn 17h 45m 40 0409sedkhlienchn 29 0 28 118 matrdarasastrrayathang26 673 42 106lyraylaexiydmwl 4 154 0 014 106M thankhxmulxangxingxunSIMBADdata khnyingthnuex epnhlumdamwlyingywd xyuhangcakolkpraman 27 000 piaesng mimwlmakkwadwngxathitythung 4 lanetha miesnphansunyklang 60 lankiolemtr elkkwahlumdaexm87 sungxyuicklangdarackremsiey 87 1 000 etha nkwithyasastrkwa 300 khn txngrwmknwiekhraahkhxmulkwa 6 ethraibt epnewlahlaypikwacaidphaphthayphaphaerkkhxnghlumdakhnyingthnuex karsuksaaelakarkhnphbin kh s 1933 nkdarasastridkhnphbaehlngkaenidkhlunwithyuprisnacakthisthangkhxngklumdawkhnyingthnusungxyubriewnicklangdarackrthangchangephuxk nkdarasastrcungideriykchuxkhxngaehlngkaenidkhlunwithyuprisnanitamchuxkhxngklumdawkhnyingthnuwa khnyingthnuex txmankdarasastridkhnphbwa dawvksaelaklumaeksrxnthiokhcrrxbwtthunimikarokhcrdwykhwamerwthisungmak cungepnhlkthanthibngchiihehnwawtthuprisnathimxngimehnnicatxngmiaerngonmthwngthimhasalmak inprimatrthinxymak sxdkhlxngkbkhunsmbtikhxnghlumdamwlyingywd karkhnphbhlkthanthibngchikarmixyukhxnghlumdaicklangdarackrthangchangephuxknithaihnkdarasastrsxngkhnkhux aela idrbrangwloneblsakhafisiksin kh s 2020 rwmkb nxkcakkarkhnphbnierakimekhymikarkhnphbxunthibngchithungkarmixyukhxnghlumdaicklangthangchangephuxknixikely cnkrathngwnthi 12 phvsphakhm kh s 2022 ekhruxkhayklxngothrthrrsnkhxbfaehtukarnidprakaskhwamsaercinkarthayphaphhlumdakhnyingthnuex saercepnkhrngaerk karokhcrkhxngdawvksrxbhlumdakhnyingthnuex inkarthayphaphhlumdakhnyingthnuex nkwithyasastrtxngichethkhonolyithimikhwamsbsxnmakkwakarthayphaphhlumdaexm87 thithayidkhrngkxn enuxngcakklumaeksthiokhcrrxbhlumdakhnyingthnuex ichewlainkarokhcrerwkwaklumaeksthiokhcrrxbhlumdaexm87 odyichewlaokhcrkhrbrxbimkiwinathi sunghmaykhwamwakhwamswangaelarupaebbkhxngaeksrxb hlumdakhnyingthnuex epliynaeplngxyangrwderwinkhnathithimklxngothrthrrsnkhxbfaehtukarnkalngsngektxyu odynkwithyasastrxthibaywakhwamyakinkarthayphaphhlumdakhnyingthnuex nnyakphx kbkarexaodnthipwangiwbndwngcnthraelwsngektodnthcakphunolkxangxingReid M J Brunthaler A 2004 Sgr A Radio source Astrophysical Journal 616 2 872 884 identifier arXiv astro ph 0408107 identifier Bibcode 2004ApJ 616 872R identifier doi 10 1086 424960 identifier S2CID 16568545 The GRAVITY collaboration April 2019 A geometric distance measurement to the Galactic center black hole with 0 3 uncertainty Astronomy amp Astrophysics 625 L10 identifier arXiv 1904 05721 identifier Bibcode 2019A amp A 625L 10G identifier doi 10 1051 0004 6361 201935656 identifier S2CID 119190574 from the original on October 4 2019 subkhnemux 16 05 2565 The GRAVITY collaboration April 2019 A geometric distance measurement to the Galactic center black hole with 0 3 uncertainty Astronomy amp Astrophysics 625 L10 identifier arXiv 1904 05721 identifier Bibcode 2019A amp A 625L 10G identifier doi 10 1051 0004 6361 201935656 identifier S2CID 119190574 from the original on October 4 2019 subkhnemux 16 05 2565 epidphaphaerk hlumdaklangdarackrthangchangephuxk smakhmdarasastrithy subkhnemux 9 June 2022 srupphaphhlumdamwlyingywd Sagittarius A icklangthangchangephuxk Spaceth subkhnwnthi 16 05 2565 Sagittarius A NASA Telescopes Support Event Horizon Telescope in Studying Milky Way s Black Hole NASA subkhnwnthi 16 05 2565 ephyphaphthayaerkkhxnghlumda icklangkaaelksithangchangephuxksthaniothrthsnsikxngthphbkchxng 7 subkhnemux 16 05 2565 NARIT phaphaerk khxnghlumda n icklangthangchangephuxk sthabnwicydarasastraehngchati 13 May 2022 subkhnemux 2 June 2022 Astronomers reveal first image of the black hole at the heart of our galaxy Event Horizon Telescope subkhnemux 16 05 2565