ในศาสนาพุทธ สัตวโลก หมายถึง หมู่สัตว์ (บาลี: สตฺต) คือสิ่งมีชีวิต มี มีขันธ์ แต่ยังไม่บรรลุเป็นพระอรหันต์ จึงยังไม่พ้นทุกข์ ต้องเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏ
ศัพทมูล
คำว่า สตฺต มาจากรากศัพท์ในภาษาบาลี สชฺ (ติด, ข้อง) ลง ต ปัจจัย กลายเป็น สตฺต แปลว่า ผู้ติด ผู้ข้องอยู่
การส่อความ
ในพระสุตตันตปิฎก ขันธวารวรรค สัตตสูตร พระโคตมพุทธเจ้าตรัสกับพระราธะ อธิบายความหมายของ "สัตว์" ว่าหมายถึง บุคคลผู้ข้องติดอยู่ในความพอใจ ความกำหนัด ความเพลิดเพลิน ความทะยานอยากในขันธ์ เหมือนเด็กที่ยังสนุกกับการเล่นปั้นดินเป็นบ้าน จึงอาลัย อยากเล่น หวงแหน ยึดถือบ้านดินนั้น ไม่ยอมให้ใครมาแตะต้อง ต่อเมื่อเบื่อแล้วจึงรื้อทำลายบ้านนั้นด้วยมือและเท้าของตนเอง แล้วทรงสอนให้พระราธะพิจารณารื้อทำลายขันธ์ 5 จนไม่มีความยินดี สิ้นตัณหา นั่นคือนิพพาน
อ้างอิง
- พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542
- พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2547). "สัตวโลก". พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. สืบค้นเมื่อ 5 กันยายน 2559.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
และ|date=
((help)) - Getz, Daniel A. (2004). "Sentient beings"; cited in Buswell, Robert E. (2004). Encyclopedia of Buddhism. Volume 2. New York, USA: Macmillan Reference USA. (Volume 2): pp.760
- Kimura, Kiyotaka (1991). The Self in Medieval Japanese Buddhism: Focusing on Dogen; cited in Philosophy East and West; Volume 41, Number 3, July 1991. University of Hawaii Press: pp.327–340. Accessed 22 October 2008.
- พระมหาธิติพงศ์ อุตฺตมปญฺโ (2556). "ไวยากรณ์บาลีเบื้องต้น" (PDF). มหาบาลีวิชชาลัย. สืบค้นเมื่อ 5 กันยายน 2559.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - "สัตตสูตร". พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2559. สืบค้นเมื่อ 5 กันยายน 2559.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
และ|date=
((help))
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
insasnaphuthth stwolk hmaythung hmustw bali st t khuxsingmichiwit mi mikhnth aetyngimbrrluepnphraxrhnt cungyngimphnthukkh txngewiynwaytayekidinsngsarwtsphthmulkhawa st t macakraksphthinphasabali sch tid khxng lng t pccy klayepn st t aeplwa phutid phukhxngxyukarsxkhwaminphrasuttntpidk khnthwarwrrkh sttsutr phraokhtmphuththecatrskbphraratha xthibaykhwamhmaykhxng stw wahmaythung bukhkhlphukhxngtidxyuinkhwamphxic khwamkahnd khwamephlidephlin khwamthayanxyakinkhnth ehmuxnedkthiyngsnukkbkarelnpndinepnban cungxaly xyakeln hwngaehn yudthuxbandinnn imyxmihikhrmaaetatxng txemuxebuxaelwcungruxthalaybannndwymuxaelaethakhxngtnexng aelwthrngsxnihphrarathaphicarnaruxthalaykhnth 5 cnimmikhwamyindi sintnha nnkhuxniphphanxangxingphcnanukrm chbbrachbnthitysthan ph s 2542 phraphrhmkhunaphrn prayuthth pyut ot 30 tulakhm ph s 2547 stwolk phcnanukrmphuththsasn chbbpramwlsphth subkhnemux 5 knyayn 2559 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate aela date help Getz Daniel A 2004 Sentient beings cited in Buswell Robert E 2004 Encyclopedia of Buddhism Volume 2 New York USA Macmillan Reference USA ISBN 0 02 865720 9 Volume 2 pp 760 Kimura Kiyotaka 1991 The Self in Medieval Japanese Buddhism Focusing on Dogen cited in Philosophy East and West Volume 41 Number 3 July 1991 University of Hawaii Press pp 327 340 Accessed 22 October 2008 phramhathitiphngs xut tmpy o 2556 iwyakrnbaliebuxngtn PDF mhabaliwichchaly subkhnemux 5 knyayn 2559 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help sttsutr phraitrpidkphasaithy chbbmhaculalngkrnrachwithyaly 31 krkdakhm ph s 2559 subkhnemux 5 knyayn 2559 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate aela date help