ภาษาแอกแคด (อังกฤษ: Akkadian language; แอกแคด: 𒀝𒅗𒁺𒌑 akkadû) เป็นภาษากลุ่มเซมิติกใช้พูดในเมโสโปเตเมียโบราณ รวมทั้งและชาวอัสซีเรีย ชื่อของภาษานี้มาจากเมืองแอกแคดซึ่งเป็นศูนย์กลางของอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
ภาษาแอกแคด | |
---|---|
𒀝𒅗𒁺𒌑 akkadû | |
จารึกภาษาแอกแคดบน | |
ประเทศที่มีการพูด | อัสซีเรียและบาบิโลน |
ภูมิภาค | เมโสโปเตเมีย |
ยุค | ประมาณ 2500 – 500 ปีก่อน ค.ศ.; ทางศาสนาหรือวิชาการถึง ค.ศ. 100 |
ตระกูลภาษา | แอโฟรเอชีแอติก
|
ระบบการเขียน | อักษรรูปลิ่มซูเมอร์-แอกแคด |
สถานภาพทางการ | |
ภาษาทางการ | เริ่มใช้ที่แอกแคด (เมโสโปเตเมียตอนกลาง); ภาษากลางในตะวันออกกลางและอียิปต์ในยุคสัมฤทธิ์ตอนปลายถึงยุคเหล็กตอนต้น |
รหัสภาษา | |
ISO 639-2 | akk |
ISO 639-3 | akk |
ไวยากรณ์
เป็นภาษาที่มีการผันคำ ลักษณะทางไวยากร์ใกล้เคียงกับภาษาอาหรับคลาสสิก คำนามแบ่งเป็นสองเพศ (บุรุษ – สตรี) แบ่งเป็นสามบุคคล (เอกพจน์ – ทวิพจน์ - พหูพจน์) แบ่งสรรพนามบุรุษที่สองเป็นสองเพศด้วย มีสันธานกริยา มีการกสามแบบสำหรับคำนามและคำคุณศัพท์คือการกประธาน กรรมตรงและความเป็นเจ้าของ คำนามผันตามเพศ จำนวน และการก คำคุณศัพท์ผันแบบเดียวกับคำนามที่ขยาย
ภาษาแอกแคดมีรากศัพท์ 13 กลุ่ม โดยกลุ่มพื้นฐานมีสามกลุ่มคือ กลุ่มรากศัพท์พื้นฐานสามกลุ่ม (numbered I, หรือ Grundstamm, G-Stamm) จะถูกเพิ่มเติมด้วยการซ้ำอักษรตัวที่สอง (II หรือDoppelungsstamm, D-Stamm), อุปสรรค-š- (III or Š-Stamm) หรือ อุปสรรค-n (IV or N-Stamm). ลำดับที่สองสร้างโดยเติมพยางค์ ta ระหว่างรากศัพท์สองตัวแรก สองแบบนี้เป็นวิธีที่พบบ่อย กลุ่มที่สามเป็นการเติมพยางค์ tan ระหว่างอักษรตัวที่ 1 หรือ 2 รากศัพท์สุดท้ายใช้ทั้งอุปสรรค-š และการซ้ำอักษรตัวที่สอง
คำกริยาภาษาแอกแคดเป็นรากศัพท์พยัญชนะสามตัว แต่บางรากศัพท์มีพยัญชนะ 2 หรือ 4 ตัวมีสามกาลคือ ปัจจุบัน อดีต และเหตุการณ์ที่ต้องใช้คำนำหน้า การเรียงประโยคเป็นแบบประธาน-กรรม-กริยาซึ่งต่งจากภาษาเซมิติกโบราณอื่น ๆ เช่น ภาษาอาหรับและภาษาฮีบรูในไบเบิลที่เป็นแบบกริยา-ประธาน-กรรม คาดว่าการเรียงคำแบบนี้ได้รับอิทธิพลมาจากภาษาซูเมอร์ซึ่งเรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา เช่นเดียวกัน
อ้างอิง
- Black, Jeremy A.; George, Andrew; Postgate, J. N. (2000-01-01). A Concise Dictionary of Akkadian. Otto Harrassowitz Verlag. p. 10. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-05-11. สืบค้นเมื่อ 2020-10-15.
- John Huehnergard & Christopher Woods, "Akkadian and Eblaite", The Cambridge Encyclopedia of the World's Ancient Languages. Ed. Roger D. Woodard (2004, Cambridge) Pages 218-280
แหล่งข้อมูลอื่น
- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ภาษาแอกแคด
- วิกิซอร์ซมีงานที่เกี่ยวข้องกับ ภาษาแอกแคด
- Akkadian cuneiform ที่ Omniglot (Writing Systems and Languages of the World)
- Introduction to Cuneiform Script and the Akkadian language ที่ The Open Richly Annotated Cuneiform Corpus (Oracc)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phasaaexkaekhd xngkvs Akkadian language aexkaekhd 𒀝𒅗𒁺𒌑 akkadu epnphasaklumesmitikichphudinemosopetemiyobran rwmthngaelachawxssieriy chuxkhxngphasanimacakemuxngaexkaekhdsungepnsunyklangkhxngxarythrrmemosopetemiyphasaaexkaekhd𒀝𒅗𒁺𒌑 akkaducarukphasaaexkaekhdbnpraethsthimikarphudxssieriyaelababiolnphumiphakhemosopetemiyyukhpraman 2500 500 pikxn kh s thangsasnahruxwichakarthung kh s 100trakulphasaaexofrexchiaextik esmitikphasaaexkaekhdrabbkarekhiynxksrruplimsuemxr aexkaekhdsthanphaphthangkarphasathangkarerimichthiaexkaekhd emosopetemiytxnklang phasaklangintawnxxkklangaelaxiyiptinyukhsmvththitxnplaythungyukhehlktxntnrhsphasaISO 639 2akkISO 639 3akkbthkhwamnimisylksnsthxksrsakl hakrabbkhxngkhunimrxngrbkaraesdngphlthithuktxng khunxacehnprsni klxng hruxsylksnxyangxunaethnthixkkhrayuniokhdiwyakrnepnphasathimikarphnkha lksnathangiwyakriklekhiyngkbphasaxahrbkhlassik khanamaebngepnsxngephs burus stri aebngepnsambukhkhl exkphcn thwiphcn phhuphcn aebngsrrphnamburusthisxngepnsxngephsdwy misnthankriya mikarksamaebbsahrbkhanamaelakhakhunsphthkhuxkarkprathan krrmtrngaelakhwamepnecakhxng khanamphntamephs canwn aelakark khakhunsphthphnaebbediywkbkhanamthikhyay phasaaexkaekhdmiraksphth 13 klum odyklumphunthanmisamklumkhux klumraksphthphunthansamklum numbered I hrux Grundstamm G Stamm cathukephimetimdwykarsaxksrtwthisxng II hruxDoppelungsstamm D Stamm xupsrrkh s III or S Stamm hrux xupsrrkh n IV or N Stamm ladbthisxngsrangodyetimphyangkh ta rahwangraksphthsxngtwaerk sxngaebbniepnwithithiphbbxy klumthisamepnkaretimphyangkh tan rahwangxksrtwthi 1 hrux 2 raksphthsudthayichthngxupsrrkh s aelakarsaxksrtwthisxng khakriyaphasaaexkaekhdepnraksphthphyychnasamtw aetbangraksphthmiphyychna 2 hrux 4 twmisamkalkhux pccubn xdit aelaehtukarnthitxngichkhanahna kareriyngpraoykhepnaebbprathan krrm kriyasungtngcakphasaesmitikobranxun echn phasaxahrbaelaphasahibruinibebilthiepnaebbkriya prathan krrm khadwakareriyngkhaaebbniidrbxiththiphlmacakphasasuemxrsungeriyngpraoykhaebbprathan krrm kriya echnediywknxangxingBlack Jeremy A George Andrew Postgate J N 2000 01 01 A Concise Dictionary of Akkadian Otto Harrassowitz Verlag p 10 ISBN 9783447042642 cakaehlngedimemux 2021 05 11 subkhnemux 2020 10 15 John Huehnergard amp Christopher Woods Akkadian and Eblaite The Cambridge Encyclopedia of the World s Ancient Languages Ed Roger D Woodard 2004 Cambridge Pages 218 280aehlngkhxmulxunmikarthdsxb phasaaexkaekhd khxngwikiphiediy thiwikimiediy xinkhiwebetxr sahrbraykarkhathiekiywkhxngkb phasaaexkaekhd duthihmwdhmukhxng phasaaexkaekhd inwikiphcnanukrm xphithansphthesri wikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb phasaaexkaekhd wikisxrsminganthiekiywkhxngkb phasaaexkaekhd Akkadian cuneiform thi Omniglot Writing Systems and Languages of the World Introduction to Cuneiform Script and the Akkadian language thi The Open Richly Annotated Cuneiform Corpus Oracc