บทความนี้ไม่มีจาก |
การกัดเซาะชายฝั่งทะเลของประเทศไทย เป็นปัญหาที่ส่งผลให้เกิดความสูญเสียทรัพย์สินของประชาชนและของทางราชการ ทำให้เสียทัศนียภาพ ซึ่งส่งผลกระทบต่อ อีกทั้งยังทำให้เกิดความเสียหายด้านทรัพยากรชายฝั่งอีกด้วย โดยอัตราการกัดเซาะชายฝั่งทะเลด้านอ่าวไทยและด้านอันดามันเฉลี่ยมากกว่า 5.0 เมตรต่อปี แต่การกัดเซาะชายฝั่งทะเลด้านอันดามันเกิดขึ้นน้อยกว่าชายฝั่งด้านอ่าวไทย[]
ชายฝั่งทะเลของประเทศไทย
ชายฝั่งทะเลของประเทศไทยมีความยาวประมาณ 2,600 กิโลเมตร และมีจำนวนประชากรอาศัยอยู่มากกว่า 11 ล้านคน ทั้งนี้สามารถแบ่งได้เป็น
- ชายฝั่งทะเลด้านอ่าวไทย มีความยาว 1,660 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่รวม 17 จังหวัด อันได้แก่ กรุงเทพมหานคร สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ตราด จันทบุรี ระยอง ชลบุรี ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช สงขลา ปัตตานี และนราธิวาส
- ชายฝั่งทะเลด้านอันดามัน มีความยาว 954 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่รวม 6 จังหวัด ได้แก่ ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล
บริเวณชายฝั่งทะเลมีความสำคัญในด้านการเป็นที่อยู่อาศัย เป็นพื้นที่เพื่อการอุตสาหกรรมและในเชิงพาณิชย์ การท่องเที่ยว อีกทั้งยังเป็นพื้นที่อนุรักษ์และเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ ที่มีความสำคัญต่อระบบนิเวศน์อีกด้วย
สถานการณ์ปัจจุบัน
ในปัจจุบันชายฝั่งทะเลของประเทศไทยประสบกับปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลในระดับรุนแรง ส่งผลให้เกิดความสูญเสียทรัพย์สินของประชาชนและของทางราชการ ทำให้เสียทัศนียภาพ ซึ่งส่งผลกระทบต่อธุรกิจการท่องเที่ยว อีกทั้งยังทำให้เกิดความเสียหายด้านทรัพยากรชายฝั่งอีกด้วย
การกัดเซาะชายฝั่งทะเลในหลายพื้นที่มีแนวโน้มจะมีความถี่มากขึ้นและยิ่งทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นด้วย ดังนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องมีการวางแผนป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างถูกวิธี
การกัดเซาะชายฝั่งทะเลด้านอ่าวไทย
มีอัตราการกัดเซาะรุนแรง คือเฉลี่ยมากกว่า 5.0 เมตรต่อปี (ถือเป็นพื้นที่วิกฤติหรือพื้นที่เร่งด่วน) เกิดขึ้นในพื้นที่ชายฝั่งระยะทางรวม 180.9 กิโลเมตร หรือคิดเป็นร้อยละ 10.9 ของแนวชายฝั่งอ่าวไทย ทั้งนี้ชายฝั่งทะเลบริเวณอ่าวไทยตอนบนตั้งแต่ปากแม่น้ำบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา จนถึงปากแม่น้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร เป็นพื้นที่ที่มีความอ่อนไหวและเกิดการกัดเซาะที่รุนแรงที่สุด โดยบางพื้นที่มีอัตราการกัดเซาะชายฝั่งมากกว่า 25 เมตรต่อปี
การกัดเซาะชายฝั่งทะเลด้านอันดามัน
เกิดขึ้นน้อยกว่าชายฝั่งด้านอ่าวไทยโดยมีการกัดเซาะรุนแรงในอัตราเฉลี่ยมากกว่า 5.0 เมตรต่อปี (พื้นที่วิกฤติหรือพื้นที่เร่งด่วน) รวมระยะทาง 23.0 กิโลเมตร หรือคิดเป็นร้อยละ 2.4 ของแนวชายฝั่งอันดามัน อีกทั้งพบว่าโดยทั่วไปการกัดเซาะชายฝั่งทะเลด้านอันดามันมักเกิดในพื้นที่หาดทรายมากกว่าบริเวณอื่นๆ
สาเหตุของการเกิดการกัดเซาะชายฝั่ง
เกิดขึ้นจากหลายสาเหตุ โดยสามารถแบ่งเป็น 2 สาเหตุหลักคือ เกิดจากกระบวนการทางธรรมชาติ และเกิดจากการกระทำของมนุษย์
เกิดจากกระบวนการตามธรรมชาติ
- ลมมรสุมและพายุ จะทำให้เกิดคลื่นลมเคลื่อนเข้าปะทะชายฝั่ง ทำให้มีการพัดเอามวลทรายออกจากพื้นที่ชายฝั่งในช่วงเวลาหนึ่ง และจะพัดเอามวลทรายกลับมาในอีกช่วงเวลาหนึ่ง ซึ่งอาจจะทำให้มวลทรายที่ถูกพัดพาออกไปจากชายฝั่ง และมวลทรายที่ถูกพัดพาเข้ามานั้นไม่สมดุลกัน
- น้ำขึ้น-น้ำลง ส่งผลต่อการเคลื่อนตัวของตะกอน และมวลทรายบริเวณชายฝั่ง ซึ่งอาจจะเกิดความไม่สมดุลดังเช่นที่เกิดกับและพายุ ก็จะมีส่วนทำให้เกิดการกัดเซาะชายฝั่งได้เช่นกัน
เกิดจากการกระทำของมนุษย์
- การพัฒนาพื้นที่ชายฝั่ง เพื่อการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ ทำให้มีการก่อสร้างต่างๆ ในพื้นที่ชายฝั่งทะเลเป็นจำนวนมาก เช่น การสร้างนิคมอุตสาหกรรม การสร้างเส้นทางคมนาคมขนส่ง การก่อสร้าง ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพทางธรณีวิทยาของชายฝั่ง ทรัพยากร และระบบนิเวศในบริเวณนั้น ทำให้ขาดความสมดุล และนำไปสู่การเกิดการกัดเซาะชายฝั่งได้ง่าย
- การบุกรุกพื้นที่ป่าชายเลน เพื่อพัฒนาเป็นแหล่งเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ เช่น กุ้งกุลาดำ ทำให้เกิดการสูญเสียทรัพยากรที่มีความสำคัญในการป้องกันกระแสลม กระแสคลื่น อีกทั้งรากของไม้ชายเลนยังช่วยดักตะกอนโคลนที่ฟุ้งกระจายให้ตกตะกอน ตลอดจนช่วยให้ดินเลนยึดรวมตัวกันทำให้ยากต่อการพังทลายอีกด้วย ดังนั้นในบริเวณที่มีการบุกรุกพื้นที่ป่าชายเลน จะสามารถเกิดปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งได้ง่าย
- การสร้างเขื่อน และอ่างเก็บน้ำบริเวณต้นน้ำ ทำให้การไหลของกระแสน้ำเกิดการชะลอตัว ดังนั้นตะกอนจำนวนหนึ่งตกตะกอนอยู่ในลำและบางส่วนถูกกักไว้ที่บริเวณเหนือเขื่อน ทำให้ตะกอนที่ไหลไปสะสมตัวบริเวณปากแม่น้ำมีน้อยลง ดังนั้นจึงขาดตะกอนที่จะถูกเติมเข้าไปแทนที่ตะกอนบริเวณชายฝั่งที่ถูกพัดพาออกไป เป็นผลให้ชายฝั่งบริเวณดังกล่าวเกิดการกัดเซาะชายฝั่งได้ง่าย
- การสูบน้ำบาดาล มีส่วนทำให้เกิดการทรุดตัวของดิน พร้อมกับมีส่วนทำให้เกิดการกัดเซาะชายฝั่งได้ด้วยเช่นกัน
- การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก เนื่องจากระดับน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้น ทำให้น้ำทะเลรุกเข้าไปแผ่นดินมากขึ้น ส่งผลให้ชายฝั่งทะเลเกิดการกัดเซาะชายฝั่งรุนแรงขึ้น
มาตรการป้องกันชายฝั่ง (Coastal Protection Measures)
ที่นิยมใช้และได้ดำเนินการในการแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลที่ผ่านมา ประกอบด้วย 2 วิธี คือ มาตรการโครงสร้างแบบแข็ง (Hard Solution) และมาตรการโครงสร้างแบบอ่อน (Soft Solution)
มาตรการโครงสร้างแบบแข็ง
- เขื่อนกันคลื่น (Breakwater) เป็นโครงสร้างที่ใช้หินขนาดต่างๆ โดยใช้หินขนาดตามที่ออกแบบกองขึ้นเป็นชั้นฐาน (Bedding Layer) และชั้นแกน (Core Layer) หรือแท่งคอนกรีตขนาดใหญ่เป็นชั้นเปลือกนอก (Armor Unit) ก่อกองขึ้นเพื่อยับยั้งความเร็วของคลื่นที่จะเคลื่อนที่เข้าปะทะฝั่ง
- เขื่อนกันคลื่นบนฝั่ง (Revetment) เป็นโครงสร้างที่ก่อสร้างชิดชายหาด อาจก่อสร้างจากคอนกรีตเสริมเหล็ก หรือเรียงด้วยหิน หรือวัสดุอื่นๆ เช่นถุงทรายเป็นต้น (เชิดวงศ์ แสงศุภวานิช, 2564)
- รอดักทราย (Groin) เป็นโครงสร้างที่มีลักษณะยื่นตั้งฉากออกไปจากชายฝั่งเพื่อให้ตะกอนสะสมตัวอยู่ระหว่างโครงสร้างรอแต่ละแนว ซึ่งมีหลายรูปแบบทั้งแบบตัวไอ ตัววาย และตัวที
- ไส้กรอกทราย (Sand Sausage) เป็นโครงสร้างที่ใช้แผ่นใยสังเคราะห์ (Geotextile) บรรจุทรายเข้าไปเพื่อใช้ในการลดความรุนแรงของคลื่น
โครงสร้างแต่ละประเภทก็ยังมีข้อเด่นและข้อด้อยแตกต่างกัน พื้นที่ที่แตกต่างกันอาจเหมาะสมกับโครงสร้างที่แตกต่างกัน (เชิดวงศ์ แสงศุภวานิช, 2564) ซึ่งสามารถศึกษาเพิ่มเติมจากคลิปวิดีโอเรื่อง ทางเลือกรูปแบบโครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งตอนที่ 1 และตอนที่ 2
มาตรการโครงสร้างแบบอ่อน
- การสร้างหาดทราย (Beach Nourishment) เป็นการดูดทรายหรือนำทรายมาถมในบริเวณที่ถูกกัดเซาะ ซึ่งวิธีการนี้จะสิ้นเปลื้องค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาที่สูงมาก แต่สภาพชายหาดจะสวยงาม
- การสร้างเนินทราย (Dune Nourishment) เป็นการนำทรายมาถมให้สูงเลียนแบบเนินทรายเดิมที่ถูกทำลายไป และนำพืชบางชนิดที่สามารถขึ้นในเนินทรายมาปลูกเสริมเข้าไป เพื่อดักทรายที่ถูกพัดพาเข้าฝั่ง
- การปลูกป่าชายเลน (Mangrove a forestation) ทำในพื้นที่ที่มีลักษณะเป็นที่ราบน้ำขึ้นถึงป่าชายเลน ซึ่งทางฝั่งอ่าวไทยได้มีการนำกล้าไม้ป่าชายเลนมาปลูกขึ้นใหม่ในบริเวณที่ถูกทำลายไป
- การกำหนดระยะร่นถอย (Setback) เป็นมาตรการเชิงแผนและนโยบายเพื่อเป็นการลดระดับความเสียหายของสิ่งก่อสร้างบริเวณชายหาด โดยไม่ให้มีสิ่งก่อสร้างบนชายหาดที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อการกัดเซาะ เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาความเสียหายของทรัพย์สินและสิ่งปลูกสร้าง
ผลกระทบจากการกัดเซาะชายฝั่ง
- ผลกระทบต่อระบบนิเวศชายฝั่ง การกัดเซาะชายฝั่งมีส่วนทำให้ระบบนิเวศชายฝั่ง เช่น ทรัพยากรป่าชายเลน แนวปะการัง สัตว์น้ำต่างๆ เป็นต้น เกิดความเสียหาย จนอาจทำให้ความอุดมสมบูรณ์ทางธรรมชาติลดน้อยลงหรือถูกทำลายลงในที่สุด
- ผลกระทบต่อสภาพเศรษฐกิจ บริเวณชายฝั่งทะเลที่เกิดปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง พื้นที่ชายฝั่งทะเลจะสูญเสียความอุดมสมบูรณ์และความสวยงามตามธรรมชาติ ทำให้ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวซึ่งเป็นรายได้หลักของประเทศ
- ผลกระทบต่อวิถีการดำรงชีวิต ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ทำให้สูญเสียทั้งที่อยู่อาศัย และพื้นที่ทำกิน ซึ่งย่อมทำให้วิถีชีวิตดั้งเดิมของชุมชนเกิดการเปลี่ยนแปลงตามไป
ดูเพิ่ม
- การกัดเซาะชายฝั่ง
- กำแพงกันคลื่น
แหล่งข้อมูลอื่น
- การกัดเซาะชายฝั่งทะเลไทย
- (500)/page2-9-51 (500).html ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งในประเทศไทย[]
- การกัดเซาะชายฝั่งทะเลประเทศไทย[]
- "Cherdvong-coast". cherdvong-coast.com.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir karkdesaachayfngthaelkhxngpraethsithy epnpyhathisngphlihekidkhwamsuyesiythrphysinkhxngprachachnaelakhxngthangrachkar thaihesiythsniyphaph sungsngphlkrathbtx xikthngyngthaihekidkhwamesiyhaydanthrphyakrchayfngxikdwy odyxtrakarkdesaachayfngthaeldanxawithyaeladanxndamnechliymakkwa 5 0 emtrtxpi aetkarkdesaachayfngthaeldanxndamnekidkhunnxykwachayfngdanxawithy txngkarxangxing chayfngthaelkhxngpraethsithychayfngthaelkhxngpraethsithymikhwamyawpraman 2 600 kiolemtr aelamicanwnprachakrxasyxyumakkwa 11 lankhn thngnisamarthaebngidepn chayfngthaeldanxawithy mikhwamyaw 1 660 kiolemtr khrxbkhlumphunthirwm 17 cnghwd xnidaek krungethphmhankhr smuthrsakhr smuthrsngkhram trad cnthburi rayxng chlburi chaechingethra smuthrprakar ephchrburi pracwbkhirikhnth chumphr surasdrthani nkhrsrithrrmrach sngkhla pttani aelanrathiwas chayfngthaeldanxndamn mikhwamyaw 954 kiolemtr khrxbkhlumphunthirwm 6 cnghwd idaek ranxng phngnga phuekt krabi trng aelastul briewnchayfngthaelmikhwamsakhyindankarepnthixyuxasy epnphunthiephuxkarxutsahkrrmaelainechingphanichy karthxngethiyw xikthngyngepnphunthixnurksaelaephaaphnthustwna thimikhwamsakhytxrabbniewsnxikdwysthankarnpccubninpccubnchayfngthaelkhxngpraethsithyprasbkbpyhakarkdesaachayfngthaelinradbrunaerng sngphlihekidkhwamsuyesiythrphysinkhxngprachachnaelakhxngthangrachkar thaihesiythsniyphaph sungsngphlkrathbtxthurkickarthxngethiyw xikthngyngthaihekidkhwamesiyhaydanthrphyakrchayfngxikdwy karkdesaachayfngthaelinhlayphunthimiaenwonmcamikhwamthimakkhunaelayingthwikhwamrunaerngmakyingkhundwy dngnncungcaepnthicatxngmikarwangaephnpxngknaelaaekikhpyhaxyangthukwithi karkdesaachayfngthaeldanxawithy mixtrakarkdesaarunaerng khuxechliymakkwa 5 0 emtrtxpi thuxepnphunthiwikvtihruxphunthierngdwn ekidkhuninphunthichayfngrayathangrwm 180 9 kiolemtr hruxkhidepnrxyla 10 9 khxngaenwchayfngxawithy thngnichayfngthaelbriewnxawithytxnbntngaetpakaemnabangpakng cnghwdchaechingethra cnthungpakaemnathacin cnghwdsmuthrsakhr epnphunthithimikhwamxxnihwaelaekidkarkdesaathirunaerngthisud odybangphunthimixtrakarkdesaachayfngmakkwa 25 emtrtxpi phaphsumesmaobsthwdokhmnaramhlngeka tablbangaekw xaephxbanaehlm cnghwdephchrburikarkdesaachayfngthaeldanxndamn ekidkhunnxykwachayfngdanxawithyodymikarkdesaarunaernginxtraechliymakkwa 5 0 emtrtxpi phunthiwikvtihruxphunthierngdwn rwmrayathang 23 0 kiolemtr hruxkhidepnrxyla 2 4 khxngaenwchayfngxndamn xikthngphbwaodythwipkarkdesaachayfngthaeldanxndamnmkekidinphunthihadthraymakkwabriewnxunsaehtukhxngkarekidkarkdesaachayfngekidkhuncakhlaysaehtu odysamarthaebngepn 2 saehtuhlkkhux ekidcakkrabwnkarthangthrrmchati aelaekidcakkarkrathakhxngmnusy ekidcakkrabwnkartamthrrmchati lmmrsumaelaphayu cathaihekidkhlunlmekhluxnekhapathachayfng thaihmikarphdexamwlthrayxxkcakphunthichayfnginchwngewlahnung aelacaphdexamwlthrayklbmainxikchwngewlahnung sungxaccathaihmwlthraythithukphdphaxxkipcakchayfng aelamwlthraythithukphdphaekhamannimsmdulkn nakhun nalng sngphltxkarekhluxntwkhxngtakxn aelamwlthraybriewnchayfng sungxaccaekidkhwamimsmduldngechnthiekidkbaelaphayu kcamiswnthaihekidkarkdesaachayfngidechnknekidcakkarkrathakhxngmnusy karphthnaphunthichayfng ephuxkarphthnathangdanesrsthkic thaihmikarkxsrangtang inphunthichayfngthaelepncanwnmak echn karsrangnikhmxutsahkrrm karsrangesnthangkhmnakhmkhnsng karkxsrang sungxacsngphlihekidkarepliynaeplngsphaphthangthrniwithyakhxngchayfng thrphyakr aelarabbniewsinbriewnnn thaihkhadkhwamsmdul aelanaipsukarekidkarkdesaachayfngidngay karbukrukphunthipachayeln ephuxphthnaepnaehlngephaaeliyngstwna echn kungkulada thaihekidkarsuyesiythrphyakrthimikhwamsakhyinkarpxngknkraaeslm kraaeskhlun xikthngrakkhxngimchayelnyngchwydktakxnokhlnthifungkracayihtktakxn tlxdcnchwyihdinelnyudrwmtwknthaihyaktxkarphngthlayxikdwy dngnninbriewnthimikarbukrukphunthipachayeln casamarthekidpyhakarkdesaachayfngidngay karsrangekhuxn aelaxangekbnabriewntnna thaihkarihlkhxngkraaesnaekidkarchalxtw dngnntakxncanwnhnungtktakxnxyuinlaaelabangswnthukkkiwthibriewnehnuxekhuxn thaihtakxnthiihlipsasmtwbriewnpakaemnaminxylng dngnncungkhadtakxnthicathuketimekhaipaethnthitakxnbriewnchayfngthithukphdphaxxkip epnphlihchayfngbriewndngklawekidkarkdesaachayfngidngay karsubnabadal miswnthaihekidkarthrudtwkhxngdin phrxmkbmiswnthaihekidkarkdesaachayfngiddwyechnkn karepliynaeplngsphaphphumixakasolk enuxngcakradbnathaelephimsungkhun thaihnathaelrukekhaipaephndinmakkhun sngphlihchayfngthaelekidkarkdesaachayfngrunaerngkhunmatrkarpxngknchayfng Coastal Protection Measures thiniymichaelaiddaeninkarinkaraekikhpyhakarkdesaachayfngthaelthiphanma prakxbdwy 2 withi khux matrkarokhrngsrangaebbaekhng Hard Solution aelamatrkarokhrngsrangaebbxxn Soft Solution matrkarokhrngsrangaebbaekhng ekhuxnknkhlun Breakwater epnokhrngsrangthiichhinkhnadtang odyichhinkhnadtamthixxkaebbkxngkhunepnchnthan Bedding Layer aelachnaekn Core Layer hruxaethngkhxnkritkhnadihyepnchnepluxknxk Armor Unit kxkxngkhunephuxybyngkhwamerwkhxngkhlunthicaekhluxnthiekhapathafng ekhuxnknkhlunbnfng Revetment epnokhrngsrangthikxsrangchidchayhad xackxsrangcakkhxnkritesrimehlk hruxeriyngdwyhin hruxwsduxun echnthungthrayepntn echidwngs aesngsuphwanich 2564 rxdkthray Groin epnokhrngsrangthimilksnayuntngchakxxkipcakchayfngephuxihtakxnsasmtwxyurahwangokhrngsrangrxaetlaaenw sungmihlayrupaebbthngaebbtwix twway aelatwthi iskrxkthray Sand Sausage epnokhrngsrangthiichaephniysngekhraah Geotextile brrcuthrayekhaipephuxichinkarldkhwamrunaerngkhxngkhlun okhrngsrangaetlapraephthkyngmikhxednaelakhxdxyaetktangkn phunthithiaetktangknxacehmaasmkbokhrngsrangthiaetktangkn echidwngs aesngsuphwanich 2564 sungsamarthsuksaephimetimcakkhlipwidioxeruxng thangeluxkrupaebbokhrngsrangpxngknkarkdesaachayfngtxnthi 1 aelatxnthi 2 matrkarokhrngsrangaebbxxn karkdesaachayfngthaelbangaekw xaephxbanaehlm cnghwdephchrburikarsranghadthray Beach Nourishment epnkardudthrayhruxnathraymathminbriewnthithukkdesaa sungwithikarnicasinepluxngkhaichcayinkarbarungrksathisungmak aetsphaphchayhadcaswyngam karsrangeninthray Dune Nourishment epnkarnathraymathmihsungeliynaebbeninthrayedimthithukthalayip aelanaphuchbangchnidthisamarthkhunineninthraymaplukesrimekhaip ephuxdkthraythithukphdphaekhafng karplukpachayeln Mangrove a forestation thainphunthithimilksnaepnthirabnakhunthungpachayeln sungthangfngxawithyidmikarnaklaimpachayelnmaplukkhunihminbriewnthithukthalayip karkahndrayarnthxy Setback epnmatrkarechingaephnaelanoybayephuxepnkarldradbkhwamesiyhaykhxngsingkxsrangbriewnchayhad odyimihmisingkxsrangbnchayhadthixyuinphunthiesiyngphytxkarkdesaa ephuxhlikeliyngpyhakhwamesiyhaykhxngthrphysinaelasingpluksrangphlkrathbcakkarkdesaachayfngphlkrathbtxrabbniewschayfng karkdesaachayfngmiswnthaihrabbniewschayfng echn thrphyakrpachayeln aenwpakarng stwnatang epntn ekidkhwamesiyhay cnxacthaihkhwamxudmsmburnthangthrrmchatildnxylnghruxthukthalaylnginthisud phlkrathbtxsphaphesrsthkic briewnchayfngthaelthiekidpyhakarkdesaachayfng phunthichayfngthaelcasuyesiykhwamxudmsmburnaelakhwamswyngamtamthrrmchati thaihsngphlkrathbtxxutsahkrrmkarthxngethiywsungepnrayidhlkkhxngpraeths phlkrathbtxwithikardarngchiwit pyhakarkdesaachayfng thaihsuyesiythngthixyuxasy aelaphunthithakin sungyxmthaihwithichiwitdngedimkhxngchumchnekidkarepliynaeplngtamipduephimkarkdesaachayfng kaaephngknkhlunaehlngkhxmulxunkarkdesaachayfngthaelithy 500 page2 9 51 500 html pyhakarkdesaachayfnginpraethsithy lingkesiy karkdesaachayfngthaelpraethsithy lingkesiy Cherdvong coast cherdvong coast com