ราชวงศ์เซาเตเลวูร์ (โปนเปย์: Mwehin Sau Deleur, "สมัยเจ้าเหนือหัวแห่งเตเลวูร์" อาจสะกด Chau-te-leur ก็ได้) เป็นหน่วยการปกครองแรกที่สามารถรวมผู้คนของเกาะ ปกครองระหว่าง ค.ศ. 1100 จนถึงประมาณ ค.ศ. 1628 โดยเป็นสมัยที่อยู่ระหว่าง มเวอินกาวา หรือ มเวอิน อารามัส (สมัยแห่งการสร้างหรือสมัยแห่งผู้คน) และ มเวอินนาน-มวาร์กิ เดิม เตเลวูร์เป็นชื่อโบราณของโปนเปย์ อันเป็นรัฐที่ตั้งเมืองหลวงของสหพันธรัฐไมโครนีเซีย
ราชวงศ์เซาเตเลวูร์ Mwehin Sau Deleur | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ป. 1100–ป. 1628 | |||||||||
เกาะโปนเปย์ | |||||||||
สถานะ | อาณาจักร | ||||||||
เมืองหลวง | นันมาโตล | ||||||||
การปกครอง | สมบูรณาญาสิทธิราชย์ | ||||||||
เซาเตเลวูร์ | |||||||||
• ป. ค.ศ. 1100–1200 | โอโลโซปา | ||||||||
• ? | มโวน มเวย์ | ||||||||
• ? | อิเนเน็น มเวย์ | ||||||||
• ? | เกจิปาเรลง | ||||||||
• ? | ไรปเว็นลาเก | ||||||||
• ? | ไรปเว็นลัง | ||||||||
• ? | ซากน มเวย์ | ||||||||
• ? | ซาไรเต็น ซัปว์ | ||||||||
• ป. ค.ศ. 1628 | เซาเต็มโวล | ||||||||
ประวัติศาสตร์ | |||||||||
• การมาถึงของโอลิซีปาและโอโลโซปา | ป. 1100 | ||||||||
• การรุกรานของอิโซเกเลเก็ล | ป. 1628 | ||||||||
| |||||||||
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ | ไมโครนีเชีย |
ตำนานโปนเปย์เล่าว่าผู้ปกครองเซาเตเลวูร์มีต้นกำเนิดจากต่างพื้นที่ และรูปร่างของพวกเขาก็ต่างกับชาวโปนเปย์พื้นเมือง การปกครองรวมศูนย์แบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของเซาเตเลวูร์ถูกอธิบายในตำนานว่าการกดขี่ได้เพิ่มเติมมากขึ้นเมื่อผ่านไปหลาย ๆ รุ่น มักมีข้อเรียบร้องไม่สมเหตุสมผลและเป็นภาระของประชาชน รวมถึงการมีพฤติการณ์ละลาบละล้วงต่อเทพของชาวโปนเปย์ ซึ่งสร้างความไม่พอใจให้กับชาวโปนเปย์เป็นอย่างยิ่ง ราชวงศ์เซาเตเลวูร์สิ้นสุดลงจากการรุกรานของอิโซเกเลเก็ล ชาวต่างชาติกึ่งตำนานอีกคนหนึ่ง ที่เข้ามาแทนที่การปกครองขจองเซาเตเลวูร์ในระบบนาน-มวาร์กิส ที่เน้นการกระจายอำนาจ ซึ่งยังคงอยู่ในปัจจุบัน
ต้นกำเนิด
ผู้คนกลุ่มแรกที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานน่าจะเป็นชาวแลพีตาจากตะวันออกเฉียงใต้ของหมู่เกาะโซโลมอนหรือกลุ่มเกาะวานูอาตู จากตำนานของกล่าวถึงการสร้างเกาะหลักด้วยการถมหินลงไปล้อมรอบพืดหินปะการังของกลุ่มชายและหญิงจำนวน 17 คน จากดินแดนห่างไกลทางใต้ ประชากรที่ตั้งถิ่นฐานเป็นชาวพื้นเมืองที่มีเชื้อสายผสมกับผู้มาใหม่ จำนวนประชากรเพิ่มขึ้น แต่สภาพสังคมของพวกเขามีลักษณะเป็นอนาธิปไตย
ราวงศ์เซาเตเลวูร์เริ่มต้นขึ้นจากการมาถึงของผู้วิเศษฝาแฝดได้แก่ โอลิซีปาและโอโลโซปา จากกาเตาตะวันตกหรือกานัมไวโซ อันเป็นดินแดนในตำนาน มีการกล่าวกันว่าโอลิซีปาและโอโลโซปามีความสูงมากกว่าชาวพื้นเมืองโปนเปย์ พี่น้องคู่นี้เดินทางมาถึงด้วยเรือขนาดใหญ่ เพื่อแสวงหาพื้นที่าสำหรับการสร้างแท่นบูชาสำหรับการบูชาเทพนานีโซน ซาปว์ เทพแห่งเกษตรกรรม หลังจากการเริ่มต้นที่ผิดพลาดหลายครั้ง สองพี่น้องก็สร้างแท่นบูชาที่นันมาโตลได้สำเร็จ อันเป็นสถานที่ในการประกอบพิธีกรรม ตำนานยังเล่าอีกว่าสองพี่น้องทำให้หินก้อนใหญ่ลอยขึ้นด้วยความช่วงเหลือของมังกรบิน เมื่อโอลิซีปาเสียชีวิตจากโรคชรา โอโลโซปาได้เป็นผู้ปกครองเซาเตเลวูร์คนแรก โอโลโซปาแต่งงานกับหญิงท้องถิ่น และเป็นต้นตระกูลของอีก 12 รุ่นต่อมา คิดเป็นจำนวนผู้ปกครองเซาเตเลวูร์แห่งตระกูลติปวิลัป 16 คน ผู้สถาปนาราชวงศ์ปกครองอย่างมีเมตตา แต่ผู้สืบทอดรุ่นหลังเริ่มเรียกร้องความต้องการจากประชาราษฎร์มากยิ่งขึ้น
สภาพสังคม
ผู้ปกครองเซาเตเลวูร์ที่นันมาโตลเป็นเจ้าของดินแดนและประชากร โดยยกดินแดนบางส่วนให้ชนชั้นนำเพื่อกำกับการเก็บเกี่ยวของสามัญชน สามัญชนจะต้องมอบบรรณาการผลไม้และปลาให้กับผู้ปกครอง
บรรณาการประกอบด้วยสาเกเป็นส่วนมากในฤดูรัก (ฤดูแห่งความอุดมสมบูรณ์) ขณะที่เปลี่ยนไปเป็นมัน เผือกและสาเกหมักในฤดูอิซล (ฤดูแห่งความขาดแคลน) นอกจากนี้มีการมอบอาหารทะเลให้กับเซาเตเลวูร์ในเวลาที่ระบุไว้ ระบบบรรณาการระยะแรกเป็นไปตามฤดูกาล อย่างไรก็ตามเมื่อเวลาผ่านไป การเรียกร้องของเซาเตเลวูร์ทำให้ประชาชนอดอยากและใช้ชีวิตเยี่ยงทาส ด้วยการที่พวกเขาต้องใช้แรงงานและมอบวัสดุเกือบทั้งหมดให้กับเซาเตเลวูร์เป็นลำดับแรก ความไม่พอใจของผู้คนนำไปการลอบสังหารไม่ต่ำกว่าสองครั้ง แต่เซาเตเลวูร์อื่นก็ขึ้นมามีอำนาจแทนที่คนก่อน นอกจากนี้มักพบการต่อต้านผู้กดขี่ด้วยการต่อต้านคำสั่งและขโมยวัตถุดิบที่จะมอบให้เซาเตเลวูร์
เซาเตเลวูร์บางคนมีใจกรุณา เช่น อิเนน มเวย์สถาปนาระบบอภิชนาธิปไตยและไรปเว็นลัง ซึ่งเป็นนักเวทย์ที่ชำนาญ อย่างไรก็ตามเซาเตเลวูร์ผู้อื่นเป็นที่รู้จัึกในฐานะผู้อำมหิต เช่น ซากน มเวย์เก็บภาษีชาวโปนเปย์อย่างโหดเหี้ยม และไรปเว็นลาเกใช้เวทมนต์เพื่อระบุตำแหน่งชาวโปนเปย์ที่อ้วนที่สุดและกินเขา ขณะที่เกจิปาเรลงได้รับการจดจำในฐานะที่มีภรรยาตะกละ ส่วนผู้ปกครองถัดมาอย่างซาไรเต็น ซัปว์เป็นผู้สถานปนาธรรมเนียมบนเกาะโปนเปย์
การแบ่งเขตการปกครอง
ในรัชสมัยของเซาเตเลวูร์ มโวนมเวย์แบ่งโปนเปย์ออกเป็น 3 เวย์หรือรัฐ ภาคตะวันออกเรียกว่าโกปวาเล็ง () ประกอบด้วยพื้นที่ 7 ส่วน ได้แก่ เว็นอิก เปย์ตี, เว็นอิก เปย์ตัก, เอนีมวัน, เลเดา, เซนิเปน, เลปินเซ็ตและเตเลวูร์ ส่วนภาคตะวันตกเรียกว่ามาเล็นโกปวาเล () ประกอบด้วย 4 พื้นที่ ได้แก่ โอโนนเล็ง, เกปีเล็ง, เลนปเว็ลและ และภาคเหนือเรียกว่าปวาปวาลิก ประกอบด้วย ปาลีกีร์, โซเก็ส, ติปเว็น โดงาลัป, กามาร์, นันมาอีร์และ ระบบการปกครองรวมศูนย์ได้รวมระดับการแบ่งเขตปกครองย่อยที่มีก่อนหน้าเข้ามาไว้และนำโครงสร้างชนชั้นนำท้องถิ่นมาใช้ ต่อมาอูและเน็จกลายเป็นรัฐทางตอนเหนือ ซึ่งนำไปสู่การก่อกำเนิดของเทศบาล 5 แห่งบนเกาะโปนเปย์ในปัจจุบัน
เป็นดินแดนที่มั่งคั่งภายใต้การปกครองของเซาเตเลวูร์ ขณะที่โอโนนเล็งมีอำนาจปกครองตนเองสูงมาก พื้นที่กิจีและเกปีเล็งทางตะวันตกมีชื่อเสียงในการต่อต้านการปกครองของเซาเตเลวูร์ที่อยู่ทางตะวันออก
ที่เมืองหลวงนันมาโตล ผู้ปกครองเซาเตเลวูร์พัฒนาระบบตำแหน่งแบ่งชั้นเพื่อแสดงถึงอาชีพ ซึ่งรวมถึง ที่ปรึกษา ผู้เตรียมอาหาร องครักษ์ประจำประตูและองครักษ์ย่านที่อยู่อาศัย
ตามตำนานกล่าวว่าผู้ปกครองราชวงศ์เซาเตเลวูร์ไม่มีความสนใจและเกี่ยวข้องกับกิจการทางทหาร เนื่องจากโดยรวมแล้วเป็นยุคสมัยแห่งสันติ แม้ว่าชาวโปนเปย์พื้นเมืองจะได้รับความทุกข์และมีความไม่พอใจเกี่ยวกับการปกครอง
ศาสนา
ศาสนาในสมัยราชวงศ์เซาเตเลวูร์มีลักษณะของอารามหินขนาดใหญ่และพื้นที่สุสาน การถวายอาหารและการทำนายศักดิ์สิทธิ์ ลัทธิบูชาราชวงศ์เซาเตเลวูร์พบได้ที่นันมาโตล ที่จะมีการถวายบรรณาการแด่เทพสายฟ้า หรือเดากาเตา ซึ่งเป็นที่มาของความชอบธรรมของราชวงศ์เซาเตเลวูร์ ชาวโปนเปเดิมเคารพนานซัปเว ซึ่งจากนันมาโตล ลัทธิบูชานานซัปเวแผ่กระจายไปยังพื้นที่อื่นของโปนเปย์ ส่วนลัทธิบูชาอื่นที่พบเช่นลัทธิบูชาปลาไหลน้ำจืดและลัทธิบูชาเทพ
เซาเตเลวูร์ไม่ประสบความสำเร็จในความพยายามที่จะแนะนำให้ชาวโปนเปย์บูชาเทพของตน ซึ่งชาวโปนเปย์เคารพพอเป็นพิธีเท่านั้น ผู้ปกครองเซาเตเลวูร์ใช้ปลาไหลมอเรย์นานซัมโวลในฐานะตัวกลางของนานนีโซน ซัปว์ ผู้ที่ระบุว่าเทพต่างถิ่นจะพอใจด้วยการกลืนกินบรรณาการในรูปของเต่า ชนชั้นนักบวชนำโดยหัวหน้านักบวชเป็นผู้มีอำนาจและอิทธิพลในสังคมโปนเปย์
พิธีกรรม กัมปา ที่จัดเป็นประจำทุกปีเป็นเครื่องยืนยันการอุทิศของชาวโปนเปย์แด่เทพและวิญญาณแห่งแผ่นดิน ส่วนพิธี ซาเกา เป็นการยืนยันการมีอำนาจเหนือของเซาเตเลวูร์ โดยพิธีกรรมส่วนมากเกี่ยวข้องกับการเตรียมของขวัญแด่ผู้ปกครอง
การถวายอาหาร โดยเฉพาะแด่เซาเตเลวูร์ มีเต่าและสุนัข ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ทางพิธีกรรมรวมอยู่ด้วย เต่า (เวย์) แทนการแบ่งเขตการปกครอง 3 ส่วน (เวย์) และเป็นศูนย์กลางตำนานที่สองพี่น้องต้องสังเวยแม่ของพวกเขา คือ เต่าที่ให้ชีวิต เพื่อให้เซาเตเลวูร์กิน หลังจากที่พวกเขาพูดอย่างติดตลกว่าจะขายเธอเพื่อแลกกับการลิ้มลองเนื้อสุนัขของเซาเตเลวูร์ ส่วนสุนัขมีสถานะที่สำคัญมากในสังคม โดยผู้ปกครองเซาเตเลวูร์ เนื่องจากเซาเตเลวูร์ถูกมอบอำนาจการปกครองโดยสุนับในตำนานอย่างโอนุนมาตาไก (ผู้เผ้าดูดินแดน)
การล่มสลาย
อิโซเกเลเก็ลพิชิตการปกครองของเซาเตเลวูร์ ด้วยการรุกรานเกาะโปนเปย์จากโกชาเอ หรือดินแดนในตำนานกาเตาตะวันออก มีหลักฐานที่แตกต่างกันมากที่อธิบายเหตุการณ์ก่อนและระหว่างการรุกรานเกาะโปนเปย์ โดยพบว่ามีหลักฐาน 13 ชิ้นที่มีการเผยแพร่ ในตำนานฉบับส่วนมากกล่าวถึงการปกครองของเซาเตเลวูร์ที่กดขี่ผ่านระบบสังคมรวมศูนย์ นอกจากนี้เจ้าเหนือหัวยังละเมิดเทพสายฟ้านานซัปเว ส่งผลให้เกิดจุดจบของราชวงศ์ในที่สุด
เทพสายฟ้านานซัปเวมีความสัมพันธ์เป็นชู้กับภรรยาของเจ้าเหนือหัวเซาเตเลวูร์ เจ้าเหนือหัวเซาเตเลวูร์จึงออกเดินทางเพื่อตามจับนานซัปเวด้วยความโกรธ ผู้ปกครองยังใช้การมีความสัมพันธ์นี้ในการปราบปรามการบูชานานซัปเว ตำนานบางฉบับยังกล่าวถึงผู้ปกครองยังทำให้บรรดาเทพโปนเปย์องค์อื่นโกรธและปลดนักบวชชั้รสูงซาวุมที่ทำนายความหายนะของเซาเตเลวูร์ การกระทำทั้งหมดนี้ทำให้เทพ มนุษย์และสัตว์ไม่พอใจ เทพนานซัปเวออกจากเพื่อเดินทางไปยังโกชาเอ (กาเตา) ช่วงหลบหนี พระองค์ได้ทำให้มนุษย์เป็นหมัน ซึ่งเป็นคนในตระกูลติปเว็นปานเมย์ของเขาตั้งครรภ์ ด้วยการให้กิน การร่วมความสัมพันธ์ที่ผิดประเวณีดังกล่าวก่อให้เกิดบุคคลกึ่งเทพอย่างอิโซเกเลเก็ล ผู้ซึ่งอยู่ในครรภ์ แต่รู้ถึงชะตากรรมการแก้แค้นของเขา เมื่อเติบใหญ่ เขาได้ล่องเรือไปกับชาย หญิงและเด็กจำนวน 333 คน โดยมีจุดมุ่งหมายลับเพื่อพิชิตโปนเปย์ เมื่อลงเรือมีการบูชายัญมนุษย์ อันเป็นพิธีกรรมที่แพร่หลายใน แต่พบได้น้อยมากในประวัติศาสตร์โปนเปย์ ในระหว่างการเดินทางสู่นันมาโตล เขาได้รับมอบเมล็ดสาเกจากหัวหน้าของ ในวัฒนธรรมของพวกเขา มื้ออาหารที่มีเมล็ดสาเกเป็นมื้ออาหารของนักรบที่กำลังเข้าสู่สงคราม และการมอบครั้งนี้ก็เป็นการเชื้อเชิญเพื่อทำสงครามกับเซาเตเลวูร์ ระหว่างที่อยู่บนแอนต์อะทอลล์ เขามีความสัมพันธ์คู่รักกับหญิงท้องถิ่น แสดงให้เห็นถึงการที่เขาตั้งใจมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับชาวโปนเปย์และต่อต้านเซาเตเลวูร์เท่านั้น
จากตำนานหลายฉบับกล่าวว่าสงครามเกิดขึ้นที่นันมาโตล หลังจากที่การเล่นระหว่างเด็กท้องถิ่นกับเด็กจากเรือแคนูของอิโซเกเลเก็ลขยายเป็นการต่อสู้กัน ในตำนานฉบับอื่นกล่าวว่า ผู้ช่วยของเขายั่วนักรบท้องถิ่นที่จุดนัดพบที่ตระเตรียมไว้ก่อน อีกฉบับหนึ่งกล่าวว่าอิโซเกเลเก็ลได้เริ่มการจลาจลหลังจากได้รับความไว้วางใจจากเจ้าบ้าน และได้รับความช่วยเหลือจากคนท้องถิ่นที่ถูกกดขี่ บางฉบับกล่าวว่าหลังจากที่อิโซเกเลเก็ลเห็นป้อมปราการที่นันมาโตล แล้วต้องการถอนตัว แต่ได้รับการช่วยเหลือจากหญิงที่ถูกรังเกียจจากครอบครัวผู้ปกครอง ในอีกฉบับหนึ่งกล่าวว่านักรบของอิโซเกเลเก็ลได้รับความช่วยเหลือจากอาวุธที่ถูกซ่อนที่ปรากฎออกมาให้เห็นในขณะนั้น
กระแสของสงครามพลิกกลับไปมาอยู่หลายครั้ง แต่จบด้วยการที่เซาเตเลวูร์ถอนทหารออกจากเกาะโปนเปย์ ตำนานกล่าวว่าสงครามจบลงเมื่อเซาเตเลวูร์อย่างเซาเต็มโวลถอนทัพขึ้นไปบนแนวเขาสู่ลำธาร จากนั้นเขากลายร่างเป็นหลาและยังคงอยู่จนถึงปัจจุบัน อิโซเกเลเก็ลสถาปนาตนเป็นนาน-มวาร์กิส และครองอำนาจที่นันมาโตลเหมือนกับราชวงศ์เซาเตเลวูร์ที่ปกครองมาก่อนเขา
สิ่งสืบทอด
ระบบบรรณาการของเซาเตเลวูร์ลดรูปลง แต่ยังคงอยู่ในทางประเพณีในยุคหลัง ประเพณีการมอบของขวัญและจัดงานเลี้ยงในงานศพของยุคหลังได้รับแนวปฏิบัติมาจากการมอบบรรณาการในสมัยเซาเตเลวูร์: 30
เชิงอรรถ
- อ้าง Ballinger (1978), มโวน มเวย์เป็นเซาเตเลวูร์คนที่สองและเซาเต็มโวลเป็นคนสุดท้าย แต่ชิ้อและลำดับอื่นไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด
- สมัยเซาเตเลวูร์กินเวลาประมาณ 500 ปี ตำนานโดยทั่วไประบุว่าล่มสลายประมาณคริสต์ทศวรรษ 1500 แต่นักโบราณคดีระบุอายุของซากปรักหักพังของเซาเตเลวูร์จนถึงประมาณ ค.ศ. 1628
- Hanlon (1988) อธิบายถึงแหล่งข้อมูลที่แตกต่างเกี่ยวกับจำนวนผู้ปกครองเซาเตเลวูร์ มีตั้งแต่ประมาณ 8–17 คน ทำให้ไม่สามารถทราบตัวเลขที่แน่ชัดได้: 234
อ้างอิง
- Hanlon, David L (1988). Upon a Stone Altar: A History of the Island of Pohnpei to 1890. Pacific Islands Monograph. Vol. 5. University of Hawaii Press. pp. 13–25. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2012-01-01.
- Flood, Bo; Strong, Beret E.; Flood, William (2002). Micronesian Legends. Bess Press. pp. 145–7, 160. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2012-01-01.
- Cordy, Ross H (1993). The Lelu Stone Ruins (Kosrae, Micronesia): 1978-81 Historical and Archaeological Research. Asian and Pacific Archaeology. Social Science Research Institute, University of Hawaii at Manoa. pp. 14, 254, 258. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2011-12-31.
- Morgan, William N (1988). Prehistoric Architecture in Micronesia. University of Texas Press. pp. 60, 63, 76, 85. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2011-12-31.
- Panholzer, Tom; Rufino, Mauricio (2003). Place Names of Pohnpei Island: Including And (Ant) and Pakin Atolls. Bess Press. pp. xiii, 21, 22, 25, 38, 48, 56, 63, 71. 72, 74, 104. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2011-12-31.
- Micronesica. University of Guam. 1990. pp. 92, 203, 277. สืบค้นเมื่อ 2011-12-31.
- Petersen, Glenn (1990). "Isokelekel". Lost in the Weeds: Theme and Variation in Pohnpei Political Mythology (PDF). Occasional Papers. Center for Pacific Islands Studies, School of Hawaiian, Asian & Pacific Studies, University of Hawaiʻi at Mānoa. pp. 34 et seq. :10125/15545. OP35. สืบค้นเมื่อ 31 ธันวาคม 2011.
- Ballinger, Bill Sanborn (1978). Lost City of Stone: The Story of Nan Madol, the "Atlantis" of the Pacific. Simon and Schuster. pp. 45–8. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2011-12-31.
- Riesenberg, Saul H (1968). The Native Polity of Ponape. Contributions to Anthropology. Vol. 10. Smithsonian Institution Press. pp. 38, 51. สืบค้นเมื่อ 2012-01-01.
- McCoy, Mark D.; Alderson, Helen A.; Hemi, Richard; Cheng, Hai; Edwards, R. Lawrence (November 2016). "Earliest direct evidence of monument building at the archaeological site of Nan Madol (Pohnpei, Micronesia) identified using 230Th/U coral dating and geochemical sourcing of megalithic architectural stone". Quaternary Research. 86 (3): 295–303. doi:10.1016/j.yqres.2016.08.002.
- Goodenough, Ward Hunt (2002). Under Heaven's Brow: Pre-Christian Religious Tradition in Chuuk. Memoirs of the American Philosophical Society. Vol. 246. American Philosophical Society. p. 293. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2012-01-01.
- Petersen, Glenn (2009). Traditional Micronesian Societies: Adaptation, Integration, and Political Organization. University of Hawaii Press. pp. 141, 145, 152, 208. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2011-12-31.
- Nakano, Ann (1983). Tim Porter (บ.ก.). Broken Canoe: Conversations and Observations in Micronesia. University of Queensland Press. pp. 246–7. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2011-12-31.
- Lessa, William Armand (1980). More Tales from Ulithi Atoll: a Content Analysis. Folklore and Mythology Studies. Vol. 32. University of California Press. pp. 73, 130. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2011-12-31.
- Rubinstein, Donald H (1992). Pacific History: Papers from the 8th Pacific History Association Conference. University of Guam Press & Micronesian Area Research Center. pp. 206–7. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2011-12-31.
- Kirch, Patrick Vinton (2002). On the Road of the Winds: An Archaeological History of the Pacific Islands Before European Contact. University of California Press. pp. 200, 205. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2011-12-31.
- Castle, Leila (1996). Earthwalking Sky Dancers: Women's Pilgrimages to Sacred Sites. Vol. 56. Frog Books. pp. 100–1. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2011-12-31.
- Jones, Lindsay (2005). Encyclopedia of Religion. Vol. 9 (2 ed.). Macmillan Reference. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2011-12-31.
- Fields, Jack; Fields, Dorothy (1973). South Pacific. A. H. & A. W. Reed. pp. 111–2. สืบค้นเมื่อ 2011-12-31.
- Goetzfridt, Nicholas J; Peacock, Karen M (2002). Micronesian Histories: An Analytical Bibliography and Guide to Interpretations. Bibliographies and Indexes in World History. Greenwood Publishing Group. pp. 3, 34–5, 102, 156–9. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2011-12-31.
- American Anthropologist. Vol. 95. Washington, D.C.: American Anthropological Association. 1993. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2011-12-31.
- Kahn, Ely Jacques (1966). A Reporter in Micronesia. W. W. Norton. p. 151. สืบค้นเมื่อ 2011-12-31.
- Price, Willard (1936). Pacific Adventure. Reynal & Hitchcock. pp. 240–1. สืบค้นเมื่อ 2011-12-31.
- Keating, Elizabeth Lillian (1998). Power Sharing: Language, Rank, Gender, and Social Space in Pohnpei, Micronesia. Oxford Studies in Anthropological Linguistics. Vol. 23. Oxford University Press. p. 89. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2011-12-31.
หนังสืออ่านเพิ่ม
- Ayres, William S. Nan Madol, Pohnpei. SAA Bulletin. Vol. 10, Nov. 1992. Society for American Archaeology.
- Ayres, William S. Pohnpei's Position in Eastern Micronesian Prehistory, Micronesica, Supplement 2: Proceedings, Indo Pacific Prehistory Association, Guam, 1990, pp. 187–212.
- Ayres, William S. Mystery Islets of Micronesia. Archaeology Jan-Feb 1990, pp. 58–63
แหล่งข้อมูลอื่น
- Ayres, William. "Nan Madol, Madolenihmw, Pohnpei". Department of Anthropology University Of Oregon. สืบค้นเมื่อ 2012-01-01.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
rachwngsesaetelwur opnepy Mwehin Sau Deleur smyecaehnuxhwaehngetelwur xacsakd Chau te leur kid epnhnwykarpkkhrxngaerkthisamarthrwmphukhnkhxngekaa pkkhrxngrahwang kh s 1100 cnthungpraman kh s 1628 odyepnsmythixyurahwang mewxinkawa hrux mewxin xarams smyaehngkarsranghruxsmyaehngphukhn aela mewxinnan mwarki edim etelwurepnchuxobrankhxngopnepy xnepnrththitngemuxnghlwngkhxngshphnthrthimokhrniesiyrachwngsesaetelwur Mwehin Sau Deleurp 1100 p 1628ekaaopnepysthanaxanackremuxnghlwngnnmaotlkarpkkhrxngsmburnayasiththirachyesaetelwur p kh s 1100 1200oxolospa mown mewy xienenn mewy ekcipaerlng irpewnlaek irpewnlng sakn mewy sairetn spw p kh s 1628esaetmowlprawtisastr karmathungkhxngoxlisipaaelaoxolospap 1100 karrukrankhxngxiosekeleklp 1628kxnhna thdipwthnthrrmaelphita xiosekeleklpccubnepnswnhnungkhxng imokhrniechiynnmaotlxnepnemuxnghlwngkhxngrachwngsesaetelwur tananopnepyelawaphupkkhrxngesaetelwurmitnkaenidcaktangphunthi aelaruprangkhxngphwkekhaktangkbchawopnepyphunemuxng karpkkhrxngrwmsunyaebbsmburnayasiththirachykhxngesaetelwurthukxthibayintananwakarkdkhiidephimetimmakkhunemuxphaniphlay run mkmikhxeriybrxngimsmehtusmphlaelaepnpharakhxngprachachn rwmthungkarmiphvtikarnlalablalwngtxethphkhxngchawopnepy sungsrangkhwamimphxicihkbchawopnepyepnxyangying rachwngsesaetelwursinsudlngcakkarrukrankhxngxiosekelekl chawtangchatikungtananxikkhnhnung thiekhamaaethnthikarpkkhrxngkhcxngesaetelwurinrabbnan mwarkis thiennkarkracayxanac sungyngkhngxyuinpccubntnkaenidphukhnklumaerkthiekhamatngthinthannacaepnchawaelphitacaktawnxxkechiyngitkhxnghmuekaaosolmxnhruxklumekaawanuxatu caktanankhxngklawthungkarsrangekaahlkdwykarthmhinlngiplxmrxbphudhinpakarngkhxngklumchayaelahyingcanwn 17 khn cakdinaednhangiklthangit prachakrthitngthinthanepnchawphunemuxngthimiechuxsayphsmkbphumaihm canwnprachakrephimkhun aetsphaphsngkhmkhxngphwkekhamilksnaepnxnathipity rawngsesaetelwurerimtnkhuncakkarmathungkhxngphuwiessfaaefdidaek oxlisipaaelaoxolospa cakkaetatawntkhruxkanmiwos xnepndinaednintanan mikarklawknwaoxlisipaaelaoxolospamikhwamsungmakkwachawphunemuxngopnepy phinxngkhuniedinthangmathungdwyeruxkhnadihy ephuxaeswnghaphunthiasahrbkarsrangaethnbuchasahrbkarbuchaethphnaniosn sapw ethphaehngekstrkrrm hlngcakkarerimtnthiphidphladhlaykhrng sxngphinxngksrangaethnbuchathinnmaotlidsaerc xnepnsthanthiinkarprakxbphithikrrm tananyngelaxikwasxngphinxngthaihhinkxnihylxykhundwykhwamchwngehluxkhxngmngkrbin emuxoxlisipaesiychiwitcakorkhchra oxolospaidepnphupkkhrxngesaetelwurkhnaerk oxolospaaetngngankbhyingthxngthin aelaepntntrakulkhxngxik 12 runtxma khidepncanwnphupkkhrxngesaetelwuraehngtrakultipwilp 16 khn phusthapnarachwngspkkhrxngxyangmiemtta aetphusubthxdrunhlngerimeriykrxngkhwamtxngkarcakpracharasdrmakyingkhunsphaphsngkhmphupkkhrxngesaetelwurthinnmaotlepnecakhxngdinaednaelaprachakr odyykdinaednbangswnihchnchnnaephuxkakbkarekbekiywkhxngsamychn samychncatxngmxbbrrnakarphlimaelaplaihkbphupkkhrxng brrnakarprakxbdwysaekepnswnmakinvdurk vduaehngkhwamxudmsmburn khnathiepliynipepnmn ephuxkaelasaekhmkinvduxisl vduaehngkhwamkhadaekhln nxkcaknimikarmxbxaharthaelihkbesaetelwurinewlathirabuiw rabbbrrnakarrayaaerkepniptamvdukal xyangirktamemuxewlaphanip kareriykrxngkhxngesaetelwurthaihprachachnxdxyakaelaichchiwiteyiyngthas dwykarthiphwkekhatxngichaerngnganaelamxbwsduekuxbthnghmdihkbesaetelwurepnladbaerk khwamimphxickhxngphukhnnaipkarlxbsngharimtakwasxngkhrng aetesaetelwurxunkkhunmamixanacaethnthikhnkxn nxkcaknimkphbkartxtanphukdkhidwykartxtankhasngaelakhomywtthudibthicamxbihesaetelwur esaetelwurbangkhnmiickruna echn xienn mewysthapnarabbxphichnathipityaelairpewnlng sungepnnkewthythichanay xyangirktamesaetelwurphuxunepnthirucukinthanaphuxamhit echn sakn mewyekbphasichawopnepyxyangohdehiym aelairpewnlaekichewthmntephuxrabutaaehnngchawopnepythixwnthisudaelakinekha khnathiekcipaerlngidrbkarcdcainthanathimiphrryatakla swnphupkkhrxngthdmaxyangsairetn spwepnphusthanpnathrrmeniymbnekaaopnepy karaebngekhtkarpkkhrxng aephnthiethsbalkhxngopnepyinpccubnhaaehng aetinsmyesaetelwurmihnwykarpkkhrxngradbbnephiyngsamaehngethann inrchsmykhxngesaetelwur mownmewyaebngopnepyxxkepn 3 ewyhruxrth phakhtawnxxkeriykwaokpwaelng prakxbdwyphunthi 7 swn idaek ewnxik epyti ewnxik epytk exnimwn eleda esniepn elpinestaelaetelwur swnphakhtawntkeriykwamaelnokpwael prakxbdwy 4 phunthi idaek oxonnelng ekpielng elnpewlaela aelaphakhehnuxeriykwapwapwalik prakxbdwy palikir oseks tipewn odngalp kamar nnmaxiraela rabbkarpkkhrxngrwmsunyidrwmradbkaraebngekhtpkkhrxngyxythimikxnhnaekhamaiwaelanaokhrngsrangchnchnnathxngthinmaich txmaxuaelaencklayepnrththangtxnehnux sungnaipsukarkxkaenidkhxngethsbal 5 aehngbnekaaopnepyinpccubn epndinaednthimngkhngphayitkarpkkhrxngkhxngesaetelwur khnathioxonnelngmixanacpkkhrxngtnexngsungmak phunthikiciaelaekpielngthangtawntkmichuxesiynginkartxtankarpkkhrxngkhxngesaetelwurthixyuthangtawnxxk thiemuxnghlwngnnmaotl phupkkhrxngesaetelwurphthnarabbtaaehnngaebngchnephuxaesdngthungxachiph sungrwmthung thipruksa phuetriymxahar xngkhrkspracapratuaelaxngkhrksyanthixyuxasy tamtananklawwaphupkkhrxngrachwngsesaetelwurimmikhwamsnicaelaekiywkhxngkbkickarthangthhar enuxngcakodyrwmaelwepnyukhsmyaehngsnti aemwachawopnepyphunemuxngcaidrbkhwamthukkhaelamikhwamimphxicekiywkbkarpkkhrxng sasna aephnthinnmaotl sasnainsmyrachwngsesaetelwurmilksnakhxngxaramhinkhnadihyaelaphunthisusan karthwayxaharaelakarthanayskdisiththi lththibucharachwngsesaetelwurphbidthinnmaotl thicamikarthwaybrrnakaraedethphsayfa hruxedakaeta sungepnthimakhxngkhwamchxbthrrmkhxngrachwngsesaetelwur chawopnepedimekharphnanspew sungcaknnmaotl lththibuchananspewaephkracayipyngphunthixunkhxngopnepy swnlththibuchaxunthiphbechnlththibuchaplaihlnacudaelalththibuchaethph esaetelwurimprasbkhwamsaercinkhwamphyayamthicaaenanaihchawopnepybuchaethphkhxngtn sungchawopnepyekharphphxepnphithiethann phupkkhrxngesaetelwurichplaihlmxerynansmowlinthanatwklangkhxngnanniosn spw phuthirabuwaethphtangthincaphxicdwykarklunkinbrrnakarinrupkhxngeta chnchnnkbwchnaodyhwhnankbwchepnphumixanacaelaxiththiphlinsngkhmopnepy phithikrrm kmpa thicdepnpracathukpiepnekhruxngyunynkarxuthiskhxngchawopnepyaedethphaelawiyyanaehngaephndin swnphithi saeka epnkaryunynkarmixanacehnuxkhxngesaetelwur odyphithikrrmswnmakekiywkhxngkbkaretriymkhxngkhwyaedphupkkhrxng karthwayxahar odyechphaaaedesaetelwur mietaaelasunkh sungepnsylksnthangphithikrrmrwmxyudwy eta ewy aethnkaraebngekhtkarpkkhrxng 3 swn ewy aelaepnsunyklangtananthisxngphinxngtxngsngewyaemkhxngphwkekha khux etathiihchiwit ephuxihesaetelwurkin hlngcakthiphwkekhaphudxyangtidtlkwacakhayethxephuxaelkkbkarlimlxngenuxsunkhkhxngesaetelwur swnsunkhmisthanathisakhymakinsngkhm odyphupkkhrxngesaetelwur enuxngcakesaetelwurthukmxbxanackarpkkhrxngodysunbintananxyangoxnunmataik phuephadudinaedn karlmslayxiosekeleklphichitkarpkkhrxngkhxngesaetelwur dwykarrukranekaaopnepycakokchaex hruxdinaednintanankaetatawnxxk mihlkthanthiaetktangknmakthixthibayehtukarnkxnaelarahwangkarrukranekaaopnepy odyphbwamihlkthan 13 chinthimikarephyaephr intananchbbswnmakklawthungkarpkkhrxngkhxngesaetelwurthikdkhiphanrabbsngkhmrwmsuny nxkcakniecaehnuxhwynglaemidethphsayfananspew sngphlihekidcudcbkhxngrachwngsinthisud ethphsayfananspewmikhwamsmphnthepnchukbphrryakhxngecaehnuxhwesaetelwur ecaehnuxhwesaetelwurcungxxkedinthangephuxtamcbnanspewdwykhwamokrth phupkkhrxngyngichkarmikhwamsmphnthniinkarprabpramkarbuchananspew tananbangchbbyngklawthungphupkkhrxngyngthaihbrrdaethphopnepyxngkhxunokrthaelapldnkbwchchrsungsawumthithanaykhwamhaynakhxngesaetelwur karkrathathnghmdnithaihethph mnusyaelastwimphxic ethphnanspewxxkcakephuxedinthangipyngokchaex kaeta chwnghlbhni phraxngkhidthaihmnusyepnhmn sungepnkhnintrakultipewnpanemykhxngekhatngkhrrph dwykarihkin karrwmkhwamsmphnththiphidpraewnidngklawkxihekidbukhkhlkungethphxyangxiosekelekl phusungxyuinkhrrph aetruthungchatakrrmkaraekaekhnkhxngekha emuxetibihy ekhaidlxngeruxipkbchay hyingaelaedkcanwn 333 khn odymicudmunghmaylbephuxphichitopnepy emuxlngeruxmikarbuchayymnusy xnepnphithikrrmthiaephrhlayin aetphbidnxymakinprawtisastropnepy inrahwangkaredinthangsunnmaotl ekhaidrbmxbemldsaekcakhwhnakhxng inwthnthrrmkhxngphwkekha muxxaharthimiemldsaekepnmuxxaharkhxngnkrbthikalngekhasusngkhram aelakarmxbkhrngnikepnkarechuxechiyephuxthasngkhramkbesaetelwur rahwangthixyubnaexntxathxll ekhamikhwamsmphnthkhurkkbhyingthxngthin aesdngihehnthungkarthiekhatngicmikhwamsmphnththiiklchidkbchawopnepyaelatxtanesaetelwurethann caktananhlaychbbklawwasngkhramekidkhunthinnmaotl hlngcakthikarelnrahwangedkthxngthinkbedkcakeruxaekhnukhxngxiosekeleklkhyayepnkartxsukn intananchbbxunklawwa phuchwykhxngekhaywnkrbthxngthinthicudndphbthitraetriymiwkxn xikchbbhnungklawwaxiosekelekliderimkarclaclhlngcakidrbkhwamiwwangiccakecaban aelaidrbkhwamchwyehluxcakkhnthxngthinthithukkdkhi bangchbbklawwahlngcakthixiosekeleklehnpxmprakarthinnmaotl aelwtxngkarthxntw aetidrbkarchwyehluxcakhyingthithukrngekiyccakkhrxbkhrwphupkkhrxng inxikchbbhnungklawwankrbkhxngxiosekeleklidrbkhwamchwyehluxcakxawuththithuksxnthiprakdxxkmaihehninkhnann kraaeskhxngsngkhramphlikklbipmaxyuhlaykhrng aetcbdwykarthiesaetelwurthxnthharxxkcakekaaopnepy tananklawwasngkhramcblngemuxesaetelwurxyangesaetmowlthxnthphkhunipbnaenwekhasulathar caknnekhaklayrangepnhlaaelayngkhngxyucnthungpccubn xiosekeleklsthapnatnepnnan mwarkis aelakhrxngxanacthinnmaotlehmuxnkbrachwngsesaetelwurthipkkhrxngmakxnekhasingsubthxdrabbbrrnakarkhxngesaetelwurldruplng aetyngkhngxyuinthangpraephniinyukhhlng praephnikarmxbkhxngkhwyaelacdnganeliynginngansphkhxngyukhhlngidrbaenwptibtimacakkarmxbbrrnakarinsmyesaetelwur 30 echingxrrthxang Ballinger 1978 mown mewyepnesaetelwurkhnthisxngaelaesaetmowlepnkhnsudthay aetchixaelaladbxunimepnthithrabaenchd smyesaetelwurkinewlapraman 500 pi tananodythwiprabuwalmslaypramankhristthswrrs 1500 aetnkobrankhdirabuxayukhxngsakprkhkphngkhxngesaetelwurcnthungpraman kh s 1628 Hanlon 1988 xthibaythungaehlngkhxmulthiaetktangekiywkbcanwnphupkkhrxngesaetelwur mitngaetpraman 8 17 khn thaihimsamarththrabtwelkhthiaenchdid 234 xangxingHanlon David L 1988 Upon a Stone Altar A History of the Island of Pohnpei to 1890 Pacific Islands Monograph Vol 5 University of Hawaii Press pp 13 25 ISBN 0 8248 1124 0 subkhnemux 2012 01 01 Flood Bo Strong Beret E Flood William 2002 Micronesian Legends Bess Press pp 145 7 160 ISBN 1 57306 129 8 subkhnemux 2012 01 01 Cordy Ross H 1993 The Lelu Stone Ruins Kosrae Micronesia 1978 81 Historical and Archaeological Research Asian and Pacific Archaeology Social Science Research Institute University of Hawaii at Manoa pp 14 254 258 ISBN 0 8248 1134 8 subkhnemux 2011 12 31 Morgan William N 1988 Prehistoric Architecture in Micronesia University of Texas Press pp 60 63 76 85 ISBN 0 292 76506 1 subkhnemux 2011 12 31 Panholzer Tom Rufino Mauricio 2003 Place Names of Pohnpei Island Including And Ant and Pakin Atolls Bess Press pp xiii 21 22 25 38 48 56 63 71 72 74 104 ISBN 1 57306 166 2 subkhnemux 2011 12 31 Micronesica University of Guam 1990 pp 92 203 277 subkhnemux 2011 12 31 Petersen Glenn 1990 Isokelekel Lost in the Weeds Theme and Variation in Pohnpei Political Mythology PDF Occasional Papers Center for Pacific Islands Studies School of Hawaiian Asian amp Pacific Studies University of Hawaiʻi at Manoa pp 34 et seq 10125 15545 OP35 subkhnemux 31 thnwakhm 2011 Ballinger Bill Sanborn 1978 Lost City of Stone The Story of Nan Madol the Atlantis of the Pacific Simon and Schuster pp 45 8 ISBN 0 671 24030 7 subkhnemux 2011 12 31 Riesenberg Saul H 1968 The Native Polity of Ponape Contributions to Anthropology Vol 10 Smithsonian Institution Press pp 38 51 subkhnemux 2012 01 01 McCoy Mark D Alderson Helen A Hemi Richard Cheng Hai Edwards R Lawrence November 2016 Earliest direct evidence of monument building at the archaeological site of Nan Madol Pohnpei Micronesia identified using 230Th U coral dating and geochemical sourcing of megalithic architectural stone Quaternary Research 86 3 295 303 doi 10 1016 j yqres 2016 08 002 Goodenough Ward Hunt 2002 Under Heaven s Brow Pre Christian Religious Tradition in Chuuk Memoirs of the American Philosophical Society Vol 246 American Philosophical Society p 293 ISBN 0 87169 246 5 subkhnemux 2012 01 01 Petersen Glenn 2009 Traditional Micronesian Societies Adaptation Integration and Political Organization University of Hawaii Press pp 141 145 152 208 ISBN 978 0 8248 3248 3 subkhnemux 2011 12 31 Nakano Ann 1983 Tim Porter b k Broken Canoe Conversations and Observations in Micronesia University of Queensland Press pp 246 7 ISBN 0 7022 1684 4 subkhnemux 2011 12 31 Lessa William Armand 1980 More Tales from Ulithi Atoll a Content Analysis Folklore and Mythology Studies Vol 32 University of California Press pp 73 130 ISBN 0 520 09615 0 subkhnemux 2011 12 31 Rubinstein Donald H 1992 Pacific History Papers from the 8th Pacific History Association Conference University of Guam Press amp Micronesian Area Research Center pp 206 7 ISBN 1 878453 14 9 subkhnemux 2011 12 31 Kirch Patrick Vinton 2002 On the Road of the Winds An Archaeological History of the Pacific Islands Before European Contact University of California Press pp 200 205 ISBN 0 520 23461 8 subkhnemux 2011 12 31 Castle Leila 1996 Earthwalking Sky Dancers Women s Pilgrimages to Sacred Sites Vol 56 Frog Books pp 100 1 ISBN 1 883319 33 1 subkhnemux 2011 12 31 Jones Lindsay 2005 Encyclopedia of Religion Vol 9 2 ed Macmillan Reference ISBN 0 02 865742 X subkhnemux 2011 12 31 Fields Jack Fields Dorothy 1973 South Pacific A H amp A W Reed pp 111 2 subkhnemux 2011 12 31 Goetzfridt Nicholas J Peacock Karen M 2002 Micronesian Histories An Analytical Bibliography and Guide to Interpretations Bibliographies and Indexes in World History Greenwood Publishing Group pp 3 34 5 102 156 9 ISBN 0 313 29103 9 subkhnemux 2011 12 31 American Anthropologist Vol 95 Washington D C American Anthropological Association 1993 ISBN 9780028657424 subkhnemux 2011 12 31 Kahn Ely Jacques 1966 A Reporter in Micronesia W W Norton p 151 subkhnemux 2011 12 31 Price Willard 1936 Pacific Adventure Reynal amp Hitchcock pp 240 1 subkhnemux 2011 12 31 Keating Elizabeth Lillian 1998 Power Sharing Language Rank Gender and Social Space in Pohnpei Micronesia Oxford Studies in Anthropological Linguistics Vol 23 Oxford University Press p 89 ISBN 0 19 511197 4 subkhnemux 2011 12 31 hnngsuxxanephim Ayres William S Nan Madol Pohnpei SAA Bulletin Vol 10 Nov 1992 Society for American Archaeology Ayres William S Pohnpei s Position in Eastern Micronesian Prehistory Micronesica Supplement 2 Proceedings Indo Pacific Prehistory Association Guam 1990 pp 187 212 Ayres William S Mystery Islets of Micronesia Archaeology Jan Feb 1990 pp 58 63aehlngkhxmulxunAyres William Nan Madol Madolenihmw Pohnpei Department of Anthropology University Of Oregon subkhnemux 2012 01 01 6 51 N 158 13 E 6 850 N 158 217 E 6 850 158 217