ในสรีรวิทยา การถ่ายโอนความรู้สึก (อังกฤษ: sensory transduction) เป็นการแปลงตัวกระตุ้นความรู้สึกจากรูปแบบหนึ่ง ไปเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง
การถ่ายโอนในระบบประสาทโดยปกติหมายถึงการส่งสัญญาณเพื่อแจ้งการตรวจพบตัวกระตุ้น โดยที่ตัวกระตุ้นเชิงกล ตัวกระตุ้นเชิงเคมี หรือเชิงอื่นๆ แปลงไปเป็นศักยะงานประสาท แล้วส่งไปทางแอกซอน ไปสู่ระบบประสาทกลางซึ่งเป็นศูนย์รวบรวมสัญญาณประสาทเพื่อประมวลผล
เซลล์รับความรู้สึก (receptor cell) เปลี่ยนพลังงานของตัวกระตุ้นไปเป็นความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างภายในภายนอกของเซลล์ ข้ามเยื่อหุ้มเซลล์ ซึ่งนำไปสู่การลดขั้ว (depolarization) ของเยื่อหุ้มเซลล์ และนำไปสู่การสร้างศักยะงานประสาทที่ส่งไปยังสมองเพื่อประมวลผล
การถ่ายโอนในประสาทรับความรู้สึก
ระบบการเห็น
ในระบบการเห็น เซลล์รับความรู้สึกคือตัวรับแสง (photoreceptor) ในจอตาที่เรียกว่า เซลล์รูปแท่ง (rod cell) และเซลล์รูปกรวย (cone cell) เปลี่ยนพลังงานทางกายภาพของแสงไปเป็น (electrical impulse) ที่เดินทางไปสู่สมอง พลังงานแสงก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในโปรตีนเยื่อหุ้มเซลล์ที่เรียกว่า rhodopsin เป็นความเปลี่ยนแปลงที่เริ่มกระบวนการระดับโมเลกุล ที่ส่งผลให้มีการลดระดับความต่างศักย์ไฟฟ้าของตัวรับแสง ซึ่งนำไปสู่การลดระดับสัญญาณไฟฟ้าที่ส่งไปยังสมอง เพราะฉะนั้น เมื่อมีแสงมากขึ้นมากระทบตัวรับแสง ก็จะมีการถ่ายโอนสัญญาณที่นำไปสู่การส่งพลังไฟฟ้าในระดับความถี่ที่ต่ำลงไปยังสมอง
ให้สังเกตว่า ระบบหน่วยส่งสัญญาณที่สอง (second messenger system) เป็นสื่อความเปลี่ยนแปลงในการปล่อยสารสื่อประสาท (neurotransmitter) ซึ่งมีอยู่ในเซลล์รูปแท่ง ไม่มีอยู่ในเซลล์รูปกรวย ดังนั้น การตอบสนองของเซลล์รูปแท่งต่อความเปลี่ยนแปลงของระดับแสง จึงมีความรวดเร็วช้ากว่าการตอบสนองทั่วๆ ไปในระบบประสาท
ระบบการได้ยิน
ในระบบการได้ยิน ความสั่นสะเทือนคือเสียง ซึ่งเป็นพลังงานเชิงกล รับการถ่ายโอนเป็นพลังงานไฟฟ้าในเซลล์ขนภายในหูชั้นใน เสียงจากวัตถุหนึ่งทำให้เกิดความสั่นสะเทือนในโมเลกุลของอากาศ อันเป็นตัวเหตุในการสั่นสะเทือนในแก้วหู
การเคลื่อนไหวของแก้วหูทำให้กระดูกหูชั้นกลาง (กระดูกหู) สั่นสะเทือน ซึ่งเดินทางต่อไปยังหูชั้นในรูปหอยโข่ง (cochlear) อันเป็นอวัยวะแห่งการได้ยิน ภายในอวัยวะรูปหอยโข่ง เซลล์ขนบนเนื้อเยื่อบุผิวของ organ of Corti ก็จะงอทำให้เกิดการเคลื่อนไหวในเยื่อกั้นหูชั้นใน (basilar membrane) ซึ่งเคลื่อนโดยเป็นคลื่นมีขนาดต่างๆ ตามความถี่ของเสียง จากนั้น เซลล์ขนจึงสามารถเปลี่ยนการเคลื่อนไหวซึ่งเป็นพลังงานเชิงกลให้เป็นพลังงานไฟฟ้า (คือศักยะงาน) ที่เดินทางตาม ไปยังศูนย์การได้ยินในสมอง
ระบบการได้กลิ่น
ในระบบการได้กลิ่น โมเลกุลมีกลิ่นที่อยู่ในเมือกจมูกเข้าไปยึดกับหน่วยรับความรู้สึกแบบจีโปรตีนของเซลล์รับกลิ่น ตัวจีโปรตีนนั้นก่อให้เกิดกระบวนการส่งสัญญาณสืบต่อกันไป และนำไปสู่การเพิ่มระดับของ cyclic-AMP (cAMP) ซึ่งกระตุ้นเซลล์ประสาทให้ปล่อยสารสื่อประสาท
ระบบการรับรสชาติ
ในระบบการรับรสชาติ การรับรู้รส 5 อย่าง คือ รสหวาน เค็ม เปรี้ยว ขม และอุมะมิ อาศัยวิถีประสาทที่ถ่ายโอนรสชาติโดยโครงสร้างต่างๆ รวมทั้งเซลล์รับรส จีโปรตีน ประตูไอออน (ion channel) และเอ็นไซม์ (effector enzyme)
หมายเหตุและอ้างอิง
- "ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ transduction ว่า "การถ่ายโอนจีน(ผ่านไวรัส)"
- Breedlove, S.M., Rosenzweig, M.R., & Watson, N.V., Biological Psychology, 5th Edition, Sinauer Associates, Inc, Sunderland, MA, 2007
- Silverthorn, Dee Unglaub. Human Physiology: An Integrated Approach, 3rd Edition, Inc, San Francisco, CA, 2004.
- ระบบหน่วยส่งสัญญาณที่สอง (Second messenger system) เป็นโมเลกุลหลายตัวที่ส่งสัญญาณจากหน่วยรับความรู้สึกนอกเยื่อหุ้มเซลล์ ไปยังโมเลกุลปลายทางภายในเซลล์ ซึ่งอยู่ในไซโทพลาซึมหรือนิวเคลียส ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงบางอย่างในเซลล์ เป็นกระบวนการขยายกำลังของสัญญาณของตัวกระตุ้น
- Eatock, R. (2010). Auditory receptors and transduction. In E. Goldstein (Ed.), Encyclopedia of perception. (pp. 184-187). Thousand Oaks, CA: SAGE Publications, Inc. doi: 10.4135/9781412972000.n63
- Ronnett, Gabriele V., & Moon, Cheil. L (2002). G PROTEINS AND OLFACTORY SIGNAL TRANSDUCTION. Annual Review of Physiology. Vol. 64. pp. 189–222. doi:10.1146/annurev.physiol.64.082701.102219.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Timothy A Gilbertson; Sami Damak; Robert F Margolskee, "The molecular physiology of taste transduction", Current Opinion in Neurobiology (August 2000), 10 (4), pg. 519-527
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
insrirwithya karthayoxnkhwamrusuk xngkvs sensory transduction epnkaraeplngtwkratunkhwamrusukcakrupaebbhnung ipepnxikrupaebbhnung karthayoxninrabbprasathodypktihmaythungkarsngsyyanephuxaecngkartrwcphbtwkratun odythitwkratunechingkl twkratunechingekhmi hruxechingxun aeplngipepnskyanganprasath aelwsngipthangaexksxn ipsurabbprasathklangsungepnsunyrwbrwmsyyanprasathephuxpramwlphl esllrbkhwamrusuk receptor cell epliynphlngngankhxngtwkratunipepnkhwamtangskyiffarahwangphayinphaynxkkhxngesll khameyuxhumesll sungnaipsukarldkhw depolarization khxngeyuxhumesll aelanaipsukarsrangskyanganprasaththisngipyngsmxngephuxpramwlphlkarthayoxninprasathrbkhwamrusukrabbkarehn inrabbkarehn esllrbkhwamrusukkhuxtwrbaesng photoreceptor incxtathieriykwa esllrupaethng rod cell aelaesllrupkrwy cone cell epliynphlngnganthangkayphaphkhxngaesngipepn electrical impulse thiedinthangipsusmxng phlngnganaesngkxihekidkhwamepliynaeplnginoprtineyuxhumesllthieriykwa rhodopsin epnkhwamepliynaeplngthierimkrabwnkarradbomelkul thisngphlihmikarldradbkhwamtangskyiffakhxngtwrbaesng sungnaipsukarldradbsyyaniffathisngipyngsmxng ephraachann emuxmiaesngmakkhunmakrathbtwrbaesng kcamikarthayoxnsyyanthinaipsukarsngphlngiffainradbkhwamthithitalngipyngsmxng ihsngektwa rabbhnwysngsyyanthisxng second messenger system epnsuxkhwamepliynaeplnginkarplxysarsuxprasath neurotransmitter sungmixyuinesllrupaethng immixyuinesllrupkrwy dngnn kartxbsnxngkhxngesllrupaethngtxkhwamepliynaeplngkhxngradbaesng cungmikhwamrwderwchakwakartxbsnxngthw ipinrabbprasath rabbkaridyin inrabbkaridyin khwamsnsaethuxnkhuxesiyng sungepnphlngnganechingkl rbkarthayoxnepnphlngnganiffainesllkhnphayinhuchnin esiyngcakwtthuhnungthaihekidkhwamsnsaethuxninomelkulkhxngxakas xnepntwehtuinkarsnsaethuxninaekwhu karekhluxnihwkhxngaekwhuthaihkradukhuchnklang kradukhu snsaethuxn sungedinthangtxipynghuchninruphxyokhng cochlear xnepnxwywaaehngkaridyin phayinxwywaruphxyokhng esllkhnbnenuxeyuxbuphiwkhxng organ of Corti kcangxthaihekidkarekhluxnihwineyuxknhuchnin basilar membrane sungekhluxnodyepnkhlunmikhnadtang tamkhwamthikhxngesiyng caknn esllkhncungsamarthepliynkarekhluxnihwsungepnphlngnganechingklihepnphlngnganiffa khuxskyangan thiedinthangtam ipyngsunykaridyininsmxng rabbkaridklin inrabbkaridklin omelkulmiklinthixyuinemuxkcmukekhaipyudkbhnwyrbkhwamrusukaebbcioprtinkhxngesllrbklin twcioprtinnnkxihekidkrabwnkarsngsyyansubtxknip aelanaipsukarephimradbkhxng cyclic AMP cAMP sungkratunesllprasathihplxysarsuxprasath rabbkarrbrschati inrabbkarrbrschati karrbrurs 5 xyang khux rshwan ekhm epriyw khm aelaxumami xasywithiprasaththithayoxnrschatiodyokhrngsrangtang rwmthngesllrbrs cioprtin pratuixxxn ion channel aelaexnism effector enzyme hmayehtuaelaxangxing sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan khxmphiwetxr run 1 1 ihkhwamhmaykhxng transduction wa karthayoxncin phaniwrs Breedlove S M Rosenzweig M R amp Watson N V Biological Psychology 5th Edition Sinauer Associates Inc Sunderland MA 2007 Silverthorn Dee Unglaub Human Physiology An Integrated Approach 3rd Edition Inc San Francisco CA 2004 rabbhnwysngsyyanthisxng Second messenger system epnomelkulhlaytwthisngsyyancakhnwyrbkhwamrusuknxkeyuxhumesll ipyngomelkulplaythangphayinesll sungxyuinisothphlasumhruxniwekhliys thaihekidkhwamepliynaeplngbangxyanginesll epnkrabwnkarkhyaykalngkhxngsyyankhxngtwkratun Eatock R 2010 Auditory receptors and transduction In E Goldstein Ed Encyclopedia of perception pp 184 187 Thousand Oaks CA SAGE Publications Inc doi 10 4135 9781412972000 n63 Ronnett Gabriele V amp Moon Cheil L 2002 G PROTEINS AND OLFACTORY SIGNAL TRANSDUCTION Annual Review of Physiology Vol 64 pp 189 222 doi 10 1146 annurev physiol 64 082701 102219 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint uses authors parameter Timothy A Gilbertson Sami Damak Robert F Margolskee The molecular physiology of taste transduction Current Opinion in Neurobiology August 2000 10 4 pg 519 527