หลุมดำมวลยวดยิ่ง (อังกฤษ: supermassive black hole: SMBH) คือหลุมดำที่มีมวลมากในระดับ 105 ถึง 1010 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ ดาราจักรส่วนใหญ่รวมทั้งทางช้างเผือก (แต่ไม่ใช่ทุกดาราจักร) มักมีหลุมดำมวลยวดยิ่งอยู่ที่บริเวณศูนย์กลาง
หลุมดำมวลยวดยิ่งมีคุณลักษณะสำคัญที่สามารถแบ่งแยกจากหลุมดำธรรมดาได้คือ
- ค่าความหนาแน่นเฉลี่ยของหลุมดำมวลยวดยิ่ง (หาได้จาก มวลของหลุมดำหารด้วยค่าปริมาตรชวาทซ์ชิลท์) จะมีค่าต่ำมาก และอาจต่ำกว่าค่าความหนาแน่นของอากาศอีกด้วย ทั้งนี้เนื่องจากรัศมีชวาทซ์ชิลท์ มีค่าแปรผันตรงกับมวล ในขณะที่ค่าความหนาแน่นแปรผกผันกับปริมาตร เมื่อปริมาตรของวัตถุทรงกลม (เช่นขอบฟ้าเหตุการณ์ของหลุมดำที่ไม่หมุนรอบตัว) แปรผันโดยตรงกับค่ารัศมี และค่าของมวลเพิ่มขึ้นเป็นเส้นตรง ปริมาตรจึงเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงกว่าการเพิ่มของมวลอย่างมาก ดังนั้นค่าความหนาแน่นจะยิ่งลดน้อยลงเมื่อรัศมีของหลุมดำใหญ่มากขึ้น อย่างไรก็ดีพึงระลึกเสมอว่า ผลการคำนวณเช่นนี้เป็นไปตามคำนิยามทางวิทยาศาสตร์ และอาจไม่เกิดขึ้นจริงในทางกายภาพก็ได้
- แรงดึงดูดแบบไทดัลในอาณาเขตของขอบฟ้าเหตุการณ์จะอ่อนแรงมากอย่างมีนัยสำคัญ เนื่องจากซิงกูลาริตีที่ศูนย์กลางอยู่ห่างจากขอบมาก หากมีนักท่องอวกาศเดินทางผ่านเข้าไปในใจกลางหลุมดำแล้วก็จะไม่สามารถรู้สึกถึงแรงดึงดูดแบบไทดัลได้เลยจนกว่าจะล่วงลึกเข้าไปภายในหลุมดำแล้ว
อ้างอิง
- Julian H. Krolik (1999). Active Galactic Nuclei. Princeton University Press. .
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
- ภาพหลุมดำมวลยวดยิ่ง จากองค์การนาซา
- หลุมดำที่ใจกลางทางช้างเผือก 2007-10-31 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
hlumdamwlywdying xngkvs supermassive black hole SMBH khuxhlumdathimimwlmakinradb 105 thung 1010 ethakhxngmwldwngxathity darackrswnihyrwmthngthangchangephuxk aetimichthukdarackr mkmihlumdamwlywdyingxyuthibriewnsunyklangphaphthaywithyuothrthrrsnkhxnghlumdamwlywdyingthiaeknklangkhxngdarackremsiey 87 klumdawhyingsaw mimwlpramanhnungphnlanethakhxngdawxathity thayodyklxngothrthrrsnkhxbfaehtukarn ephyaephremux 10 emsayn ph s 2562phaphbn phaphrangaesdngehtukarnthihlumdamwlywdyingchikdawvksxxkpnesiyng phaphlang karkhadkhaenehtukarnthihlumdamwlywdyingdudklundawvksindarackr RXJ 1242 11 dansay khuxphaphthayrngsiexks dankhwa khuxphaphthayinaesngthitamxngehn hlumdamwlywdyingmikhunlksnasakhythisamarthaebngaeykcakhlumdathrrmdaidkhux khakhwamhnaaennechliykhxnghlumdamwlywdying haidcak mwlkhxnghlumdahardwykhaprimatrchwathschilth camikhatamak aelaxactakwakhakhwamhnaaennkhxngxakasxikdwy thngnienuxngcakrsmichwathschilth mikhaaeprphntrngkbmwl inkhnathikhakhwamhnaaennaeprphkphnkbprimatr emuxprimatrkhxngwtthuthrngklm echnkhxbfaehtukarnkhxnghlumdathiimhmunrxbtw aeprphnodytrngkbkharsmi aelakhakhxngmwlephimkhunepnesntrng primatrcungephimkhuninxtrathisungkwakarephimkhxngmwlxyangmak dngnnkhakhwamhnaaenncayingldnxylngemuxrsmikhxnghlumdaihymakkhun xyangirkdiphungralukesmxwa phlkarkhanwnechnniepniptamkhaniyamthangwithyasastr aelaxacimekidkhuncringinthangkayphaphkidaerngdungdudaebbithdlinxanaekhtkhxngkhxbfaehtukarncaxxnaerngmakxyangminysakhy enuxngcaksingkularitithisunyklangxyuhangcakkhxbmak hakminkthxngxwkasedinthangphanekhaipinicklanghlumdaaelwkcaimsamarthrusukthungaerngdungdudaebbithdlidelycnkwacalwnglukekhaipphayinhlumdaaelwxangxingJulian H Krolik 1999 Active Galactic Nuclei Princeton University Press ISBN 0 691 01151 6 duephimdarackr niwekhliysdarackrkmmnt dawniwtrxn ekhwsaraehlngkhxmulxunphaphhlumdamwlywdying cakxngkhkarnasa hlumdathiicklangthangchangephuxk 2007 10 31 thi ewyaebkaemchchinbthkhwamdarasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk