บทความนี้ไม่มีจาก |
คณะข้าหลวงปักปันเขตแดนไทย-พม่า ในช่วงปี พ.ศ. 2408 - 2410 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งคณะข้าหลวงปักปันเขตแดน เพื่อดำเนินการร่วมสำรวจและชี้แนวเขตแดนของตนตั้งแต่จังหวัดแม่ฮ่องสอน จนถึงจังหวัดระนอง
The Board of Commissioners demarcating the Burma–Siam border | |
ภาพรวมหน่วยงาน | |
---|---|
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2408 |
ยุบเลิก | พ.ศ. 2411 |
ประวัติ
ในปี พ.ศ. 2366 ปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ประเทศอังกฤษเริ่มเข้ายึดหัวเมืองชายฝั่งทะเลของประเทศพม่า รวมทั้งตะนาวศรี มะริด และทวาย ซึ่งเป็นเมืองหลวงของภาคตะนาวศรี พร้อมทั้งได้ส่งเจ้าหน้าที่เข้าสำรวจทำแผนที่ เพื่อจะได้รู้จักสภาพภูมิประเทศ ทรัพยากร และขอบเขตของเมืองที่ตนยึดได้ เมื่อมาถึงทิวเขาตะนาวศรีจึงได้ทราบว่าฝั่งตะวันออกของทิวเขาตะนาวศรีเป็นอาณาเขตของประเทศไทย
ภายหลังในปี พ.ศ. 2408 จึงได้ส่งข้าหลวงใหญ่อังกฤษประจำประเทศอินเดียมาติดต่อกับรัฐบาลไทยเพื่อขอให้มีการปักปันเขตแดนระหว่างไทยกับพม่าของอังกฤษเป็นการถาวร ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
การปักปันเขตแดนไทย-พม่าอย่างเป็นทางการครั้งแรกของไทย ในการให้สัตยาบันครั้งนี้ถือเป็นการยอมรับอย่างเป็นทางการตามข้อตกลงระหว่างประเทศ ว่าเมืองมะริด ทะวาย และตะนาวศรี เป็นดินแดนของประเทศพม่าที่อยู่ในบังคับของอังกฤษ นับตั้งแต่วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2411 เป็นต้นมา
คณะข้าหลวงผู้มีอำนาจเต็ม
รับผิดชอบตั้งแต่เขตจังหวัดกาญจนบุรี ถึงจังหวัดระนอง ดังนี้
โดยฝ่ายไทยได้แต่งตั้ง
- เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ต่อมาคือ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)) สมุหกลาโหม ผู้บังคับหัวเมืองฝ่ายใต้เฉียงตะวันตก
- เจ้าพระยายมราช (ครุฑ) เสนาบดีกรมเวียง เป็นคณะข้าหลวงเจรจาในแผ่นดิน พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
- พระยาเพชรบุรี (เทศ บุนนาค) หรือ พระยาสุรินทรฤๅชัย (เทศ บุนนาค) ต่อมาคือ เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค) เจ้าเมืองเพชรบุรี
- พระยาชุมพร (กล่อม) หรือ พระยาเพชรกำแหงสงคราม (กล่อม) เจ้าเมืองชุมพร
ฝ่ายอังกฤษได้แต่งตั้ง
- ร้อยโท อาเธอร์ เฮอร์เบริด บากเกอร์ (Lieutenant Arthur Herbert Bagger) ประจำประเทศอินเดีย
เมื่อการสำรวจทำแผนที่ และทำบัญชีรายละเอียดเกี่ยวกับที่หมายเขตแดนเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงได้มีการประชุมจัดทำอนุสัญญา (Convention) ขึ้นที่กรุงเทพฯ ในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2411 และได้มีการให้สัตยาบันกัน ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2411 ภายหลังจากฝ่ายไทยได้ตรวจสอบเห็นว่าแผนที่ "The Map of Tenasserim and the adjacent provinces of the Kingdom of Siam" ที่อังกฤษจัดทำขึ้นใหม่นั้นถูกต้องแล้ว นับแต่นั้นแนวพรมแดนระหว่างไทยพม่าตั้งแต่สบเมยถึงปากแม่น้ำกระบุรี จึงได้เปลี่ยนจากเส้นเขตแดนที่ยอมรับโดยพฤตินัย มาเป็นเส้นเขตแดนที่กำหนดขึ้นโดยอนุสัญญา บัญชีที่หมายเขตแดนแนบท้ายอนุสัญญา และแผนที่แนบท้ายอนุสัญญา
ในอนุสัญญา ได้ระบุเส้นเขตแดนตรงแม่น้ำกระบุรีว่า "...ตั้งแต่เขาถ้ำแดงตามเขาแดนใหญ่มาจนถึงปลายน้ำกระใน เป็นเขตแดนจนถึงปากน้ำปากจั่น ลำแม่น้ำเป็นกลาง เขตแดนฝ่ายละฟาก เกาะในแม่น้ำปากจั่นริมฝั่งข้างอังกฤษเป็นของอังกฤษ ริมฝั่งข้างไทยเป็นของไทย เกาะขวางหน้ามลิวันเป็นของไทย แม่น้ำปากจั่นฝั่งตะวันตกเป็นของอังกฤษ ตลอดจนถึงปลายแหลมวิคตอเรีย ฝั่งตะวันออกตลอดไปเป็นของไทยทั้งสิ้น..."
สรุปว่า ในครั้งนั้นกำหนดให้แม่น้ำเป็นกลาง ให้ฝั่งเป็นเขตแดน ฝั่งด้านตะวันตกเป็นของพม่า ฝั่งด้านตะวันออกเป็นของไทย สำหรับเกาะในแม่น้ำถ้าชิดฝั่งตะวันตกก็ให้เป็นของอังกฤษ ถ้าชิดฝั่งตะวันออกก็ให้เป็นของไทย สำหรับเกาะขวางให้เป็นของไทย
กล่าวได้ว่า ในการให้สัตยาบันครั้งนี้ถือเป็นการยอมรับอย่างเป็นทางการตามข้อตกลงระหว่างประเทศ ว่าเมืองมะริด ทวาย และตะนาวศรี เป็นดินแดนของประเทศพม่าที่อยู่ในบังคับของอังกฤษ นับตั้งแต่วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2411 เป็นต้นมา
เหตุการณ์หลังลงนาม
หลังวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2411 หลวงปักษี (คลุ้ม บ่วงราบ) นำกำลังเข้ายึดและปกครองเมืองมะริด ทะวาย และตะนาวศรี อย่างลับๆ ในช่วงอยู่การบังคับของอังกฤษ แต่ไม่ได้รับความร่วมมือจากคนไทยในเมืองมะริด ทะวาย และตะนาวศรี เห็นว่าการปกครองแบบอาณานิคมดีแล้ว ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2411 จนถึงปี พ.ศ. 2467 สืบทอดทาญาติต่อด้วย ลับดับ 2 นายคุ้ม บ่วงราบ (เสือคุ้ม) หรือ สมพร ถูกนายแพ้ว ลูกน้องคนสนิทร่วมกันลอบสังหาร ในปี พ.ศ. 2489
เซอร์เจมส์ สก๊อตต์ ระบุว่า ประชากรสยามในมณฑลตะนาวศรีภายใต้จักรวรรดิอังกฤษมีประมาณ 19,631 คน คนสยามอาศัยอยู่ในอำเภอทวาย อัมเฮิสต์ และมะริด กลุ่มคนสยามอาศัยอยู่ในเขตตะนาวศรีในช่วงนั้นตะนาวศรีมีฐานะเป็นมณฑล ประชากรปี พ.ศ. 2444 มีประมาณ 1,159,558 คน ประกอบด้วยคนพม่า กะเหรี่ยง มอญ ฉาน จีน และสยาม คนสยามอาศัยอยู่บริเวณพรมแดนทางตอนใต้ของพม่า โดยเฉพาะอำเภอมะริด อัมเฮิสต์ และทวาย มะริดอยู่ใต้สุดของพม่า ในปี พ.ศ. 2444 มะริดมีประชากรประมาณ 88,744 คน ในจำนวนนี้มีคนสยามอาศัยอยู่ในตัวเมืองมะริดประมาณ 9,000 คน มะริดในตอนต้นศตวรรศที่ 20 แบ่งการปกครองเป็น 5 ตำบล (Township) คือ มะริด ปะลอ (Palaw) ตะนาวศรี ปกเปี้ยน (Bokpyin) และมะลิวัลย์ (Maliwun) ปกเปี้ยนมีประชากร เมื่อปี พ.ศ. 2444 ราว 7,255 คน ร้อยละ 18 พูดภาษาพม่า ร้อยละ 53 พูดภาษาสยาม ร้อยละ 20 พูดภาษามลายู ตำบลมะลิวัลย์มีประชากรประมาณ 7,719 คน ประกอบไปด้วยชาวสยาม ชาวจีน และมลายู และคนพม่าแทบหาไม่พบ ตำบลตะนาวศรีตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของอำเภอมะริด และอยู่ติดแดนสยาม ประชากรปี พ.ศ. 2434 มีประมาณ 8,389 คน เพิ่มขึ้นเป็น 10,712 คน ในปี พ.ศ. 2444 ในจำนวนนี้ร้อยละ 40 พูดภาษาสยาม เมืองสะเทิมอยู่ติดทะเล พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในเขตที่ราบลุ่มแม่น้ำสาละวิน ครอบคลุมพื้นที่อาณาจักรมอญเดิม ปี พ.ศ. 2444 มีประชากร 343,510 คน ในจำนวนนี้มีชาวสยามประมาณ 10,000 คน
ในหนังสือ Imperial Gazetteer of India ระบุว่าชาวสยามกระจายเป็นคนส่วนน้อยในอำเภออื่นของมณฑลตะนาวศรี เช่นอัมเฮิสต์ และทวาย ในอัมเฮิสต์ (ปัจจุบันคือเมืองไจก์กามี) สยามตั้งอาณานิคมขนาดเล็กของตน ทวายปี พ.ศ. 2444 มีประชากรประมาณ 109,979 คน และเพียง 200 คนเท่านั้นที่แสดงตนเป็นคนสยาม
รายนามนายกรัฐมนตรี ผู้ปกครองอาณานิคมสยามในเขตตะนาวศรี ภายใต้จักรวรรดิอังกฤษ
- ลำดับ 1 หลวงปักษี (คลุ้ม บ่วงราบ) พ.ศ. 2411 - 2467
- ลำดับ 2 นายคุ้ม บ่วงราบ หรือ สมพร พ.ศ. 2467 - 2489 ถูกนายแพ้ว อุ้ยนอง พร้อมพวกลูกน้องสังหาร ที่บ้านบ้องขอน
- ลำดับ 3 นายแพ้ว อุ้ยนอง เสียชีวิตจากไข้มาเลเรีย
- ลำดับ 4 นายชม นามวงศ์ หรือ พรานชม ถูกกองทัพพม่าโจมตีเข้าไทยทางด่านสิงขร
- ลำดับ 5 นายชด ชมปุระ ถูกนายสร้วง ลอบสังหารกลางงานเลี้ยง
- ลำดับ 6 นายหลง สักคุณี ก่อนปี พ.ศ. 2506 ถูกนายพันถอไซ ลอบสังหารที่บ้านนามะพร้าว
- ลำดับ 7 นายสร้วง ประสมชิด พ.ศ. 2507 ถูกลูกน้องลอบสังหารที่บ้านเกิดในอำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร
- ลำดับ 8 นายพันถอไซ เริ่มปกครอง พ.ศ. 2508 หัวหน้ากลุ่มกะเหรี่ยงเสรี ออกจากราชการตำรวจพม่าจัดตั้งใหม่ เข้าปกครองแต่คนไทยบางส่วนยังไม่กลับเข้าประเทศไทย
- ลำดับ 9 นายบาเฮา บุตร นายพันถอไซ การปกครองสิ้นสุด พ.ศ. 2535
อาณานิคมสยามในเขตตะนาวศรี ในจักรวรรดิอังกฤษ ได้รับเอกราชแล้ว เช่นเดียวกับประเทศมาเลเชีย ประเทศสิงคโปร์ แต่เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 จอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้ขอความร่วมมือตีย่างกุ้งกับกองทัพญี่ปุ่น ทำให้อังกฤษและพม่าไม่พอใจ ในปี พ.ศ. 2492 รัฐบาลพม่าได้ระดมกำลังทหารเข้ายึดและปกครองเมืองมะริด ทะวาย และตะนาวศรี ต่อมาได้มีการกวาดล้างชนกลุ่มน้อยจนทำให้กะเหรี่ยงเสรีต้องอยู่ตามแนวชายแดนไทย-พม่า ส่วนคนไทยต้องอพยพเข้าประเทศไทยตั้งแต่นั้นมา และผู้อพยพกลับหลังจาก พ.ศ. 2520 จะเป็นคนไทยไม่มีบัตรประชาชน หรือ ที่เรียกว่า ไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี, เขตตะนาวศรี
รายนามผู้ปกครองอาณานิคมสยามในเขตตะนาวศรี ในจักรวรรดิอังกฤษ ผู้ปกครองทั้งหมดมีทายาทอยู่ในตำบลสลุย เดิมก่อนแยกเป็น ตำบลหงษ์เจริญ ตำบลสลุย ตำบลสองพี่น้อง อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร ในปัจจุบัน เพราะเป็นดินแดนตรงกันผ่านช่องทาง
อ้างอิง
- Scott 1999: 115
- Imperial Gazetteer of India 23: 278-279
- Imperial Gazetteer of India 17: 293-299
- ปกเปี้ยน บางทีอ่านบกเปี้ยน และบางครั้งเรียกว่าบอกแปง
- มะลิวัลย์ พม่าเรียกมะลิยุน สมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพเรียกมะลิวัน
- Imperial Gazetteer of India 8:263
- Imperial Gazetteer of India 17: 90-91
- Imperial Gazetteer of India 17: 298
- Imperial Gazetteer of India 17: 298
- Imperial Gazetteer of India 5:297
- Imperial Gazetteer of India 23:262
- Imperial Gazetteer of India 5:297
- บ้านต้นไทร บันทึกตระกูลขุนไกร นายอากร แห่งราชอาณาจักรอยุธยาปลาย
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir khnakhahlwngpkpnekhtaednithy phma inchwngpi ph s 2408 2410 phrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhw rchkalthi 4 oprdekla ihtngkhnakhahlwngpkpnekhtaedn ephuxdaeninkarrwmsarwcaelachiaenwekhtaednkhxngtntngaetcnghwdaemhxngsxn cnthungcnghwdranxngkhnakhahlwngpkpnekhtaednsyam phmaThe Board of Commissioners demarcating the Burma Siam borderphaphrwmhnwyngankxtngph s 2408yubelikph s 2411prawtiinpi ph s 2366 playrchsmyphrabathsmedcphraphuththelishlanphaly praethsxngkvserimekhayudhwemuxngchayfngthaelkhxngpraethsphma rwmthngtanawsri marid aelathway sungepnemuxnghlwngkhxngphakhtanawsri phrxmthngidsngecahnathiekhasarwcthaaephnthi ephuxcaidrucksphaphphumipraeths thrphyakr aelakhxbekhtkhxngemuxngthitnyudid emuxmathungthiwekhatanawsricungidthrabwafngtawnxxkkhxngthiwekhatanawsriepnxanaekhtkhxngpraethsithy phayhlnginpi ph s 2408 cungidsngkhahlwngihyxngkvspracapraethsxinediymatidtxkbrthbalithyephuxkhxihmikarpkpnekhtaednrahwangithykbphmakhxngxngkvsepnkarthawr inrchsmyphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhw karpkpnekhtaednithy phmaxyangepnthangkarkhrngaerkkhxngithy inkarihstyabnkhrngnithuxepnkaryxmrbxyangepnthangkartamkhxtklngrahwangpraeths waemuxngmarid thaway aelatanawsri epndinaednkhxngpraethsphmathixyuinbngkhbkhxngxngkvs nbtngaetwnthi 3 krkdakhm ph s 2411 epntnmakhnakhahlwngphumixanacetmrbphidchxbtngaetekhtcnghwdkaycnburi thungcnghwdranxng dngni odyfayithyidaetngtng ecaphrayasrisuriywngs chwng bunnakh txmakhux smedcecaphrayabrmmhasrisuriywngs chwng bunnakh smuhklaohm phubngkhbhwemuxngfayitechiyngtawntk ecaphrayaymrach khruth esnabdikrmewiyng epnkhnakhahlwngecrcainaephndin phrabathsmedcphranngeklaecaxyuhw phrayaephchrburi eths bunnakh hrux phrayasurinthrvichy eths bunnakh txmakhux ecaphrayasurphnthphisuththi eths bunnakh ecaemuxngephchrburi phrayachumphr klxm hrux phrayaephchrkaaehngsngkhram klxm ecaemuxngchumphr fayxngkvsidaetngtng rxyoth xaethxr ehxrebrid bakekxr Lieutenant Arthur Herbert Bagger pracapraethsxinediy emuxkarsarwcthaaephnthi aelathabychiraylaexiydekiywkbthihmayekhtaednesrceriybrxyaelw cungidmikarprachumcdthaxnusyya Convention khunthikrungethph inwnthi 8 kumphaphnth ph s 2411 aelaidmikarihstyabnkn thikrungethph emuxwnthi 3 krkdakhm ph s 2411 phayhlngcakfayithyidtrwcsxbehnwaaephnthi The Map of Tenasserim and the adjacent provinces of the Kingdom of Siam thixngkvscdthakhunihmnnthuktxngaelw nbaetnnaenwphrmaednrahwangithyphmatngaetsbemythungpakaemnakraburi cungidepliyncakesnekhtaednthiyxmrbodyphvtiny maepnesnekhtaednthikahndkhunodyxnusyya bychithihmayekhtaednaenbthayxnusyya aelaaephnthiaenbthayxnusyya inxnusyya idrabuesnekhtaedntrngaemnakraburiwa tngaetekhathaaedngtamekhaaednihymacnthungplaynakrain epnekhtaedncnthungpaknapakcn laaemnaepnklang ekhtaednfaylafak ekaainaemnapakcnrimfngkhangxngkvsepnkhxngxngkvs rimfngkhangithyepnkhxngithy ekaakhwanghnamliwnepnkhxngithy aemnapakcnfngtawntkepnkhxngxngkvs tlxdcnthungplayaehlmwikhtxeriy fngtawnxxktlxdipepnkhxngithythngsin srupwa inkhrngnnkahndihaemnaepnklang ihfngepnekhtaedn fngdantawntkepnkhxngphma fngdantawnxxkepnkhxngithy sahrbekaainaemnathachidfngtawntkkihepnkhxngxngkvs thachidfngtawnxxkkihepnkhxngithy sahrbekaakhwangihepnkhxngithy klawidwa inkarihstyabnkhrngnithuxepnkaryxmrbxyangepnthangkartamkhxtklngrahwangpraeths waemuxngmarid thway aelatanawsri epndinaednkhxngpraethsphmathixyuinbngkhbkhxngxngkvs nbtngaetwnthi 3 krkdakhm ph s 2411 epntnmaehtukarnhlnglngnamhlngwnthi 3 krkdakhm ph s 2411 hlwngpksi khlum bwngrab nakalngekhayudaelapkkhrxngemuxngmarid thaway aelatanawsri xyanglb inchwngxyukarbngkhbkhxngxngkvs aetimidrbkhwamrwmmuxcakkhnithyinemuxngmarid thaway aelatanawsri ehnwakarpkkhrxngaebbxananikhmdiaelw tngaetpi ph s 2411 cnthungpi ph s 2467 subthxdthayatitxdwy lbdb 2 naykhum bwngrab esuxkhum hrux smphr thuknayaephw luknxngkhnsnithrwmknlxbsnghar inpi ph s 2489 esxrecms skxtt rabuwa prachakrsyaminmnthltanawsriphayitckrwrrdixngkvsmipraman 19 631 khn khnsyamxasyxyuinxaephxthway xmehist aelamarid klumkhnsyamxasyxyuinekhttanawsriinchwngnntanawsrimithanaepnmnthl prachakrpi ph s 2444 mipraman 1 159 558 khn prakxbdwykhnphma kaehriyng mxy chan cin aelasyam khnsyamxasyxyubriewnphrmaednthangtxnitkhxngphma odyechphaaxaephxmarid xmehist aelathway maridxyuitsudkhxngphma inpi ph s 2444 maridmiprachakrpraman 88 744 khn incanwnnimikhnsyamxasyxyuintwemuxngmaridpraman 9 000 khn maridintxntnstwrrsthi 20 aebngkarpkkhrxngepn 5 tabl Township khux marid palx Palaw tanawsri pkepiyn Bokpyin aelamaliwly Maliwun pkepiynmiprachakr emuxpi ph s 2444 raw 7 255 khn rxyla 18 phudphasaphma rxyla 53 phudphasasyam rxyla 20 phudphasamlayu tablmaliwlymiprachakrpraman 7 719 khn prakxbipdwychawsyam chawcin aelamlayu aelakhnphmaaethbhaimphb tabltanawsritngxyuthangtawnxxksudkhxngxaephxmarid aelaxyutidaednsyam prachakrpi ph s 2434 mipraman 8 389 khn ephimkhunepn 10 712 khn inpi ph s 2444 incanwnnirxyla 40 phudphasasyam emuxngsaethimxyutidthael phunthiswnihyxyuinekhtthirablumaemnasalawin khrxbkhlumphunthixanackrmxyedim pi ph s 2444 miprachakr 343 510 khn incanwnnimichawsyampraman 10 000 khn inhnngsux Imperial Gazetteer of India rabuwachawsyamkracayepnkhnswnnxyinxaephxxunkhxngmnthltanawsri echnxmehist aelathway inxmehist pccubnkhuxemuxngickkami syamtngxananikhmkhnadelkkhxngtn thwaypi ph s 2444 miprachakrpraman 109 979 khn aelaephiyng 200 khnethannthiaesdngtnepnkhnsyamraynamnaykrthmntri phupkkhrxngxananikhmsyaminekhttanawsri phayitckrwrrdixngkvsladb 1 hlwngpksi khlum bwngrab ph s 2411 2467 ladb 2 naykhum bwngrab hrux smphr ph s 2467 2489 thuknayaephw xuynxng phrxmphwkluknxngsnghar thibanbxngkhxn ladb 3 nayaephw xuynxng esiychiwitcakikhmaeleriy ladb 4 naychm namwngs hrux phranchm thukkxngthphphmaocmtiekhaithythangdansingkhr ladb 5 naychd chmpura thuknaysrwng lxbsngharklangnganeliyng ladb 6 nayhlng skkhuni kxnpi ph s 2506 thuknayphnthxis lxbsngharthibannamaphraw ladb 7 naysrwng prasmchid ph s 2507 thukluknxnglxbsngharthibanekidinxaephxthaaesa cnghwdchumphr ladb 8 nayphnthxis erimpkkhrxng ph s 2508 hwhnaklumkaehriyngesri xxkcakrachkartarwcphmacdtngihm ekhapkkhrxngaetkhnithybangswnyngimklbekhapraethsithy ladb 9 naybaeha butr nayphnthxis karpkkhrxngsinsud ph s 2535 xananikhmsyaminekhttanawsri inckrwrrdixngkvs idrbexkrachaelw echnediywkbpraethsmaelechiy praethssingkhopr aetekidsngkhramolkkhrngthi 2 cxmphl p phibulsngkhram idkhxkhwamrwmmuxtiyangkungkbkxngthphyipun thaihxngkvsaelaphmaimphxic inpi ph s 2492 rthbalphmaidradmkalngthharekhayudaelapkkhrxngemuxngmarid thaway aelatanawsri txmaidmikarkwadlangchnklumnxycnthaihkaehriyngesritxngxyutamaenwchayaednithy phma swnkhnithytxngxphyphekhapraethsithytngaetnnma aelaphuxphyphklbhlngcak ph s 2520 caepnkhnithyimmibtrprachachn hrux thieriykwa ithyphldthininekhttanawsri ekhttanawsri raynamphupkkhrxngxananikhmsyaminekhttanawsri inckrwrrdixngkvs phupkkhrxngthnghmdmithayathxyuintablsluy edimkxnaeykepn tablhngsecriy tablsluy tablsxngphinxng xaephxthaaesa cnghwdchumphr inpccubn ephraaepndinaedntrngknphanchxngthangxangxingScott 1999 115 Imperial Gazetteer of India 23 278 279 Imperial Gazetteer of India 17 293 299 pkepiyn bangthixanbkepiyn aelabangkhrngeriykwabxkaepng maliwly phmaeriykmaliyun smedckrmphrayadarngrachanuphapheriykmaliwn Imperial Gazetteer of India 8 263 Imperial Gazetteer of India 17 90 91 Imperial Gazetteer of India 17 298 Imperial Gazetteer of India 17 298 Imperial Gazetteer of India 5 297 Imperial Gazetteer of India 23 262 Imperial Gazetteer of India 5 297 bantnithr bnthuktrakulkhunikr nayxakr aehngrachxanackrxyuthyaplay bthkhwamprawtisastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk