กลุ่มอาการเรย์ (อังกฤษ: Reye syndrome) เป็นโรคสมองที่ดำเนินโรครวดเร็วโรคหนึ่ง ผู้ป่วยจะมีอาการอาเจียน บุคลิกเปลี่ยนแปลง สับสน ชัก ได้ มักพบกับภาวะเป็นพิษต่อตับแต่ไม่ค่อยพบภาวะดีซ่าน อัตราการเสียชีวิตอยู่ที่ 20-40% และในกลุ่มที่ไม่เสียชีวิตนั้นหนึ่งในสามจะมีภาวะสมองเสียหายรุนแรงได้
กลุ่มอาการเรย์ (Reye syndrome) | |
---|---|
ชื่ออื่น | Reye's syndrome |
ภาพจากกล้องจุลทรรศน์แสดงให้เห็นเซลล์ตับของผู้ป่วยเด็กที่เสียชีวิตจากกลุ่มอาการเรย์ เซลล์ตับในภาพมีไขมันสะสมในเซลล์จึงพบติดสีจาง | |
การออกเสียง |
|
สาขาวิชา | กุมารเวชศาสตร์ |
อาการ | อาเจียน บุคลิกเปลี่ยนแปลง สับสน ชัก หมดสติ |
ภาวะแทรกซ้อน | สภาพผักเรื้อรัง, โคม่า |
สาเหตุ | ไม่ทราบสาเหตุ |
ปัจจัยเสี่ยง | การใช้ยาแอสไพรินในเด็ก, การติดเชื้อไวรัส |
การรักษา | (Supportive care) |
ยา | |
พยากรณ์โรค | 13rd long term disability |
ความชุก | Less than one in a million children a year |
การเสียชีวิต | ~30% chance of death |
สาเหตุของภาวะนี้ยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด ส่วนใหญ่พบว่าเกิดขึ้นไม่นานหลังผู้ป่วยหายจากการติดเชื้อไวรัส เช่น ไข้หวัดใหญ่ หรืออีสุกอีใส ผู้ป่วยโรคนี้ 90% พบว่ามีประวัติเป็นผู้ป่วยเด็กที่ใช้ยาแอสไพริน ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งคือโรคในกลุ่มความผิดปกติแต่กำเนิดของกระบวนการสร้างและสลาย การตรวจเลือดอาจพบมีระดับ น้ำตาลในเลือดต่ำ ผลตรวจระยะเวลาโปรทรอมบินนานกว่าปกติ และมักมีตับโตร่วมด้วย
การป้องกันทำได้โดยการงดใช้แอสไพรินในผู้ป่วยเด็ก หลังจากมีคำแนะนำให้งดใช้แอสไพรินในผู้ป่วยเด็กพบว่าจำนวนผู้ป่วยกลุ่มอาการเรย์ลดลงกว่า 90% การวินิจฉัยให้ได้ในระยะแรกเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ช่วยให้ผู้ป่วยมีผลการรักษาดีขึ้น การรักษามุ่งเน้นไปที่การรักษาประคับประคอง (supportive treatment) กรณีที่ผู้ป่วยมีภาวะสมองบวมการให้อาจช่วยลดภาวะสมองบวมได้
ผู้ที่บรรยายภาวะนี้ไว้เป็นครั้งแรกคือ โดยได้บรรยายภาวะนี้ไว้เมื่อ ค.ศ. 1963 ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยเด็ก ปัจจุบันมีผู้ป่วยกลุ่มอาการเรย์ประมาณ 1 คนต่อเด็ก 1 ล้านคนต่อปี จากการค้นพบโรคนี้ทำให้คำแนะนำเดิมที่แนะนำให้ใช้แอสไพรินเป็นยาลดไข้ในเด็กถูกถอนออกไป คงเหลือที่ใช้แอสไพรินเฉพาะในโรคคาวาซากิเท่านั้น
อ้างอิง
- . NINDS. September 25, 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-08-01. สืบค้นเมื่อ 8 August 2016.
- Pugliese, A; Beltramo, T; Torre, D (October 2008). "Reye's and Reye's-like syndromes". Cell biochemistry and function. 26 (7): 741–6. doi:10.1002/cbf.1465. PMID 18711704.
- Schrör, K (2007). "Aspirin and Reye syndrome: a review of the evidence". Paediatric drugs. 9 (3): 195–204. doi:10.2165/00148581-200709030-00008. PMID 17523700.
- McMillan, Julia A.; Feigin, Ralph D.; DeAngelis, Catherine; Jones, M. Douglas (2006). Oski's Pediatrics: Principles & Practice (ภาษาอังกฤษ). Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins. p. 2306. ISBN .
แหล่งข้อมูลอื่น
- NINDS Reye's Syndrome Information Page 2016-08-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
การจำแนกโรค | D |
---|---|
ทรัพยากรภายนอก |
|
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
klumxakarery xngkvs Reye syndrome epnorkhsmxngthidaeninorkhrwderworkhhnung phupwycamixakarxaeciyn bukhlikepliynaeplng sbsn chk id mkphbkbphawaepnphistxtbaetimkhxyphbphawadisan xtrakaresiychiwitxyuthi 20 40 aelainklumthiimesiychiwitnnhnunginsamcamiphawasmxngesiyhayrunaerngidklumxakarery Reye syndrome chuxxunReye s syndromephaphcakklxngculthrrsnaesdngihehneslltbkhxngphupwyedkthiesiychiwitcakklumxakarery eslltbinphaphmiikhmnsasminesllcungphbtidsicangkarxxkesiyng r aɪ ˈ s ɪ n d r oʊ m rye sin drohmsakhawichakumarewchsastrxakarxaeciyn bukhlikepliynaeplng sbsn chk hmdstiphawaaethrksxnsphaphphkeruxrng okhmasaehtuimthrabsaehtupccyesiyngkarichyaaexsiphrininedk kartidechuxiwrskarrksaSupportive careyaphyakrnorkh1 3rd long term disabilitykhwamchukLess than one in a million children a yearkaresiychiwit 30 chance of death saehtukhxngphawaniyngimepnthithrabaenchd swnihyphbwaekidkhunimnanhlngphupwyhaycakkartidechuxiwrs echn ikhhwdihy hruxxisukxiis phupwyorkhni 90 phbwamiprawtiepnphupwyedkthiichyaaexsiphrin pccyesiyngthisakhyxikxyanghnungkhuxorkhinklumkhwamphidpktiaetkaenidkhxngkrabwnkarsrangaelaslay kartrwceluxdxacphbmiradb natalineluxdta phltrwcrayaewlaoprthrxmbinnankwapkti aelamkmitbotrwmdwy karpxngknthaidodykarngdichaexsiphrininphupwyedk hlngcakmikhaaenanaihngdichaexsiphrininphupwyedkphbwacanwnphupwyklumxakareryldlngkwa 90 karwinicchyihidinrayaaerkepnxikpccyhnungthichwyihphupwymiphlkarrksadikhun karrksamungennipthikarrksaprakhbprakhxng supportive treatment krnithiphupwymiphawasmxngbwmkarihxacchwyldphawasmxngbwmid phuthibrryayphawaniiwepnkhrngaerkkhux odyidbrryayphawaniiwemux kh s 1963 phupwyswnihyepnphupwyedk pccubnmiphupwyklumxakarerypraman 1 khntxedk 1 lankhntxpi cakkarkhnphborkhnithaihkhaaenanaedimthiaenanaihichaexsiphrinepnyaldikhinedkthukthxnxxkip khngehluxthiichaexsiphrinechphaainorkhkhawasakiethannxangxing NINDS September 25 2009 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2016 08 01 subkhnemux 8 August 2016 Pugliese A Beltramo T Torre D October 2008 Reye s and Reye s like syndromes Cell biochemistry and function 26 7 741 6 doi 10 1002 cbf 1465 PMID 18711704 Schror K 2007 Aspirin and Reye syndrome a review of the evidence Paediatric drugs 9 3 195 204 doi 10 2165 00148581 200709030 00008 PMID 17523700 McMillan Julia A Feigin Ralph D DeAngelis Catherine Jones M Douglas 2006 Oski s Pediatrics Principles amp Practice phasaxngkvs Philadelphia Lippincott Williams amp Wilkins p 2306 ISBN 9780781738941 aehlngkhxmulxunNINDS Reye s Syndrome Information Page 2016 08 01 thi ewyaebkaemchchinkarcaaenkorkhDICD 10 G93 7ICD 331 81MeSH D012202 11463 74351001thrphyakrphaynxk 001565 emerg 399 klumxakarery 3096 bthkhwamaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk