สาธารณรัฐออสเตรียที่หนึ่ง หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐออสเตรีย เป็นสาธารณรัฐที่ก่อตั้งขึ้นภายหลังของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในช่วงแรกสาธารณรัฐมีความพยายามที่จะรวมสหภาพกับเยอรมนี (สาธารณรัฐเยอรมันออสเตรีย) แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกและมหาอำนาจในเวลานั้นอย่างฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักรไม่เห็นด้วย สาธารณรัฐดำรงอยู่จนถึง ค.ศ. 1934 และแทนที่โดยสหพันธรัฐออสเตรีย ในท้ายที่สุดออสเตรียก็ผนวกกับนาซีเยอรมนีได้สำเร็จใน ค.ศ. 1938
สาธารณรัฐออสเตรีย Republik Österreich (เยอรมัน) | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1919–1934 | |||||||||
เพลงชาติ: "เยอรมัน-ออสเตรีย คือประเทศที่สวยงาม" (ค.ศ. 1920–1929) ("เป็นความสุขที่ไม่มีสิ้นสุด") (ค.ศ. 1929–1934) | |||||||||
สาธารณรัฐออสเตรียที่ 1 ใน ค.ศ. 1930 | |||||||||
เมืองหลวง | เวียนนา | ||||||||
ภาษาทั่วไป | เยอรมัน () | ||||||||
ศาสนา | คริสต์ (โรมันคาทอลิก, อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์, โปรเตสแตนต์), | ||||||||
การปกครอง | สหพันธ์สาธารณรัฐระบบรัฐสภา | ||||||||
ประธานาธิบดี | |||||||||
• 1919–1920 | |||||||||
• 1920–1928 | |||||||||
• 1928–1934 | |||||||||
นายกรัฐมนตรี | |||||||||
• 1919–1920 (คนแรก) | คาร์ล เร็นเนอร์ | ||||||||
• 1932–1934 (คนสุดท้าย) | เอ็งเงิลแบร์ท ด็อลฟูส | ||||||||
สภานิติบัญญัติ | รัฐสภา | ||||||||
• สภาสูง | |||||||||
• สภาล่าง | สภาแห่งชาติ | ||||||||
ยุคประวัติศาสตร์ | ระหว่างสงคราม | ||||||||
10 กันยายน 1919 | |||||||||
• | 15 กรกฎาคม 1927 | ||||||||
12 กุมภาพันธ์ 1934 | |||||||||
• | 1 พฤษภาคม 1934 | ||||||||
สกุลเงิน | (1919–1924) (1924–1938) | ||||||||
| |||||||||
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ | ออสเตรีย |
ฝ่ายสังคมนิยมได้ครอบงำรัฐบาลสาธารณรัฐจนกระทั่งเดือนตุลาคม ค.ศ. 1920 เมื่ออำนาจถูกเปลี่ยนผ่านโดยพรรคสังคมคริสเตียน ในช่วงสองปีแรกของการครอบงำทางการเมืองโดยฝ่ายสังคมนิยม มีการประกาศใช้ฉบับใหม่และมาตรการทางสังคมต่าง ๆ ได้รับการอนุมัติ หลังจากนั้นพรรคสังคมคริสเตียนได้สร้างพันธมิตรของชนชั้นกระฎุมพีขึ้น เพื่อควบคุมรัฐบาลและกำจัดอิทธิพลของสังคมนิยม ด้วยพันธมิตรที่เข้มแข็งนี้ ทำให้พรรคสังคมคริสเตียนสามารถจัดตั้งคณะรัฐมนตรีได้ตลอดช่วงทศวรรษ 1920 อย่างไรก็ตาม ความแข็งแกร่งในรัฐสภาของฝ่ายสังคมนิยมและความต้องการเสียงข้างมากในการเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญและกฎหมายสำคัญอื่น ๆ เป็นสิ่งที่ทำให้ความพยายามในการเปลี่ยนแปลงทางกฎหมายของพันธมิตรสังคมคริสเตียนไม่ประสบผลสำเร็จ ใน ค.ศ. 1922 ค่าเงินเริ่มมีเสถียรภาพและเศรษฐกิจของประเทศดีขึ้นบางส่วน
ฝ่ายที่ได้รับชัยชนะในสงครามโลกได้กำหนดให้ออสเตรียเป็นเอกราช แม้ว่าผู้คนส่วนใหญ่ในประเทศจะปรารถนารวมสหภาพกับสาธารณรัฐไวมาร์ใหม่ก็ตาม อย่างไรก็ตาม ความปรารถนาในการรวมชาติยังคงมีอยู่และปรากฏขึ้นเป็นระยะ ๆ ดังเช่นใน ค.ศ. 1931 เมื่อต้องเผชิญกับวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ จึงมีการเสนอรวม ซึ่งสุดท้ายก็ไม่สำเร็จเพราะมหาอำนาจตะวันตกคัดค้าน การถือกำเนิดขึ้นของรัฐบาลชาติสังคมนิยมในเยอรมนีเมื่อ ค.ศ. 1933 ส่งผลให้การสนับสนุนของประชาชนต่อสหภาพแรงงานลดลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในหมู่นักสังคมนิยม การลอบสังหารนายกรัฐมนตรีออสเตรียโดยพวกนาซีออสเตรียที่ได้รับการสนับสนุนจากเยอรมนีระหว่างรัฐประหารล้มเหลวใน ค.ศ. 1934 ได้ปลุกเร้าการปฏิเสธพรรคสังคมคริสเตียนและสนับสนุนการรักษาเอกราช หลังจากสองปีของการเป็นปรปักษ์ ในที่สุดรัฐบาลจึงได้บรรลุซึ่งข้อตกลง โดยยินยอมให้พวกชาติสังคมนิยมหรือนาซีมีส่วนร่วมในการบริหารประ แต่ความขัดแย้งก็ไม่ได้ยุติลง
รัฐธรรมนูญออสเตรียมีผลบังคับใช้ใน ค.ศ. 1920 และแก้ไขเพิ่มเติม ใน ค.ศ. 1929 เมื่อฟาสซิสต์ออสเตรียขึ้นสู่อำนาจ จึงมีการประกาศรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ใน ค.ศ. 1934 โดยเปลี่ยนชื่ออย่างเป็นทางการของประเทศจากสาธารณรัฐออสเตรียเป็นสหพันธรัฐ ด้วยเหตุนี้ นักประวัติศาสตร์บางคนจึงถือว่าสาธารณรัฐที่หนึ่งยุติลงใน ค.ศ. 1934
ตั้งแต่ ค.ศ. 1920 รัฐบาลออสเตรียถูกครอบงำโดย ซึ่งมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับคริสตจักรโรมันคาทอลิก นายกรัฐมนตรีคนแรกของพรรค พยายามสร้างพันธมิตรทางการเมืองระหว่างนักอุตสาหกรรมที่ร่ำรวยกับคริสตจักรโรมันคาทอลิก แม้ว่าประเทศจะมีพรรคการเมืองที่มั่นคงครองอำนาจอยู่ แต่การเมืองภายในประเทศนั้นกลับมีความแตกแยกและรุนแรง โดยมีฝ่ายประชาธิปไตยสังคมนิยม (เยอรมัน: Republikanischer Schutzbund) และกองกำลังกึ่งทหารฝ่ายขวาจัด (เยอรมัน: Heimwehr) ที่ขัดแย้งกันอยู่อย่างต่อเนื่อง ฝ่ายอนุรักษนิยมได้ดำเนินการทำให้พรรคประชาธิปไตยสังคมนิยมพ่ายแพ้ในรัฐสภาตลอดทศวรรษ แม้ว่าคะแนนเสียงจะเพิ่มขึ้นในการเลือกตั้งครั้งต่อ ๆ มาก็ตาม มาตรการแบ่งเขตการปกครองออกจากเวียนนาและเสริมอำนาจของเสียงข้างน้อยในรัฐสภาทำให้เกิดการต่อต้านฝ่ายอนุรักษนิยมเสียเอง พรรคประชาธิปไตยสังคมนิยมสามารถควบคุมเมืองหลวงได้ ซึ่งพรรคได้พัฒนานโยบายทางสังคมที่มีประสิทธิภาพ ด้วยการเก็บภาษีที่สูงซึ่งพวกอนุรักษนิยมวิพากษ์วิจารณ์
ในเวลายี่สิบปีของการมีเอกราช ออสเตรียต้องพึ่งพาการเงินจากต่างประเทศอยู่ตลอดเวลา ใน ค.ศ. 1922 เมื่อเผชิญกับภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ประเทศจึงร้องขอเงินกู้จากสันนิบาตชาติ ซึ่งแลกกับการยอมรับเงื่อนไขทางการเมืองบางประการ รวมถึงการรักษาอธิปไตยของชาติที่ต่อต้านการรวมสหภาพของเยอรมนีด้วย เศรษฐกิจของประเทศยังคงอยู่ภายใต้การควบคุมของต่างประเทศกระทั่ง ค.ศ. 1926 แม้ว่าเศรษฐกิจของประเทศจะเติบโตขึ้นมาเล็กน้อยหลังจากนั้น แต่ไม่นานก็หยุดลงพร้อมกับการมาถึงของภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ ซึ่งส่งผลร้ายแรงต่อประเทศอย่างยิ่ง
การก่อตั้ง
ในเดือนกันยายน 1919 รัฐตกค้างแห่งเยอรมัน-ออสเตรียได้รับการลดพรมแดนตามสนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง โดยต้องมอบดินแดนที่มีประชากรชาวเยอรมันอาศัยอยู่เป็นส่วนใหญ่ในซูเดเทินลันท์ให้แก่เชโกสโลวาเกีย ดินแดนให้แก่อิตาลี และดินแดนบางส่วนของจังหวัดอัลไพน์ให้แก่ราชอาณาจักรแห่งชาวเซิร์บ โครแอต และสโลวีน (Kraljevina Srba, Hrvata i Slovenaca (SHS) หรือที่รู้จักกันในชื่อ "ยูโกสลาเวีย") แม้จะมีการคัดค้านจากออสเตรีย แต่สนธิสัญญาฉบับนี้ได้ช่วยยับยั้ง อันชลุส หรือ การรวมสหภาพออสเตรียกับเยอรมนี โดยไม่ได้รับความยินยอมจากสันนิบาตชาติ ฝ่ายสัมพันธมิตรไม่เห็นด้วยที่จะยอมให้เยอรมนีที่พ่ายแพ้ขยายอาณาเขตโดยการผนวกดินแดนที่หลงเหลืออยู่ของออสเตรีย ด้วยเหตุนี้เอง ทำให้ประเทศเยอรมัน-ออสเตรียต้องเปลี่ยนชื่ออย่างเป็นทางการเป็น สาธารณรัฐออสเตรีย
สาธารณรัฐใหม่นี้ได้กีดกั้นการอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนทั้งสองครั้งจากประเทศเพื่อนบ้าน ครั้งแรกคือดินแดนทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของคารินเทีย ซึ่งมีชาวสโลวีนอาศัยอยู่เป็นส่วนใหญ่ ราชอาณาจักรแห่งชาวเซิร์บ โครแอต และสโลวีนได้เข้าขัดขวางอำนาจของออสเตรียเหนือดินแดนนี้โดยผ่านการเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 1920 ซึ่งประชากรส่วนใหญ่ยังคงเลือกที่จะอยู่กับออสเตรียต่อไป ครั้งที่สองคือการอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนบัวร์เกินลันท์ของฮังการี ภายใต้ชื่อ "เวสเทิร์นฮังการี" (ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรฮังการีมาตั้งแต่ปี 907 โดยมีประชากรที่พูดภาษาเยอรมันเป็นส่วนใหญ่ แต่ก็ยังมีประชากรส่วนน้อยที่พูดภาษาโครเอเชียและฮังการีด้วย) ผ่านการลงนามในสนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็งจนดินแดนบัวร์เกินลันท์ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐออสเตรียโดยสมบูรณ์ในปี 1921 อย่างไรก็ตาม ภายหลังจากซึ่งยังคงพิพาทโดยออสเตรีย เมืองหลักของจังหวัด (เยอรมันเออเดินบูร์ก) ยังคงเป็นส่วนหนึ่งของฮังการี
สนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็งได้สร้างความไม่พอใจแก่ประชากรชาวเยอรมันในออสเตรีย โดยได้อ้างถึงการละเมิดหลักการสิบสี่ข้อของประธานาธิบดีสหรัฐ วูดโรว์ วิลสัน วางเอาไว้ระหว่างการเจรจาสันติภาพ โดยเฉพาะสิทธิในการ "กำหนดตนเอง" ของทุกประเทศ ผู้คนส่วนใหญ่รู้สึกว่าการสูญเสียอาณาเขตของจักรวรรดิก่อนสงครามถึง 60% นั้น จะทำให้ออสเตรียไม่สามารถควบคุมดูแลทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองได้อีกต่อไปในฐานะรัฐที่แยกขาดจากกัน โดยปราศจากการรวมตัวกับเยอรมนี ออสเตรียในขณะนี้มีขนาดเล็กมาก กลายเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ซึ่งมีประชากรประมาณ 6.5 ล้านคน กรุงเวียนนาซึ่งมีประชากรเกือบ 2 ล้านคน ถูกทอดทิ้งให้อยู่ในเมืองหลวงอย่างอดอยาก ออสเตรียในสมัยนี้มีพื้นที่ที่เหมาะแก่การเพาะปลูกเพียง 17.8 เปอร์เซนต์เท่านั้น เนื่องจากพื้นที่ทำกินส่วนใหญ่ในอดีตของจักรวรรดิออสเตรีย กลายเป็นส่วนหนึ่งของเชโกสโลวาเกียและยูโกสลาเวีย
รัฐบาลและสถานการณ์ทางการเมืองในปี 1920–1934
รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ได้สร้างสภานิติบัญญัติแบบสองสภาขึ้น โดยมีสภาสูงหรือสภาสหพันธรัฐ (Bundesrat) ซึ่งประกอบด้วยเหล่าผู้แทนจากรัฐต่าง ๆ ในสหพันธรัฐ และสภาล่างหรือสภาแห่งชาติ (Nationalrat) ซึ่งจะมีการเลือกตั้งผู้แทนราษฎรในการเลือกตั้งระดับสากล ประธานาธิบดีแห่งสหพันธรัฐได้รับเลือกเป็นระยะเวลาสี่ปีในการประชุมใหญ่ของทั้งสองสภา ในขณะที่นายกรัฐมนตรีได้รับเลือกจากสภาแห่งชาติ เนื่องจากไม่มีพรรคการเมืองใดได้รับเสียงข้างมากในรัฐสภา ออสเตรียจึงถูกปกครองโดยกลุ่มพันธมิตรของ และ หรือ ซึ่งเป็นพรรคฝ่ายขวาที่เอนเอียงไปฝั่งอนุรักษนิยมมากกว่ารัฐบาลประชาธิปไตยสังคมนิยมชุดแรกของ คาร์ล เร็นเนอร์ ซึ่งได้จัดตั้งกฎหมายด้านเศรษฐกิจและสังคมและแรงงานที่ก้าวหน้าขึ้นจำนวนหนึ่ง
หลังจากปี 1920 รัฐบาลออสเตรียถูกควบคุมโดยพรรคสังคมคริสเตียนซึ่งต่อต้านแนวคิดอันชลุส โดยพรรคได้มีความสัมพันธ์กับคริสตจักรโรมันคาทอลิกอย่างใกล้ชิด นายกรัฐมนตรีคนแรกของพรรค ขึ้นสู่อำนาจในเดือนพฤษภาคม 1922 และพยายามสร้างพันธมิตรทางการเมืองระหว่างนักอุตสาหกรรมผู้มั่งคั่งและคริสตจักรโรมันคาทอลิก
ภายหลังจากในวันที่ 17 ตุลาคม 1920 พรรคประชาธิปไตยสังคมนิยมได้พ่ายแพ้ในรัฐสภาและยังคงเป็นฝ่ายค้านจนกระทั่งปี 1934 เมื่อด็อลฟูสได้ออกคำสั่งห้ามมีฝ่ายค้าน พรรคสังคมคริสเตียนชนะพรรคประชาธิปไตยด้วยคะแนนเสียง 85 ต่อ 69 พรรคมหาชนเยอรมันได้ 20 คะแนนเสียง และสหภาพชาวนา 8 คะแนนเสียง ได้รับเลือกให้เป็นประธานาธิบดี ภายหลังจาก อิกนาซ ไซเพิล ได้ขึ้นสู่อำนาจและประกาศลาออกในเดือนพฤศจิกายน 1924 เมื่อสืบต่อตำแหน่งโดย
ในเดือนธันวาคม 1928 จากพรรคสังคมคริสเตียน ได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสหพันธรัฐ และเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 1929 ได้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญเพิ่มเติม โดยให้มีการลดสิทธิของรัฐสภา ทำให้ประธานาธิบดีแห่งสหพันธรัฐได้รับเลือกจากการลงคะแนนเสียงของประชาชนโดยตรง และประธานาธิบดีมีสิทธิในการแต่งตั้งรัฐบาลกลางและสามารถออกพระราชกำหนดฉุกเฉินได้
ภายหลังจาก พรรคประชาธิปไตยสังคมนิยมกลายเป็นพรรคที่ได้ที่นั่งในรัฐสภามากที่สุด คือ 72 ที่นั่ง แต่ นายกรัฐมนตรีของพรรคสังคมคริสเตียน ได้จัดตั้งรัฐบาลผสมโดยไม่มีสมาชิกพรรคประชาธิปไตยสังคมนิยมเลยแม้แต่น้อย
ความขัดแย้งฝ่ายซ้าย–ฝ่ายขวา
แม้ว่าประเทศจะมีพรรคการเมืองที่มั่นคงครองอำนาจอยู่ แต่การเมืองภายในประเทศนั้นกลับมีความแตกแยกและความรุนแรง โดยทั้งฝ่ายประชาธิปไตยสังคมนิยม () และกองกำลังกึ่งทหารฝ่ายขวา (Heimwehr) เริ่มมีความขัดแย้งกัน ประเทศจึงถูกแบ่งแยกกันระหว่างประชากรในชนบทหัวโบราณและฝ่ายที่ควบคุมโดยฝ่ายประชาธิปไตยสังคมนิยม
ในปี 1927 ระหว่างการปะทะกันทางการเมืองในแถบบัวร์เกินลันท์ มีชายชราและเด็กถูกยิงโดยกองกำลังฝ่ายขวา เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 1927 มือปืนได้รับการปล่อยตัวและผู้สนับสนุนฝ่ายซ้ายได้เริ่มประท้วงครั้งใหญ่ในระหว่างที่อาคารสำนักงานกระทรวงยุติธรรมถูกวางเพลิง เพื่อควบคุมความสงบเรียบร้อย ทางตำรวจและกองทัพจึงสั่งยิงประชาชน โดยมีผู้ถูกสังหารจำนวน 89 คน และบาดเจ็บอีก 600 คน การประท้วงครั้งใหญ่นี้มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "" ฝ่ายประชาธิปไตยสังคมนิยมเรียกร้องให้มีการปะทะกันซึ่งกินเวลานานถึงสี่วัน
ภายหลังจากเหตุการณ์ในปี 1927 ฝ่ายอนุรักษนิยมเริ่มแข็งแกร่งขึ้น และความรุนแรงในออสเตรียยังคงทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ จนถึงในช่วงต้นทศวรรษที่ 1930 เมื่อ เอ็งเงิลแบร์ท ด็อลฟูส ขึ้นสู่อำนาจ
เศรษฐกิจ
อย่างไรก็ตาม สถานการณ์ทางเศรษฐกิจของสาธารณรัฐใหม่นี้ควบคุมได้ยาก เนื่องจากพื้นที่ทางเศรษฐกิจที่สำคัญของจักรวรรดิในอดีต ส่วนใหญ่ถูกพรากไปจากการก่อตั้งรัฐชาติใหม่ และจะยิ่งยุ่งเหยิงขึ้นไปอีก ด้วยข้อเท็จจริงที่ว่ารัฐชาติใหม่เหล่านี้จำนวนหนึ่งยังคงต้องพึ่งพาธนาคารกลางของเวียนนา แต่กลับถูกกีดกันโดยพรมแดนและภาษีที่แตกต่างกัน
ดินแดนออสเตรียที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลแทบจะไม่สามารถเลี้ยงดูตัวเองได้และขาดพื้นฐานทางอุตสาหกรรมที่พัฒนาแล้ว นอกจากนี้ เชโกสโลวาเกีย, ฮังการี, ยูโกสลาเวีย, และอิตาลี ได้กำหนดการปิดล้อมทางการค้าและปฏิเสธที่จะขายทรัพยากรและถ่านหินให้กับออสเตรีย ซึ่งท้ายที่สุดออสเตรียก็ได้รับการช่วยเหลือและการสนับสนุนจากพันธมิตรตะวันตก ภายในปี 1922 หนึ่งดอลลาร์สหรัฐมีมูลค่าเท่ากับ 19,000 โครน และครึ่งหนึ่งของประชากรภายในประเทศตกงาน
ในเดือนธันวาคม 1921 ที่ลงนามกันระหว่างออสเตรียและเชโกสโลวาเกีย โดยออสเตรียยอมรับพรมแดนของรัฐใหม่และยกเลิกการอ้างสิทธิ์ตัวแทนของชาติพันธุ์เยอรมันที่อาศัยอยู่ในดินแดนของเชโกสโลวาเกียที่สร้างขึ้นใหม่ ในทางกลับกัน เชโกสโลวาเกียได้ให้เงินกู้จำนวน 500 ล้านโครน แก่ออสเตรีย
ในปี 1922 ในความพยายามที่จะจัดการกับภาวะเงินเฟ้อภายหลังสงคราม นายกรัฐมนตรี ได้ทำเรื่องขอเงินกู้จากต่างประเทศและเสนอนโยบายประหยัดอย่างเข้มงวด ในเดือนตุลาคม 1922 สหราชอาณาจักร, ฝรั่งเศส, อิตาลี และเชโกสโลวาเกีย ได้ให้เงินกู้จำนวน 650 ล้านโครน หลังจากที่ไซเพิลสัญญาว่าจะไม่พยายามอันชลุสในอีก 20 ปีข้างหน้า และอนุญาตให้สันนิบาตชาติควบคุมเศรษฐกิจของออสเตรีย ในเดือนมีนาคม 1926 งบประมาณของรัฐมีเสถียรภาพและการควบคุมดูแลด้านการเงินระหว่างประเทศสิ้นสุดลง ธนาคารกลางออสเตรีย () ได้รับการจัดตั้งขึ้นใหม่อีกครั้งในปี 1923 ได้มีการประกาศใช้ภาษีการค้าในปี 1923 และในเดือนธันวาคม 1924 สกุลเงินได้เข้ามาแทนที่สกุลโครนออสเตรียเดิม
ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่กระทบออสเตรียอย่างหนัก และในเดือนพฤษภาคม 1931 ธนาคารใหญ่ในออสเตรียอย่างล่ม เพื่อทำการฟื้นฟูสภาพเศรษฐกิจ ออสเตรียจึงต้องการรวมสหภาพศุลการกรกับเยอรมนี แต่ในปี 1931 ฝรั่งเศสและกลุ่มประเทศไม่เห็นด้วยกับเรื่องนี้
ฟาสซิสต์ออสเตรีย
นายกรัฐมนตรีแห่งพรรคสังคมคริสเตียน เอ็งเงิลแบร์ท ด็อลฟูส ขึ้นสู่อำนาจเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 1932 และเปลี่ยนออสเตรียจากระบบพรรคการเมืองไปสู่ระบอบเผด็จการรวมศูนย์หรือระบอบฟาสซิสต์ ส่วนหนึ่งเป็นเพราะฟาสซิสต์อิตาลีเป็นพันธมิตรระหว่างประเทศที่เข้มแข็งที่สุดในการต่อต้านเยอรมนี ในเดือนมีนาคม 1933 ด็อลฟูสได้ประกาศ ซึ่งทำให้ตัวเขามีโอกาสในการจัดตั้งรัฐบาลเผด็จการได้โดยไม่มีรัฐสภา ในเดือนพฤษภาคม 1933 เขาได้ก่อตั้งแนวร่วมปิตุภูมิ ซึ่งต่อต้านแนวคิดเสรีนิยมและสังคมนิยมเพื่อสนับสนุน
รัฐบาลพยายามชิงดีชิงเด่นกันกับ ซึ่งต้องการให้ออสเตรียเข้าร่วมกับเยอรมนี ระบอบฟาสซิสต์ออสเตรียของด็อลฟูสได้เชื่อมโยงอัตลักษณ์ของออสเตรียเข้ากับคริสตจักรโรมันคาทอลิก เพื่อต่อต้านสหภาพออสเตรียและโปรเตสแตนต์เยอรมนีที่มีอำนาจเหนือกว่า
จากความขัดแย้งทางการเมืองที่เริ่มทวีความรุนแรงมากขึ้น จนนำไปสู่สงครามกลางเมืองออสเตรียในเดือนกุมภาพันธ์ 1934 ซึ่งเป็นการปะทะกันระหว่างฝ่ายนาซีกับฝ่ายประชาธิปไตยสังคมนิยมและกองกำลังฝ่ายรัฐบาล เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 1934 ด็อลฟูสได้เปลี่ยนออสเตรียให้เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียว โดยมีพรรคแนวร่วมปิตุภูมิ (เยอรมัน: Vaterländische Front) เป็นพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียว พร้อมกับประกาศใช้ "รัฐธรรมนูญเดือนพฤษภาคม" ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญเผด็จการ อีกทั้งยังเปลี่ยนชื่ออย่างเป็นทางการของประเทศจาก "สาธารณรัฐออสเตรีย" เป็น "สหพันธรัฐออสเตรีย" และยังเปลี่ยนธงชาติ ตราแผ่นดิน และเพลงชาติอีกด้วย
ระบอบสหพันธรัฐและการควบคุมอำนาจของถูกลดทอนลง ในขณะที่การเลือกตั้งสภาแห่งชาติถูกยกเลิก สมาชิกที่ได้รับการเสนอชื่อโดยสภาบรรษัททั้งสี่ (สภาแห่งรัฐ (Staatsrat), สภาวัฒนธรรมสหพันธ์ (Bundeskulturrat), สภาเศรษฐกิจสหพันธ์ (Bundeswirtschaftsrat) และสภาประจำรัฐ (Länderrat)) ตามสมมติแล้วพวกเขาจะเป็นความเห็นที่ดีที่สุดในแต่ละด้าน แต่ในทางปฏิบัติแล้ว การออกกฎหมายและการแต่งตั้งทั้งหมดมาจากคำสั่งของนายกรัฐมนตรีและประธานาธิบดีแห่งสหพันธรัฐ
รัฐได้เข้าควบคุมความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างอย่างสมบูรณ์ และเริ่มปราบปรามผู้ที่สนับสนุนนาซีและผู้สนับสนุนการรวมชาติเยอรมัน พวกนาซีจึงตอบโต้กลับด้วยการลอบสังหารด็อลฟูสระหว่างการกบฏเดือนกรกฎาคมเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 1934 (ดูเพิ่มเติมที่ Maiverfassung 1934)
การลอบสังหารโดยนาซีออสเตรียในครั้งนี้ ทำให้ประเทศเพื่อนบ้านของออสเตรียไม่พึงพอใจเป็นอย่างยิ่ง ฟาสซิสต์อิตาลีภายใต้การนำของผู้นำเผด็จการเบนิโต มุสโสลินี ซึ่งมีความสัมพันธ์อันดีกับออสเตรียภายใต้การนำของด็อลฟูส ได้ให้สัญญาว่าหากเยอรมนีจะบุกออสเตรีย อิตาลีก็สนับสนุนทางด้านการทหารอย่างเต็มกำลัง เนื่องจากพวกนาซีได้อ้างสิทธิ์ในดินแดนทีโรลที่ปกครองโดยอิตาลี การสนับสนุนจากอิตาลีได้ช่วยให้ออสเตรียรอดพ้นจากการผนวกรวมที่อาจเกิดขึ้นในปี 1934
คูร์ท ชุชนิกก์ ได้ดำรงตำแหน่งต่อจากด็อลฟูส เขาได้สั่งห้ามการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของพวกนาซี แต่ก็ยังสั่งห้ามให้มีกองกำลังกึ่งทหารแห่งชาติออสเตรีย (Heimwehr) ด้วย
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Schmitt 1959, p. 291.
- Pauley 1979, p. 276.
- Biles 1979, p. 2.
- Biles 1979, p. 3.
- Graham 1930, p. 145.
- Macartney 1929, p. 622.
- Macartney 1928, p. 298.
- Bischof, Pelinka & Lassner 2003, p. 73.
- Gehl 1963, p. 3.
- Von Klemperer 1972, p. 151-152.
- Bischof, Pelinka & Lassner 2003, p. 93.
- Vares, Mari (2008). The question of Western Hungary / Burgenland 1918-1923: a territorial question in the context of national and international policy (PDF). Jyväskylä: University of Jyväskylä. p. 25. ISBN .
- DIVIDE ON GERMAN AUSTRIA. - Centrists Favor Union, but Strong Influences Oppose It., The New York Times, January 17, 1919 (PDF)
- Building an Unwanted Nation. ISBN .
- Jelavich, Barbara (September 25, 1987). Modern Austria: Empire and Republic, 1815-1986. Cambridge University Press. ISBN – โดยทาง Google Books.
- "1931". 11 March 2009.
- "1934 to 1938: Ständestaat in the Name of "God, the Almighty"". www.wien.gv.at.
บรรณานุกรม
- Bennett, Edward W (1962). Germany and the diplomacy of the financial crisis, 1931 (ภาษาอังกฤษ). . p. 342. ISBN .
- ; (1969). "Economic Problems of the Danube Region after the Break-Up of the Austro-Hungarian Monarchy". . 4 (3): 169-185.
- Berend, Ivan (2000). "The Failure of Economic Nationalism: Central and Eastern Europe before World War II". Revue économique. 51 (2): 315-322.
- Biles, Gloria C. (1979). "Johann Schober's solutions for Austria's domestic problems, (September 26, 1929-September 25, 1930)" (pdf) (ภาษาอังกฤษ). Rice University. OCLC 7881123.
- Bischof, Günter J.; Pelinka, Anton; Lassner, Alexander (2003). The Dollfuss/Schuschnigg Era in Austria: A Reassessment (ภาษาอังกฤษ). Transaction Publishers. p. 321. ISBN .
- Coyne, Edward J. (1929). "The Crisis in Austria and Monsignor Seipel". Studies: An Irish Quarterly Review. 18 (72): 607-618.
- Diamant, Alfred (1957). "Austrian Catholics and the First Republic, 1918-1934: A Study in Anti-Democratic Thought". The Western Political Quarterly. 10 (3): 603-633.
- Gehl, Jurgen (1963). Austria, Germany, and the Anschluss, 1931-1938 (ภาษาอังกฤษ). .
- Gould, S. W. (1950). "Austrian Attitudes toward Anschluss: October 1918-September 1919". The Journal of Modern History. 22 (3): 220-231.
- Graham, Malbone W. (1930). "Foreign Governments and Politics: The Constitutional Crisis in Austria". The American Political Science Review. 24 (1): 144-157.
- (1948). Austria from Habsburg to Hitler, volume 1 (ภาษาอังกฤษ). . p. 771. OCLC 312153572.
- (1948). Austria from Habsburg to Hitler, volume 2 (ภาษาอังกฤษ). University of California Press. p. 1906. OCLC 312557122.
- Kirk, D. (1969). Europe's Population In The Interwar Years (ภาษาอังกฤษ). Taylor & Francis. p. 309. ISBN .
- Kleinfeld, Gerald Robert (1961). Stabilization and reconstruction in Austria: Schober and Seipel, 1921-1922 (ภาษาอังกฤษ). New York University. OCLC 55111432.
- (1972). Ignaz Seipel: Christian statesman in a time of crisis (ภาษาอังกฤษ). . p. 468. ISBN .
- Leser, Norbert (1981). "Austria between the Wars. An Essay". Austrian History Yearbook. 17: 127-142.
- (1929). "The Armed Formations in Austria". Journal of the Royal Institute of International Affairs. 8 (6): 617-632.
- Macartney, C. A. (1928). "Austria since 1928". The Slavonic and East European Review. 7 (20): 288-303.
- McElroy, David Brian (1955). "The domestic and foreign policy of Austria and her relations with Germany and Italy, 1932-1938" (pdf) (ภาษาอังกฤษ). Rice University. OCLC 1031095536.
- Miller, James William (1985). Engelbert Dollfuss and Austrian Agriculture : An authoritarian Democrat and his policies (ภาษาอังกฤษ). University of Minnesota. OCLC 638323462.
- Miller, James William (1992). "Agrarian Politics in Interwar Austria". Working Papers. 42: 26.
- Pauley, Bruce F. (1979). "Fascism and the Führerprinzip: The Austrian Example". Central European History. 12 (3): 272-296.
- (1981). "The Great Powers and the Economic Reorganization of the Danube Valley after World War I". Acta Historica Academiae Scientiarum Hungaricae. 27 (1–2): 63-97.
- Rath, R. John (1996). "The Deterioration of Democracy in Austria, 1927–1932". Austrian History Yearbook. 26: 213-259.
- Schmidt, Peter Edwin (1977). The relief of Austria, 1919-1922 (ภาษาอังกฤษ). Case Western Reserve University. OCLC 846271572.
- Schmitt, Hans A. (1959). "The End of the First Republic of Austria". The Southwestern Social Science Quarterly. 39 (4): 291-306.
- (1945). Eastern Europe between the wars, 1918-1941 (ภาษาอังกฤษ). . p. 445. OCLC 490515193.
- Thorpe, Julie (2010). "Austrofascism: Revisiting the 'Authoritarian State' 40 Years On". Journal of Contemporary History. 45 (2): 315-343.
- Wicker, Elmus (1986). "Terminating Hyperinflation in the Dismembered Habsburg Monarchy". The American Economic Review. 76 (3): 350-364.
- Zuber, Frederick R. (1975). "The watch on the Brenner : a study of Italian involvement in Austrian foreign and domestic affairs : 1928-1938" (pdf) (ภาษาอังกฤษ). Rice University. OCLC 18458416.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
satharnrthxxsetriythihnung hruxchuxxyangepnthangkarkhux satharnrthxxsetriy epnsatharnrththikxtngkhunphayhlngkhxngckrwrrdixxsetriy hngkariinchwngplaysngkhramolkkhrngthihnung inchwngaerksatharnrthmikhwamphyayamthicarwmshphaphkbeyxrmni satharnrtheyxrmnxxsetriy aetfaysmphnthmitrtawntkaelamhaxanacinewlannxyangfrngessaelashrachxanackrimehndwy satharnrthdarngxyucnthung kh s 1934 aelaaethnthiodyshphnthrthxxsetriy inthaythisudxxsetriykphnwkkbnasieyxrmniidsaercin kh s 1938satharnrthxxsetriy Republik Osterreich eyxrmn 1919 1934thngchati traaephndinephlngchati eyxrmn xxsetriy khuxpraethsthiswyngam kh s 1920 1929 source source epnkhwamsukhthiimmisinsud kh s 1929 1934 satharnrthxxsetriythi 1 in kh s 1930emuxnghlwngewiynnaphasathwipeyxrmn sasnakhrist ormnkhathxlik xisethirnxxrthxdxks opretsaetnt karpkkhrxngshphnthsatharnrthrabbrthsphaprathanathibdi 1919 1920 1920 1928 1928 1934naykrthmntri 1919 1920 khnaerk kharl ernenxr 1932 1934 khnsudthay exngengilaebrth dxlfussphanitibyytirthspha sphasung sphalangsphaaehngchatiyukhprawtisastrrahwangsngkhram snthisyyaaesng aechraemng10 knyayn 1919 15 krkdakhm 1927 sngkhramklangemuxngxxsetriy12 kumphaphnth 1934 1 phvsphakhm 1934skulengin 1919 1924 1924 1938 kxnhna thdipsatharnrtheyxrmnxxsetriy shphnthrthxxsetriypccubnepnswnhnungkhxngxxsetriy faysngkhmniymidkhrxbngarthbalsatharnrthcnkrathngeduxntulakhm kh s 1920 emuxxanacthukepliynphanodyphrrkhsngkhmkhrisetiyn inchwngsxngpiaerkkhxngkarkhrxbngathangkaremuxngodyfaysngkhmniym mikarprakasichchbbihmaelamatrkarthangsngkhmtang idrbkarxnumti hlngcaknnphrrkhsngkhmkhrisetiynidsrangphnthmitrkhxngchnchnkradumphikhun ephuxkhwbkhumrthbalaelakacdxiththiphlkhxngsngkhmniym dwyphnthmitrthiekhmaekhngni thaihphrrkhsngkhmkhrisetiynsamarthcdtngkhnarthmntriidtlxdchwngthswrrs 1920 xyangirktam khwamaekhngaekrnginrthsphakhxngfaysngkhmniymaelakhwamtxngkaresiyngkhangmakinkarepliynaeplngrththrrmnuyaelakdhmaysakhyxun epnsingthithaihkhwamphyayaminkarepliynaeplngthangkdhmaykhxngphnthmitrsngkhmkhrisetiynimprasbphlsaerc in kh s 1922 khaenginerimmiesthiyrphaphaelaesrsthkickhxngpraethsdikhunbangswn faythiidrbchychnainsngkhramolkidkahndihxxsetriyepnexkrach aemwaphukhnswnihyinpraethscaprarthnarwmshphaphkbsatharnrthiwmarihmktam xyangirktam khwamprarthnainkarrwmchatiyngkhngmixyuaelapraktkhunepnraya dngechnin kh s 1931 emuxtxngephchiykbwikvtkarnthangesrsthkic cungmikaresnxrwm sungsudthaykimsaercephraamhaxanactawntkkhdkhan karthuxkaenidkhunkhxngrthbalchatisngkhmniymineyxrmniemux kh s 1933 sngphlihkarsnbsnunkhxngprachachntxshphaphaerngnganldlng odyechphaaxyangyinginhmunksngkhmniym karlxbsngharnaykrthmntrixxsetriyodyphwknasixxsetriythiidrbkarsnbsnuncakeyxrmnirahwangrthpraharlmehlwin kh s 1934 idplukerakarptiesthphrrkhsngkhmkhrisetiynaelasnbsnunkarrksaexkrach hlngcaksxngpikhxngkarepnprpks inthisudrthbalcungidbrrlusungkhxtklng odyyinyxmihphwkchatisngkhmniymhruxnasimiswnrwminkarbriharpra aetkhwamkhdaeyngkimidyutilng rththrrmnuyxxsetriymiphlbngkhbichin kh s 1920 aelaaekikhephimetim in kh s 1929 emuxfassistxxsetriykhunsuxanac cungmikarprakasrththrrmnuychbbihmin kh s 1934 odyepliynchuxxyangepnthangkarkhxngpraethscaksatharnrthxxsetriyepnshphnthrth dwyehtuni nkprawtisastrbangkhncungthuxwasatharnrththihnungyutilngin kh s 1934 tngaet kh s 1920 rthbalxxsetriythukkhrxbngaody sungmikhwamsmphnthiklchidkbkhristckrormnkhathxlik naykrthmntrikhnaerkkhxngphrrkh phyayamsrangphnthmitrthangkaremuxngrahwangnkxutsahkrrmthirarwykbkhristckrormnkhathxlik aemwapraethscamiphrrkhkaremuxngthimnkhngkhrxngxanacxyu aetkaremuxngphayinpraethsnnklbmikhwamaetkaeykaelarunaerng odymifayprachathipitysngkhmniym eyxrmn Republikanischer Schutzbund aelakxngkalngkungthharfaykhwacd eyxrmn Heimwehr thikhdaeyngknxyuxyangtxenuxng fayxnurksniymiddaeninkarthaihphrrkhprachathipitysngkhmniymphayaephinrthsphatlxdthswrrs aemwakhaaennesiyngcaephimkhuninkareluxktngkhrngtx maktam matrkaraebngekhtkarpkkhrxngxxkcakewiynnaaelaesrimxanackhxngesiyngkhangnxyinrthsphathaihekidkartxtanfayxnurksniymesiyexng phrrkhprachathipitysngkhmniymsamarthkhwbkhumemuxnghlwngid sungphrrkhidphthnanoybaythangsngkhmthimiprasiththiphaph dwykarekbphasithisungsungphwkxnurksniymwiphakswicarn inewlayisibpikhxngkarmiexkrach xxsetriytxngphungphakarengincaktangpraethsxyutlxdewla in kh s 1922 emuxephchiykbphawaesrsthkictkta praethscungrxngkhxenginkucaksnnibatchati sungaelkkbkaryxmrbenguxnikhthangkaremuxngbangprakar rwmthungkarrksaxthipitykhxngchatithitxtankarrwmshphaphkhxngeyxrmnidwy esrsthkickhxngpraethsyngkhngxyuphayitkarkhwbkhumkhxngtangpraethskrathng kh s 1926 aemwaesrsthkickhxngpraethscaetibotkhunmaelknxyhlngcaknn aetimnankhyudlngphrxmkbkarmathungkhxngphawaesrsthkictktakhrngihy sungsngphlrayaerngtxpraethsxyangyingkarkxtngdinaednthixangsiththiodyeyxrmnxxsetriyinpi 1918 ineduxnknyayn 1919 rthtkkhangaehngeyxrmn xxsetriyidrbkarldphrmaedntamsnthisyyaaesng aechraemng odytxngmxbdinaednthimiprachakrchaweyxrmnxasyxyuepnswnihyinsuedethinlnthihaekechoksolwaekiy dinaednihaekxitali aeladinaednbangswnkhxngcnghwdxliphnihaekrachxanackraehngchawesirb okhraext aelasolwin Kraljevina Srba Hrvata i Slovenaca SHS hruxthiruckkninchux yuokslaewiy aemcamikarkhdkhancakxxsetriy aetsnthisyyachbbniidchwyybyng xnchlus hrux karrwmshphaphxxsetriykbeyxrmni odyimidrbkhwamyinyxmcaksnnibatchati faysmphnthmitrimehndwythicayxmiheyxrmnithiphayaephkhyayxanaekhtodykarphnwkdinaednthihlngehluxxyukhxngxxsetriy dwyehtuniexng thaihpraethseyxrmn xxsetriytxngepliynchuxxyangepnthangkarepn satharnrthxxsetriy satharnrthihmniidkidknkarxangsiththiehnuxdinaednthngsxngkhrngcakpraethsephuxnban khrngaerkkhuxdinaednthangthistawnxxkechiyngitkhxngkharinethiy sungmichawsolwinxasyxyuepnswnihy rachxanackraehngchawesirb okhraext aelasolwinidekhakhdkhwangxanackhxngxxsetriyehnuxdinaednniodyphankaremuxwnthi 10 tulakhm 1920 sungprachakrswnihyyngkhngeluxkthicaxyukbxxsetriytxip khrngthisxngkhuxkarxangsiththiehnuxdinaednbwrekinlnthkhxnghngkari phayitchux ewsethirnhngkari sungepnswnhnungkhxngrachxanackrhngkarimatngaetpi 907 odymiprachakrthiphudphasaeyxrmnepnswnihy aetkyngmiprachakrswnnxythiphudphasaokhrexechiyaelahngkaridwy phankarlngnaminsnthisyyaaesng aechraemngcndinaednbwrekinlnthidklayepnswnhnungkhxngsatharnrthxxsetriyodysmburninpi 1921 xyangirktam phayhlngcaksungyngkhngphiphathodyxxsetriy emuxnghlkkhxngcnghwd eyxrmnexxedinburk yngkhngepnswnhnungkhxnghngkari snthisyyaaesng aechraemngidsrangkhwamimphxicaekprachakrchaweyxrmninxxsetriy odyidxangthungkarlaemidhlkkarsibsikhxkhxngprathanathibdishrth wudorw wilsn wangexaiwrahwangkarecrcasntiphaph odyechphaasiththiinkar kahndtnexng khxngthukpraeths phukhnswnihyrusukwakarsuyesiyxanaekhtkhxngckrwrrdikxnsngkhramthung 60 nn cathaihxxsetriyimsamarthkhwbkhumduaelthangdanesrsthkicaelakaremuxngidxiktxipinthanarththiaeykkhadcakkn odyprascakkarrwmtwkbeyxrmni xxsetriyinkhnanimikhnadelkmak klayepnpraethsthiimmithangxxksuthael sungmiprachakrpraman 6 5 lankhn krungewiynnasungmiprachakrekuxb 2 lankhn thukthxdthingihxyuinemuxnghlwngxyangxdxyak xxsetriyinsmynimiphunthithiehmaaaekkarephaaplukephiyng 17 8 epxresntethann enuxngcakphunthithakinswnihyinxditkhxngckrwrrdixxsetriy klayepnswnhnungkhxngechoksolwaekiyaelayuokslaewiyrthbalaelasthankarnthangkaremuxnginpi 1920 1934rththrrmnuychbbihmidsrangsphanitibyytiaebbsxngsphakhun odymisphasunghruxsphashphnthrth Bundesrat sungprakxbdwyehlaphuaethncakrthtang inshphnthrth aelasphalanghruxsphaaehngchati Nationalrat sungcamikareluxktngphuaethnrasdrinkareluxktngradbsakl prathanathibdiaehngshphnthrthidrbeluxkepnrayaewlasipiinkarprachumihykhxngthngsxngspha inkhnathinaykrthmntriidrbeluxkcaksphaaehngchati enuxngcakimmiphrrkhkaremuxngididrbesiyngkhangmakinrthspha xxsetriycungthukpkkhrxngodyklumphnthmitrkhxng aela hrux sungepnphrrkhfaykhwathiexnexiyngipfngxnurksniymmakkwarthbalprachathipitysngkhmniymchudaerkkhxng kharl ernenxr sungidcdtngkdhmaydanesrsthkicaelasngkhmaelaaerngnganthikawhnakhuncanwnhnung hlngcakpi 1920 rthbalxxsetriythukkhwbkhumodyphrrkhsngkhmkhrisetiynsungtxtanaenwkhidxnchlus odyphrrkhidmikhwamsmphnthkbkhristckrormnkhathxlikxyangiklchid naykrthmntrikhnaerkkhxngphrrkh khunsuxanacineduxnphvsphakhm 1922 aelaphyayamsrangphnthmitrthangkaremuxngrahwangnkxutsahkrrmphumngkhngaelakhristckrormnkhathxlik phayhlngcakinwnthi 17 tulakhm 1920 phrrkhprachathipitysngkhmniymidphayaephinrthsphaaelayngkhngepnfaykhancnkrathngpi 1934 emuxdxlfusidxxkkhasnghammifaykhan phrrkhsngkhmkhrisetiynchnaphrrkhprachathipitydwykhaaennesiyng 85 tx 69 phrrkhmhachneyxrmnid 20 khaaennesiyng aelashphaphchawna 8 khaaennesiyng idrbeluxkihepnprathanathibdi phayhlngcak xiknas isephil idkhunsuxanacaelaprakaslaxxkineduxnphvscikayn 1924 emuxsubtxtaaehnngody ineduxnthnwakhm 1928 cakphrrkhsngkhmkhrisetiyn idrbeluxkihdarngtaaehnngprathanathibdiaehngshphnthrth aelaemuxwnthi 7 thnwakhm 1929 idmikaraekikhrththrrmnuyephimetim odyihmikarldsiththikhxngrthspha thaihprathanathibdiaehngshphnthrthidrbeluxkcakkarlngkhaaennesiyngkhxngprachachnodytrng aelaprathanathibdimisiththiinkaraetngtngrthbalklangaelasamarthxxkphrarachkahndchukechinid phayhlngcak phrrkhprachathipitysngkhmniymklayepnphrrkhthiidthinnginrthsphamakthisud khux 72 thinng aet naykrthmntrikhxngphrrkhsngkhmkhrisetiyn idcdtngrthbalphsmodyimmismachikphrrkhprachathipitysngkhmniymelyaemaetnxy khwamkhdaeyngfaysay faykhwa karedinswnsnamkhxngkxngkalngkungthharfaykhwainpi 1928karechlimchlxngkhxngfayprachathipitysngkhmniym emuxwnthi 1 phvsphakhm 1932 aemwapraethscamiphrrkhkaremuxngthimnkhngkhrxngxanacxyu aetkaremuxngphayinpraethsnnklbmikhwamaetkaeykaelakhwamrunaerng odythngfayprachathipitysngkhmniym aelakxngkalngkungthharfaykhwa Heimwehr erimmikhwamkhdaeyngkn praethscungthukaebngaeykknrahwangprachakrinchnbthhwobranaelafaythikhwbkhumodyfayprachathipitysngkhmniym inpi 1927 rahwangkarpathaknthangkaremuxnginaethbbwrekinlnth michaychraaelaedkthukyingodykxngkalngfaykhwa emuxwnthi 14 krkdakhm 1927 muxpunidrbkarplxytwaelaphusnbsnunfaysayiderimprathwngkhrngihyinrahwangthixakharsankngankrathrwngyutithrrmthukwangephling ephuxkhwbkhumkhwamsngberiybrxy thangtarwcaelakxngthphcungsngyingprachachn odymiphuthuksngharcanwn 89 khn aelabadecbxik 600 khn karprathwngkhrngihynimichuxeriykxikxyanghnungwa fayprachathipitysngkhmniymeriykrxngihmikarpathaknsungkinewlananthungsiwn phayhlngcakehtukarninpi 1927 fayxnurksniymerimaekhngaekrngkhun aelakhwamrunaernginxxsetriyyngkhngthwikhwamrunaerngkhuneruxy cnthunginchwngtnthswrrsthi 1930 emux exngengilaebrth dxlfus khunsuxanacesrsthkicehriyythxng 25 chillinghnunginekhhasthanthithuksrangkhuninchwng xyangirktam sthankarnthangesrsthkickhxngsatharnrthihmnikhwbkhumidyak enuxngcakphunthithangesrsthkicthisakhykhxngckrwrrdiinxdit swnihythukphrakipcakkarkxtngrthchatiihm aelacayingyungehyingkhunipxik dwykhxethccringthiwarthchatiihmehlanicanwnhnungyngkhngtxngphungphathnakharklangkhxngewiynna aetklbthukkidknodyphrmaednaelaphasithiaetktangkn dinaednxxsetriythiimmithangxxksuthaelaethbcaimsamartheliyngdutwexngidaelakhadphunthanthangxutsahkrrmthiphthnaaelw nxkcakni echoksolwaekiy hngkari yuokslaewiy aelaxitali idkahndkarpidlxmthangkarkhaaelaptiesththicakhaythrphyakraelathanhinihkbxxsetriy sungthaythisudxxsetriykidrbkarchwyehluxaelakarsnbsnuncakphnthmitrtawntk phayinpi 1922 hnungdxllarshrthmimulkhaethakb 19 000 okhrn aelakhrunghnungkhxngprachakrphayinpraethstkngan ineduxnthnwakhm 1921 thilngnamknrahwangxxsetriyaelaechoksolwaekiy odyxxsetriyyxmrbphrmaednkhxngrthihmaelaykelikkarxangsiththitwaethnkhxngchatiphnthueyxrmnthixasyxyuindinaednkhxngechoksolwaekiythisrangkhunihm inthangklbkn echoksolwaekiyidihenginkucanwn 500 lanokhrn aekxxsetriy inpi 1922 inkhwamphyayamthicacdkarkbphawaenginefxphayhlngsngkhram naykrthmntri idthaeruxngkhxenginkucaktangpraethsaelaesnxnoybayprahydxyangekhmngwd ineduxntulakhm 1922 shrachxanackr frngess xitali aelaechoksolwaekiy idihenginkucanwn 650 lanokhrn hlngcakthiisephilsyyawacaimphyayamxnchlusinxik 20 pikhanghna aelaxnuyatihsnnibatchatikhwbkhumesrsthkickhxngxxsetriy ineduxnminakhm 1926 ngbpramankhxngrthmiesthiyrphaphaelakarkhwbkhumduaeldankarenginrahwangpraethssinsudlng thnakharklangxxsetriy idrbkarcdtngkhunihmxikkhrnginpi 1923 idmikarprakasichphasikarkhainpi 1923 aelaineduxnthnwakhm 1924 skulenginidekhamaaethnthiskulokhrnxxsetriyedim phawaesrsthkictktakhrngihykrathbxxsetriyxyanghnk aelaineduxnphvsphakhm 1931 thnakharihyinxxsetriyxyanglm ephuxthakarfunfusphaphesrsthkic xxsetriycungtxngkarrwmshphaphsulkarkrkbeyxrmni aetinpi 1931 frngessaelaklumpraethsimehndwykberuxngnifassistxxsetriydxlfusklawkhaprasrytxsnnibatchatiinpi 1933thharxxsetriyinchwngsngkhramklangemuxngxxsetriyinpi 1934 naykrthmntriaehngphrrkhsngkhmkhrisetiyn exngengilaebrth dxlfus khunsuxanacemuxwnthi 20 phvsphakhm 1932 aelaepliynxxsetriycakrabbphrrkhkaremuxngipsurabxbephdckarrwmsunyhruxrabxbfassist swnhnungepnephraafassistxitaliepnphnthmitrrahwangpraethsthiekhmaekhngthisudinkartxtaneyxrmni ineduxnminakhm 1933 dxlfusidprakas sungthaihtwekhamioxkasinkarcdtngrthbalephdckaridodyimmirthspha ineduxnphvsphakhm 1933 ekhaidkxtngaenwrwmpituphumi sungtxtanaenwkhidesriniymaelasngkhmniymephuxsnbsnun rthbalphyayamchingdichingednknkb sungtxngkarihxxsetriyekharwmkbeyxrmni rabxbfassistxxsetriykhxngdxlfusidechuxmoyngxtlksnkhxngxxsetriyekhakbkhristckrormnkhathxlik ephuxtxtanshphaphxxsetriyaelaopretsaetnteyxrmnithimixanacehnuxkwa cakkhwamkhdaeyngthangkaremuxngthierimthwikhwamrunaerngmakkhun cnnaipsusngkhramklangemuxngxxsetriyineduxnkumphaphnth 1934 sungepnkarpathaknrahwangfaynasikbfayprachathipitysngkhmniymaelakxngkalngfayrthbal emuxwnthi 1 phvsphakhm 1934 dxlfusidepliynxxsetriyihepnrthphrrkhkaremuxngediyw odymiphrrkhaenwrwmpituphumi eyxrmn Vaterlandische Front epnphrrkhkaremuxngephiyngphrrkhediyw phrxmkbprakasich rththrrmnuyeduxnphvsphakhm sungepnrththrrmnuyephdckar xikthngyngepliynchuxxyangepnthangkarkhxngpraethscak satharnrthxxsetriy epn shphnthrthxxsetriy aelayngepliynthngchati traaephndin aelaephlngchatixikdwy rabxbshphnthrthaelakarkhwbkhumxanackhxngthukldthxnlng inkhnathikareluxktngsphaaehngchatithukykelik smachikthiidrbkaresnxchuxodysphabrrsththngsi sphaaehngrth Staatsrat sphawthnthrrmshphnth Bundeskulturrat sphaesrsthkicshphnth Bundeswirtschaftsrat aelasphapracarth Landerrat tamsmmtiaelwphwkekhacaepnkhwamehnthidithisudinaetladan aetinthangptibtiaelw karxxkkdhmayaelakaraetngtngthnghmdmacakkhasngkhxngnaykrthmntriaelaprathanathibdiaehngshphnthrth rthidekhakhwbkhumkhwamsmphnthrahwangnaycangkblukcangxyangsmburn aelaerimprabpramphuthisnbsnunnasiaelaphusnbsnunkarrwmchatieyxrmn phwknasicungtxbotklbdwykarlxbsnghardxlfusrahwangkarkbteduxnkrkdakhmemuxwnthi 25 krkdakhm 1934 duephimetimthi Maiverfassung 1934 karlxbsngharodynasixxsetriyinkhrngni thaihpraethsephuxnbankhxngxxsetriyimphungphxicepnxyangying fassistxitaliphayitkarnakhxngphunaephdckarebniot musoslini sungmikhwamsmphnthxndikbxxsetriyphayitkarnakhxngdxlfus idihsyyawahakeyxrmnicabukxxsetriy xitaliksnbsnunthangdankarthharxyangetmkalng enuxngcakphwknasiidxangsiththiindinaednthiorlthipkkhrxngodyxitali karsnbsnuncakxitaliidchwyihxxsetriyrxdphncakkarphnwkrwmthixacekidkhuninpi 1934 khurth chuchnikk iddarngtaaehnngtxcakdxlfus ekhaidsnghamkarcdkickrrmtang khxngphwknasi aetkyngsnghamihmikxngkalngkungthharaehngchatixxsetriy Heimwehr dwyduephimsatharnrtheyxrmnxxsetriy shphnthrthxxsetriy kharl ernenxrxangxingSchmitt 1959 p 291 Pauley 1979 p 276 Biles 1979 p 2 sfn error no target CITEREFBiles1979 Biles 1979 p 3 sfn error no target CITEREFBiles1979 Graham 1930 p 145 Macartney 1929 p 622 Macartney 1928 p 298 Bischof Pelinka amp Lassner 2003 p 73 Gehl 1963 p 3 Von Klemperer 1972 p 151 152 Bischof Pelinka amp Lassner 2003 p 93 Vares Mari 2008 The question of Western Hungary Burgenland 1918 1923 a territorial question in the context of national and international policy PDF Jyvaskyla University of Jyvaskyla p 25 ISBN 978 951 39 3074 5 DIVIDE ON GERMAN AUSTRIA Centrists Favor Union but Strong Influences Oppose It The New York Times January 17 1919 PDF Building an Unwanted Nation ISBN 9780549324867 Jelavich Barbara September 25 1987 Modern Austria Empire and Republic 1815 1986 Cambridge University Press ISBN 9780521316255 odythang Google Books 1931 11 March 2009 1934 to 1938 Standestaat in the Name of God the Almighty www wien gv at brrnanukrmBennett Edward W 1962 Germany and the diplomacy of the financial crisis 1931 phasaxngkvs p 342 ISBN 9780674352506 1969 Economic Problems of the Danube Region after the Break Up of the Austro Hungarian Monarchy 4 3 169 185 Berend Ivan 2000 The Failure of Economic Nationalism Central and Eastern Europe before World War II Revue economique 51 2 315 322 Biles Gloria C 1979 Johann Schober s solutions for Austria s domestic problems September 26 1929 September 25 1930 pdf phasaxngkvs Rice University OCLC 7881123 Bischof Gunter J Pelinka Anton Lassner Alexander 2003 The Dollfuss Schuschnigg Era in Austria A Reassessment phasaxngkvs Transaction Publishers p 321 ISBN 9781412821896 Coyne Edward J 1929 The Crisis in Austria and Monsignor Seipel Studies An Irish Quarterly Review 18 72 607 618 Diamant Alfred 1957 Austrian Catholics and the First Republic 1918 1934 A Study in Anti Democratic Thought The Western Political Quarterly 10 3 603 633 Gehl Jurgen 1963 Austria Germany and the Anschluss 1931 1938 phasaxngkvs Gould S W 1950 Austrian Attitudes toward Anschluss October 1918 September 1919 The Journal of Modern History 22 3 220 231 Graham Malbone W 1930 Foreign Governments and Politics The Constitutional Crisis in Austria The American Political Science Review 24 1 144 157 1948 Austria from Habsburg to Hitler volume 1 phasaxngkvs p 771 OCLC 312153572 1948 Austria from Habsburg to Hitler volume 2 phasaxngkvs University of California Press p 1906 OCLC 312557122 Kirk D 1969 Europe s Population In The Interwar Years phasaxngkvs Taylor amp Francis p 309 ISBN 9780677015606 Kleinfeld Gerald Robert 1961 Stabilization and reconstruction in Austria Schober and Seipel 1921 1922 phasaxngkvs New York University OCLC 55111432 1972 Ignaz Seipel Christian statesman in a time of crisis phasaxngkvs p 468 ISBN 9780691051970 Leser Norbert 1981 Austria between the Wars An Essay Austrian History Yearbook 17 127 142 1929 The Armed Formations in Austria Journal of the Royal Institute of International Affairs 8 6 617 632 Macartney C A 1928 Austria since 1928 The Slavonic and East European Review 7 20 288 303 McElroy David Brian 1955 The domestic and foreign policy of Austria and her relations with Germany and Italy 1932 1938 pdf phasaxngkvs Rice University OCLC 1031095536 Miller James William 1985 Engelbert Dollfuss and Austrian Agriculture An authoritarian Democrat and his policies phasaxngkvs University of Minnesota OCLC 638323462 Miller James William 1992 Agrarian Politics in Interwar Austria Working Papers 42 26 Pauley Bruce F 1979 Fascism and the Fuhrerprinzip The Austrian Example Central European History 12 3 272 296 1981 The Great Powers and the Economic Reorganization of the Danube Valley after World War I Acta Historica Academiae Scientiarum Hungaricae 27 1 2 63 97 Rath R John 1996 The Deterioration of Democracy in Austria 1927 1932 Austrian History Yearbook 26 213 259 Schmidt Peter Edwin 1977 The relief of Austria 1919 1922 phasaxngkvs Case Western Reserve University OCLC 846271572 Schmitt Hans A 1959 The End of the First Republic of Austria The Southwestern Social Science Quarterly 39 4 291 306 1945 Eastern Europe between the wars 1918 1941 phasaxngkvs p 445 OCLC 490515193 Thorpe Julie 2010 Austrofascism Revisiting the Authoritarian State 40 Years On Journal of Contemporary History 45 2 315 343 Wicker Elmus 1986 Terminating Hyperinflation in the Dismembered Habsburg Monarchy The American Economic Review 76 3 350 364 Zuber Frederick R 1975 The watch on the Brenner a study of Italian involvement in Austrian foreign and domestic affairs 1928 1938 pdf phasaxngkvs Rice University OCLC 18458416 48 12 N 16 22 E 48 200 N 16 367 E 48 200 16 367