อนัตตลักขณสูตร (บาลี: Anattalakkhaṇa Sutta) คือพระสูตรที่แสดงลักษณะ คือ เครื่องกำหนดหมายว่าเป็นอนัตตา เป็นพระสูตรที่มีความสำคัญที่สุดพระสูตรหนึ่ง เนื่องจากหลังจากที่พระโคตมพุทธเจ้าได้ทรงแสดงพระสูตรนี้แล้ว ได้บังเกิดพระอรหันต์ในพระบวรพุทธศาสนา 5 องค์ รวมพระพุทธองค์เป็น 6 องค์ ซึ่งพระสูตรนี้ มีใจความเกี่ยวกับ ความไม่ใช่ตัวตนของ รูป คือ ร่างกาย เวทนา คือ ความรู้สึกสุขทุกข์หรือเฉย ๆ สัญญา คือ ความจำได้หมายรู้ สังขาร คือ ความคิดหรือเจตนา วิญญาณ คือ ความรู้อารมณ์ทางตา หู เป็นต้น หรือเรียกอีกประการหนึ่งว่า อายตนะทั้ง 6 อันได้แก่สัมผัสทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ
ประวัติ
อนัตตลักขณสูตร เป็นพระสูตรที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดง ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี หรือในเขตเมืองสารนาถ ประเทศอินเดียในปัจจุบันเมื่อพระชนมายุได้ 35 พรรษา
พระสูตรนี้ โดยทรงแสดงต่อปัญจวัคคีย์ ในวันแรม 5 ค่ำ เดือน 8 หลังจากที่ พระพุทธองค์ได้แสดงปฐมเทศนาคือธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 จนพระอัญญาโกณฑัญญะบรรลุโสดาบัน และในวันต่อ ๆ มา คือในวันแรม 1 ค่ำ 2 ค่ำ 3 ค่ำ และ 4 ค่ำเดือน 8 ทรงแสดง “ปกิณณกเทศนา” ยังผลให้พระวัปปะ พระภัททิยะ พระมหานามะ และพระอัสสชิ บรรลุโสดาบันตามลำดับ และได้รับเป็นเอหิภิกขุอุปสัมปทาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
ในระหว่างที่ทรงแสดงปกิณณกเทศนา เพื่ออบรมพระวัปปะ พระภัททิยะ พระมหานามะ และพระอัสสชิอยู่นั้น ภิกษุสามรูปบิณฑบาตเพื่อยังชีพ ภิกษุที่เหลือกับทั้งพระผู้มีพระภาคเจ้าเสวยพระกระยาหารที่ท่านทั้งสามนำมาถวาย สิ่งใดที่บิณฑบาตมา ทั้ง 6 รูปก็เลี้ยงชีพด้วยบิณฑบาตนั้น
ครั้นเมื่อถึงวันแรม 5 ค่ำ เดือน 8 หลังจากสดับพระธรรมเทศนาอนัตตลักขณสูตรพระภิกษุปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 ได้บรรลุพระนิพพานเป็นพระอรหันต์พร้อมกันทั้ง 5 รูป นับเป็นพระอรหันต์กลุ่มแรกในพระบวรพุทธศาสนา ดังปรากฏในเนื้อความของพระสูตรดังที่พระธรรมสังคาหกาจารย์ หรือ พระอาจารย์ผู้ทำสังคายนาร้อยกรองตั้งเป็นพระบาลีไว้ ได้กล่าวไว้ในตอนท้ายพระสูตรไว้ ดังนี้
" อิทมโวจ ภควา. อตฺตมนา ปญฺจวคฺคิยา ภิกฺขู ภควโต ภาสิตํ อภินนฺทุ. อิมสฺมึ จ ปน เวยฺยากรณสฺมึ ภญฺญมาเน ปญฺจวคฺคิยานํ ภิกฺขูนํ อนุปาทาย อาสเวหิ จิตฺตานิ วิมุจฺจึสุ. เตน โข ปน สมเยน ฉ โลเก อรหนฺโต โหนฺติ."
ความว่า
"พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระสูตรนี้แล้ว พระปัญจวัคคีย์มีใจยินดี เพลิดเพลินภาษิตของพระผู้มีพระภาค. ก็แลเมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสไวยากรณภาษิตนี้อยู่ จิตของพระปัญจวัคคีย์พ้นแล้วจากอาสวะทั้งหลาย เพราะไม่ถือมั่น ครั้งนั้น มีพระอรหันต์เกิดขึ้นในโลก 6 องค์"
เนื้อหา
พระสูตรนี้มีใจความโดยย่อดังที่สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก (เจริญ สุวฑฺฒโน) ได้ทรงมีพระนิพนธ์ไว้ดังต่อไปนี้
ตอนที่ 1 พระบรมศาสดาได้ทรงแสดง รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ว่าเป็นอนัตตา มิใช่อัตตาตัวตน ถ้าทั้งห้านี้ พึงเป็นอัตตาตัวตน ทั้งห้านี้ก็ถึงไม่เป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลก็จะพึงได้ในส่วนทั้งห้านี้ว่า ขอให้เป็นอย่างนี้เถิด อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย แต่เพราะเหตุว่าทั้งห้านี้มิใช่อัตตาตัวตน ฉะนั้น ทั้งห้านี้จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลก็ย่อมไม่ได้ส่วนทั้งห้านี้ว่า ขอให้เป็นอย่างนี้เถิด อย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย
ตอนที่ 2 พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสสอบความรู้ความเห็นของท่านทั้งห้านั้น ตรัสถามว่า รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ทั้งห้านี้เที่ยงหรือไม่เที่ยง ท่านทั้งห้า ทูลตอบว่า ไม่เที่ยง ตรัสถามอีกว่า สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุข ท่านทั้งห้ากราบทูลว่าเป็นทุกข์ ก็ตรัสถามต่อไปว่า สิ่งใดไม่เที่ยงเป็นทุกข์มีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา ควรหรือจะเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นเป็นเรา นั่นเป็นของเรา
ตอนที่ 3 พระพุทธเจ้าได้ตรัสรุปลงว่า รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ทั้งห้านี้ที่เป็นส่วนอดีตก็ดี เป็นส่วนอนาคตก็ดี เป็นส่วนปัจจุบันก็ดี เป็นส่วนภายในก็ดี เป็นส่วนภายนอกก็ดี เป็นส่วนหยาบก็ดี เป็นส่วนละเอียดก็ดี เป็นส่วนเลวก็ดี เป็นส่วนประณีตก็ดี อยู่ในที่ไกลก็ดี อยู่ในที่ใกล้ก็ดี ทั้งหมดก็สักแต่ว่าเป็นรูป เป็นเวทนา เป็นสัญญา เป็นสังขาร เป็นวิญญาณ ควรเป็นด้วยปัญญาชอบตามที่เป็นแล้วว่า นี่ไม่ใช่ของเรา เราไม่ใช่นี่ นี่ไม่ใช่ตัวตนของเรา
ตอนที่ 4 พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงผลทีเกิดแก่ผู้ฟังและเกิดความรู้เห็นชอบดั่งกล่าวมานั้นต่อไปว่า อริยสาวก คือ ผู้ฟังผู้ประเสริฐซึ่งได้สดับแล้วอย่างนี้ ย่อมเกิดนิพพิทา คือ ความหน่ายในรูป หน่ายในเวทนา หน่ายในสัญญา หน่ายในสังขาร หน่ายในวิญญาณ เมื่อหน่ายก็ย่อมสิ้นราคะ คือ สิ้นความติด ความยินดี ความกำหนัด เมื้อสิ้นราคะ ก็ย่อมวิมุตติ คือ หลุดพ้น เมื่อวิมุตติ ก็ย่อมมีญาณ คือความรู้ว่าวิมุตติ หลุดพ้นแล้ว และย่อมรู้ว่า ชาติ คือ ความเกิดสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำสำเร็จแล้ว ไม่มีกิจอื่นที่จะพึงทำเพื่อความเป็นเช่นนี้อีกต่อไป
ความสำคัญ
จุดมุ่งหมายของพระสูตรนี้ก็เพื่อชี้ให้เห็นถึงความเป็นอนัตตาของสรรพสิ่ง ให้เล็งเห็นว่า รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ หรือขันธ์ 5 นั้น ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรไปเป็นธรรมดา ไม่ควรที่จะเห็นโดยสำคัญด้วยตัณหา มานะ ทิฏฐิว่า นั่นเป็นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตนของเรา
ก่อนที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุธเจ้าจะทรงตรัสรู้ทรงตรัสรู้พระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณนั้น ชาวโลกมีทิฏฐิสุดโต่งอยู่ 2 ประการ กล่าวคือ ฝ่ายสัสสตทิฏฐิ ที่เห็นว่าในปัจจุบันชาตินี้ก็มีอัตตา คือ ตัวตน เมื่อสิ้นชีวิตไปแล้วอัตตาคือตัวตนก็ยังไม่สิ้น ยังจะมีสืบภพชาติต่อไป มีชาติหน้าเรื่อยไปไม่มีขาดสูญ และฝ่ายอุจเฉททิฏฐิ ความเห็นว่า มีอัตตาตัวตนอยู่แต่ในปัจจุบันชาตินี้เท่านั้น เมื่อสิ้นชีวิตไปแล้วอัตตาตัวตนก็สิ้นไป ไม่มีอะไรเหลืออยู่ที่จะให้ไปเกิด ดั่งที่เห็นว่า ตายสูญ
แต่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประกาศว่า ความเห็นทั้ง 2 ฝ่ายล้วนเป็น มิจฉาทิฏฐิ คือความเห็นผิด และทรงชี้ทางที่เห็นถูกไว้ว่า ตราบใดที่ยังไม่สิ้นความยึดมั่นถือมั่นในขันธ์ 5 แล้ว อาทิ ยังยึดมันว่า รูปเป็นตัวตน หรืออัตตา เวทนาเป็นอัตตา สัญญาเป็นอัตตา สังขารเป็นอัตตา และวิญญาณเป็นอัตตา ก็ยังจะมีการเกิดดับไม่รู้จักจบสิ้นในสังสารวัฏ การยึดมั่นในขันธ์ 5 นี้ เรียกว่า "ปัญจุปาทานขันธ์"
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก (เจริญ สุวฑฺฒโน) ทรงแสดงทัศนะไว้ว่า "ในสมัยพุทธกาลหรือสมัยไหน ๆ ก็คงเป็นเช่นนี้ ในปัจจุบันก็เป็นเช่นนี้ และพระปัญจวัคคีย์นั้นก็ย่อมมีความยึดถืออยู่เช่นนี้อย่างมั่นคง เพราะฉะนั้น เมื่อฟังธรรมจักร ท่านพระอัญญาโกณฑัญญะจึงได้ดวงตาเห็นธรรมเพียงรูปเดียว เมื่อพระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงธรรมอบรมอีก จึงได้ดวงตาเห็นธรรมจนครบทั้ง 5 รูป แต่ก็ได้เพียงดวงตาเห็นธรรม เท่ากับว่าเห็นทุกขสัจ ความจริงคือทุกข์ขึ้นเท่านั้น พระพุทธเจ้าจึงได้ทรงแสดงพระสูตรที่ 2 ชี้ลักษณะของอาการทั้ง 5 เหล่านี้ว่าเป็น อนัตตา คือ ไม่ใช่ตัวตนโดยชัดเจน"
ความเชื่อ
อนัตตลักขณสูตร เป็นพระสูตรที่ยังให้เกิดพระอรหันต์ในคราวเดียวกันถึง 5 องค์ อีกทั้งยังเป็นพระอรหันต์กลุ่มแรก นับเป็นการลงหลักปักฐานพระธรรมวินัยของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าครั้งสำคัญ เชื่อถือกันว่า พระสูตรนี้เป็นหนึ่งในพระสูตรสำคัญรวบรวมเอาหัวใจของพระบวรพุทธศาสนาไว้ อย่างครอบคลุม กว้างขวาง จึงขนานนามกันว่าเป็น "ราชาธรรม" เช่นเดียวกับ ธัมมจักกัปปวัตนสูตรและอาทิตตปริยายสูตร ซึ่งสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ และยังให้บังเกิดการประกาศพระศาสนาครั้งใหญ่ไปทั่วสากลจักรวาล และบังเกิดพระอรหันต์เป็นจำนวนมาก โดย แห่งวัดป่าเขาน้อย จังหวัดพิจิตร พระผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ที่กล่าวว่าธัมมจักกัปปวัตตนสูตร อนัตตลักขณสูตร และอาทิตตปริยายสูตร ทั้ง 3 สูตรนี้เรียกว่า ราชาธรรม เป็นธรรมอันยิ่งใหญ่ของศาสนาพุทธ ธรรมทั้ง 84,000 พระธรรมขันธ์มารวมอยู่ที่นี่ทั้งหมด
ลำดับในพระไตรปิฏก
อนัตตลักขณสูตร จัดอยู่ในหมวดมหาวรรค แห่งพระวินัยปิฎก และเนื้อความในลักษณะเดียวกันยังปรากฏในปัญจวัคคิยสูตร แห่งสังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค ในพระสุตตันตปิฎก ส่วนในพระไตรปิฎกภาษาจีน จัดอยู่ในหมวดอาคม คือสัมยุกตะ อาคม พระสูตรที่ 34 มีรหัสว่า SA 34
อ้างอิง
- สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก. หน้า 21
- สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก หน้า 21
- พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (สิริจนฺโท จันทร์).
- "เรื่องพระปัญจวัคคีย์ (พระไตรปิฎกฉบับหลวง เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ภาค ๑)". 84000.org. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-23.
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเสวยพระกระยาหารที่ท่านทั้งสามนำมาถวาย ได้ทรงประทาน โอวาทสั่งสอนภิกษุที่เหลือจากนั้นด้วยธรรมีกถา. ภิกษุเที่ยวบิณฑบาตนำบิณฑบาตใดมา ทั้ง ๖ รูปก็เลี้ยงชีพด้วยบิณฑบาตนั้น.
- สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก หน้า 21
- พระไตรปิฎก เล่มที่ 4
- สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก หน้า 21
- สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก หน้า 21
- สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก หน้า 21
- สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก หน้า 22
- พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (สิริจนฺโท จันทร์).
- สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก หน้า 22
- สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก หน้า 24
- สายทิพย์ (2544).
บรรณานุกรม
- สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก. (2551). "45 พรรษาของพระพุทธเจ้า." กรุงเทพมหาคร : มหามกุฏราชวิทยาลัย.
- Mahasi Sayadaw. (1963). Great Discourse on Not Self (Anattalakkhana Sutta). Buddhadhamma Foundation.
- พระไตรปิฎก เล่มที่ 4 พระวินัยปิฎก เล่มที่ 4 มหาวรรค ภาค 1. "อนัตตลักขณสูตร."
- พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท). "อนัตตลักขณสูตร." ใน "ประมวลธรรมบรรยาย ชุดที่ 2 ของ พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (สิริจนฺโท จันทร์) อดีตเจ้าอาวาสวัดบรมนิวาส."
- สายทิพย์ (2544). "ประสบการณ์การออกธุดงควัตรในป่าลึก ของหลวงปู่จันทา ถาวโร" บทความในนิตยสาร หญิงไทย ฉบับที่ 625 ปีที่ 27 ปักษ์หลัง เดือนตุลาคม พ.ศ. 2544
ต้นฉบับ
- อนัตตลักขณสูตร แปลไทย http://www.84000.org/tipitaka/pitaka1/v.php?B=04&A=479&Z=575
- อนัตตลักขณสูตร บาลี/อังกฤษ http://www.buddha-vacana.org/sutta/samyutta/khandha/sn22-059.html
- อนัตตลักขณสูตร จีน/อังกฤษ http://www.dhammatalks.net/Chinese/Thanissaro_Bhikkhu_Anatta_Lakkhana.htm
ธรรมเทศนาและบทความ
- สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก http://www.phuttha.com/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9E%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2/%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89/%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%94%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%95%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B8%93%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%A3 2013-12-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ http://larndham.org/index.php?/topic/43629-%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%95%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%82%E0%B8%93%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%95%E0%B8%A3/ 2013-10-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- มหาสีสยาดอ (ภาษาอังกฤษ) http://www.budsas.org/ebud/mahasi-anat/anat00.htm
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xnttlkkhnsutr bali Anattalakkhaṇa Sutta khuxphrasutrthiaesdnglksna khux ekhruxngkahndhmaywaepnxntta epnphrasutrthimikhwamsakhythisudphrasutrhnung enuxngcakhlngcakthiphraokhtmphuththecaidthrngaesdngphrasutrniaelw idbngekidphraxrhntinphrabwrphuththsasna 5 xngkh rwmphraphuththxngkhepn 6 xngkh sungphrasutrni miickhwamekiywkb khwamimichtwtnkhxng rup khux rangkay ewthna khux khwamrusuksukhthukkhhruxechy syya khux khwamcaidhmayru sngkhar khux khwamkhidhruxectna wiyyan khux khwamruxarmnthangta hu epntn hruxeriykxikprakarhnungwa xaytnathng 6 xnidaeksmphsthang ta hu cmuk lin kay aelaicprawtixnttlkkhnsutr epnphrasutrthismedcphrasmmasmphuththecathrngaesdng n paxisiptnmvkhthaywn emuxngpharansi hruxinekhtemuxngsarnath praethsxinediyinpccubnemuxphrachnmayuid 35 phrrsa thmemkkhsthup briewnpaxisiptnmvkhthaywn emuxngsarnath khuxsngewchniysthanaehngkarprakasthrrmyukhaerkkhxngxngkhsmedcphrasmmasmphuththeca rwmthungsthanthiphraprakasxnttlkkhnsutr phrasutrni odythrngaesdngtxpycwkhkhiy inwnaerm 5 kha eduxn 8 hlngcakthi phraphuththxngkhidaesdngpthmethsnakhuxthmmckkppwttnsutr inwnkhun 15 kha eduxn 8 cnphraxyyaoknthyyabrrluosdabn aelainwntx ma khuxinwnaerm 1 kha 2 kha 3 kha aela 4 khaeduxn 8 thrngaesdng pkinnkethsna yngphlihphrawppa phraphththiya phramhanama aelaphraxsschi brrluosdabntamladb aelaidrbepnexhiphikkhuxupsmpthaepnthieriybrxyaelw inrahwangthithrngaesdngpkinnkethsna ephuxxbrmphrawppa phraphththiya phramhanama aelaphraxsschixyunn phiksusamrupbinthbatephuxyngchiph phiksuthiehluxkbthngphraphumiphraphakhecaeswyphrakrayaharthithanthngsamnamathway singidthibinthbatma thng 6 rupkeliyngchiphdwybinthbatnn khrnemuxthungwnaerm 5 kha eduxn 8 hlngcaksdbphrathrrmethsnaxnttlkkhnsutrphraphiksupycwkhkhiythng 5 idbrrluphraniphphanepnphraxrhntphrxmknthng 5 rup nbepnphraxrhntklumaerkinphrabwrphuththsasna dngpraktinenuxkhwamkhxngphrasutrdngthiphrathrrmsngkhahkacary hrux phraxacaryphuthasngkhaynarxykrxngtngepnphrabaliiw idklawiwintxnthayphrasutriw dngni xithmowc phkhwa xt tmna py cwkh khiya phik khu phkhwot phasit xphinn thu xims mu c pn ewy yakrns mu phy ymaen py cwkh khiyan phik khun xnupathay xasewhi cit tani wimuc cusu etn okh pn smeyn ch olek xrhn ot ohn ti khwamwa phraphumiphraphakhidtrsphrasutrniaelw phrapycwkhkhiymiicyindi ephlidephlinphasitkhxngphraphumiphraphakh kaelemuxphraphumiphraphakhtrsiwyakrnphasitnixyu citkhxngphrapycwkhkhiyphnaelwcakxaswathnghlay ephraaimthuxmn khrngnn miphraxrhntekidkhuninolk 6 xngkh enuxhaphrasutrnimiickhwamodyyxdngthismedcphrayansngwr smedcphrasngkhrach sklmhasngkhprinayk ecriy suwth thon idthrngmiphraniphnthiwdngtxipni txnthi 1 phrabrmsasdaidthrngaesdng rup ewthna syya sngkhar wiyyan waepnxntta miichxttatwtn thathnghani phungepnxttatwtn thnghanikthungimepnipephuxxaphath aelabukhkhlkcaphungidinswnthnghaniwa khxihepnxyangniethid xyaidepnxyangnnely aetephraaehtuwathnghanimiichxttatwtn chann thnghanicungepnipephuxxaphath aelabukhkhlkyxmimidswnthnghaniwa khxihepnxyangniethid xyaidepnxyangnnely txnthi 2 phraphumiphraphakhecatrssxbkhwamrukhwamehnkhxngthanthnghann trsthamwa rup ewthna syya sngkhar wiyyan thnghaniethiynghruximethiyng thanthngha thultxbwa imethiyng trsthamxikwa singidimethiyng singnnepnthukkhhruxepnsukh thanthnghakrabthulwaepnthukkh ktrsthamtxipwa singidimethiyngepnthukkhmikhwamaeprprwnipepnthrrmda khwrhruxcaehnsingnnwa nnepnera nnepnkhxngera txnthi 3 phraphuththecaidtrsruplngwa rup ewthna syya sngkhar wiyyan thnghanithiepnswnxditkdi epnswnxnakhtkdi epnswnpccubnkdi epnswnphayinkdi epnswnphaynxkkdi epnswnhyabkdi epnswnlaexiydkdi epnswnelwkdi epnswnpranitkdi xyuinthiiklkdi xyuinthiiklkdi thnghmdkskaetwaepnrup epnewthna epnsyya epnsngkhar epnwiyyan khwrepndwypyyachxbtamthiepnaelwwa niimichkhxngera eraimichni niimichtwtnkhxngera txnthi 4 phraphuththecaidthrngaesdngphlthiekidaekphufngaelaekidkhwamruehnchxbdngklawmanntxipwa xriysawk khux phufngphupraesrithsungidsdbaelwxyangni yxmekidniphphitha khux khwamhnayinrup hnayinewthna hnayinsyya hnayinsngkhar hnayinwiyyan emuxhnaykyxmsinrakha khux sinkhwamtid khwamyindi khwamkahnd emuxsinrakha kyxmwimutti khux hludphn emuxwimutti kyxmmiyan khuxkhwamruwawimutti hludphnaelw aelayxmruwa chati khux khwamekidsinaelw phrhmcrryxyucbaelw kicthikhwrthaidthasaercaelw immikicxunthicaphungthaephuxkhwamepnechnnixiktxipkhwamsakhycudmunghmaykhxngphrasutrnikephuxchiihehnthungkhwamepnxnttakhxngsrrphsing ihelngehnwa rup ewthna syya sngkhar aelawiyyan hruxkhnth 5 nn imethiyng epnthukkh mikhwamaepripepnthrrmda imkhwrthicaehnodysakhydwytnha mana thitthiwa nnepnkhxngera nnepnera nnepntwtnkhxngera kxnthismedcphrasmmasmphuthecacathrngtrsruthrngtrsruphraxnutrsmmasmophthiyannn chawolkmithitthisudotngxyu 2 prakar klawkhux fayssstthitthi thiehnwainpccubnchatinikmixtta khux twtn emuxsinchiwitipaelwxttakhuxtwtnkyngimsin yngcamisubphphchatitxip michatihnaeruxyipimmikhadsuy aelafayxucechththitthi khwamehnwa mixttatwtnxyuaetinpccubnchatiniethann emuxsinchiwitipaelwxttatwtnksinip immixairehluxxyuthicaihipekid dngthiehnwa taysuy aetsmedcphrasmmasmphuththecathrngprakaswa khwamehnthng 2 faylwnepn micchathitthi khuxkhwamehnphid aelathrngchithangthiehnthukiwwa trabidthiyngimsinkhwamyudmnthuxmninkhnth 5 aelw xathi yngyudmnwa rupepntwtn hruxxtta ewthnaepnxtta syyaepnxtta sngkharepnxtta aelawiyyanepnxtta kyngcamikarekiddbimruckcbsininsngsarwt karyudmninkhnth 5 ni eriykwa pycupathankhnth smedcphrayansngwr smedcphrasngkhrach sklmhasngkhprinayk ecriy suwth thon thrngaesdngthsnaiwwa insmyphuththkalhruxsmyihn kkhngepnechnni inpccubnkepnechnni aelaphrapycwkhkhiynnkyxmmikhwamyudthuxxyuechnnixyangmnkhng ephraachann emuxfngthrrmckr thanphraxyyaoknthyyacungiddwngtaehnthrrmephiyngrupediyw emuxphraphuththecaidthrngaesdngthrrmxbrmxik cungiddwngtaehnthrrmcnkhrbthng 5 rup aetkidephiyngdwngtaehnthrrm ethakbwaehnthukkhsc khwamcringkhuxthukkhkhunethann phraphuththecacungidthrngaesdngphrasutrthi 2 chilksnakhxngxakarthng 5 ehlaniwaepn xntta khux imichtwtnodychdecn khwamechuxxnttlkkhnsutr epnphrasutrthiyngihekidphraxrhntinkhrawediywknthung 5 xngkh xikthngyngepnphraxrhntklumaerk nbepnkarlnghlkpkthanphrathrrmwinykhxngsmedcphrasmmasmphuththecakhrngsakhy echuxthuxknwa phrasutrniepnhnunginphrasutrsakhyrwbrwmexahwickhxngphrabwrphuththsasnaiw xyangkhrxbkhlum kwangkhwang cungkhnannamknwaepn rachathrrm echnediywkb thmmckkppwtnsutraelaxathittpriyaysutr sungsmedcphrasmmasmphuththecathrngaesdngiw aelayngihbngekidkarprakasphrasasnakhrngihyipthwsaklckrwal aelabngekidphraxrhntepncanwnmak ody aehngwdpaekhanxy cnghwdphicitr phraphuptibtidiptibtichxb thiklawwathmmckkppwttnsutr xnttlkkhnsutr aelaxathittpriyaysutr thng 3 sutrnieriykwa rachathrrm epnthrrmxnyingihykhxngsasnaphuthth thrrmthng 84 000 phrathrrmkhnthmarwmxyuthinithnghmdladbinphraitrpitkxnttlkkhnsutr cdxyuinhmwdmhawrrkh aehngphrawinypidk aelaenuxkhwaminlksnaediywknyngpraktinpycwkhkhiysutr aehngsngyuttnikay khnthwarwrrkh inphrasuttntpidk swninphraitrpidkphasacin cdxyuinhmwdxakhm khuxsmyukta xakhm phrasutrthi 34 mirhswa SA 34xangxingsmedcphrayansngwr smedcphrasngkhrach sklmhasngkhprinayk hna 21 smedcphrayansngwr smedcphrasngkhrach sklmhasngkhprinayk hna 21 phraxubalikhunupmacary siricn oth cnthr eruxngphrapycwkhkhiy phraitrpidkchbbhlwng elmthi 4 phrawinypidk elmthi 4 mhawrrkh phakh 1 84000 org cakaehlngedimemux 2016 03 23 khrngnn phraphumiphraphakheswyphrakrayaharthithanthngsamnamathway idthrngprathan oxwathsngsxnphiksuthiehluxcaknndwythrrmiktha phiksuethiywbinthbatnabinthbatidma thng 6 rupkeliyngchiphdwybinthbatnn smedcphrayansngwr smedcphrasngkhrach sklmhasngkhprinayk hna 21 phraitrpidk elmthi 4 smedcphrayansngwr smedcphrasngkhrach sklmhasngkhprinayk hna 21 smedcphrayansngwr smedcphrasngkhrach sklmhasngkhprinayk hna 21 smedcphrayansngwr smedcphrasngkhrach sklmhasngkhprinayk hna 21 smedcphrayansngwr smedcphrasngkhrach sklmhasngkhprinayk hna 22 phraxubalikhunupmacary siricn oth cnthr smedcphrayansngwr smedcphrasngkhrach sklmhasngkhprinayk hna 22 smedcphrayansngwr smedcphrasngkhrach sklmhasngkhprinayk hna 24 saythiphy 2544 brrnanukrmsmedcphrayansngwr smedcphrasngkhrach sklmhasngkhprinayk 2551 45 phrrsakhxngphraphuththeca krungethphmhakhr mhamkutrachwithyaly Mahasi Sayadaw 1963 Great Discourse on Not Self Anattalakkhana Sutta Buddhadhamma Foundation phraitrpidk elmthi 4 phrawinypidk elmthi 4 mhawrrkh phakh 1 xnttlkkhnsutr phraxubalikhunupmacary cnthr siricn oth xnttlkkhnsutr in pramwlthrrmbrryay chudthi 2 khxng phraxubalikhunupmacary siricn oth cnthr xditecaxawaswdbrmniwas saythiphy 2544 prasbkarnkarxxkthudngkhwtrinpaluk khxnghlwngpucntha thawor bthkhwaminnitysar hyingithy chbbthi 625 pithi 27 pkshlng eduxntulakhm ph s 2544tnchbbxnttlkkhnsutr aeplithy http www 84000 org tipitaka pitaka1 v php B 04 amp A 479 amp Z 575 xnttlkkhnsutr bali xngkvs http www buddha vacana org sutta samyutta khandha sn22 059 html xnttlkkhnsutr cin xngkvs http www dhammatalks net Chinese Thanissaro Bhikkhu Anatta Lakkhana htmthrrmethsnaaelabthkhwamsmedcphrayansngwr smedcphrasngkhrach sklmhasngkhprinayk http www phuttha com E0 B8 9E E0 B8 A3 E0 B8 B0 E0 B8 9E E0 B8 B8 E0 B8 97 E0 B8 98 E0 B9 80 E0 B8 88 E0 B9 89 E0 B8 B2 E0 B8 95 E0 B8 A3 E0 B8 B1 E0 B8 AA E0 B8 A3 E0 B8 B9 E0 B9 89 E0 B8 97 E0 B8 A3 E0 B8 87 E0 B9 81 E0 B8 AA E0 B8 94 E0 B8 87 E0 B8 AD E0 B8 99 E0 B8 B1 E0 B8 95 E0 B8 95 E0 B8 A5 E0 B8 B1 E0 B8 81 E0 B8 82 E0 B8 93 E0 B8 AA E0 B8 B9 E0 B8 95 E0 B8 A3 2013 12 29 thi ewyaebkaemchchin phraxubalikhunupmacary http larndham org index php topic 43629 E0 B8 AD E0 B8 99 E0 B8 B1 E0 B8 95 E0 B8 95 E0 B8 A5 E0 B8 B1 E0 B8 81 E0 B8 82 E0 B8 93 E0 B8 AA E0 B8 B9 E0 B8 95 E0 B8 A3 2013 10 22 thi ewyaebkaemchchin mhasisyadx phasaxngkvs http www budsas org ebud mahasi anat anat00 htm