พันธะแฮโลเจน (อังกฤษ: Halogen bond) เป็นอันตรกิริยานอนโคเวเลนต์ (noncovalent interactions) ชนิดหนึ่ง ที่เกิดขึ้นระหว่างอะตอมของที่มีสมบัติเป็น (lewis acid) กับอะตอมที่มีสมบัติเป็นเบสลิวอิส (Lewis Base) และจะเกิดขึ้นเมื่ออะตอมของธาตุแฮโลเจนเป็น (electrophile) เท่านั้น
นิยามโดย IUPAC
พันธะแฮโลเจน R−X···Y−Z เกิดขึ้นเมื่อมีหลักฐานการปรากฏของอันตรกิริยาแบบดึงดูดโดยสุทธิระหว่างบริเวณที่เป็นอิเล็กโตรไฟล์ (electrophilic region หมายถึง บริเวณที่มีอิเล็กตรอนเบาบาง) บนอะตอมของธาตุแฮโลเจน X กับส่วนของโมเลกุล R-X (เมื่อ R สามารถเป็นอะตอมชนิดอื่นรวมทั้งอะตอม X หรือกลุ่มของอะตอมอื่นๆ) และบริเวณที่เป็น (nucleophilic region หมายถึง บริเวณที่มีความหนาแน่นของอิเล็กตรอนมาก) ของโมเลกุลหรือส่วนของโมเลกุล (molecular fragment) Y-Z
การเปรียบเทียบระหว่างพันธะแฮโลเจนและพันธะไฮโดรเจน
พันธะไฮโดรเจนและพันธะแฮโลเจนแสดงโดยเส้นประ
- พันธะไฮโดรเจน
- พันธะแฮโลเจน
ในกรณีของพันธะไฮโดรเจน อะตอมผู้ให้ (donor; D) คือ อะตอม กลุ่มของอะตอม หรือโมเลกุลที่มีความหนาแน่นของอิเล็กตรอนมากและสามารถสร้างอันตรกิริยาแบบดึงดูด (attractive interaction) กับอะตอมของไฮโดรเจนที่มีความหนาแน่นของอิเล็กตรอนต่ำได้ โดยอะตอมของไฮโดรเจนต้องมีการสร้างเกิดพันธะกับอะตอม A ที่มีความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนสูง เช่นเดียวกันกับในกรณีของพันธะแฮโลเจน อะตอม กลุ่มอะตอม หรือโมเลกุล R มีความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอนสูง ทำให้อะตอมของแฮโลเจน X มีความหนาแน่นของอิเล็กตรอนต่ำหรือมีเป็นบริเวณที่เป็นอิเล็กโตรไฟล์ ทำให้เกิดอันตรกิริยาแบบดึงดูดกับอะตอม Y ซึ่งมีความหนาแน่นของอิเล็กตรอนสูงได้
ข้อสังเกต
ข้อสังเกตที่สำคัญเมื่อมีพันธะแฮโลเจนเกิดขึ้นเสนอขึ้นโดยนักผลิกศาสตร์ โคตะมะ เทสิราช (Gautam R. Desiraju) และคณะ ดังนี้
ในที่มีพันธะแฮโลเจน R–X···Y–Z:
- ระยะทางระหว่างอะตอมแฮโลเจนผู้ให้ (donor halogen atom) และอะตอมผู้รับ (acceptor atom) Y มีแนวโน้มที่จะมีค่าน้อยกว่าผลรวมของรัสมีแวนเดอร์วาลส์ของอะตอม X และอะตอม Y
- มุม R-X···Y มีแนวโน้มที่จะเป็นมุมตรง (180°) อะตอมของธาตุแฮโลเจน X มีแนวโน้มที่จะจัดวางตัวในทิศทางของแกนของ n (n-lone pair) บนอะตอม Y หรือคู่อิเล็กตรอนใน (π-bond electron pair)ใน Y-Z
- โดยปกติแล้วความยาวของพันธะโคเวเลนต์ R-X จะเพิ่มขึ้น
- ความแข็งแรงของพันธะแฮโลเจนจะลดลงเมื่อของอะตอม X เพิ่มขึ้น และเมื่อความสามารถในการดึงอิเล็กตรอนของอะตอมหรือกลุ่มอะตอม R ลดลง
- แรงโดยเบื้องต้นที่มีส่วนในเกิดขึ้นในการของพันธะแฮโลเจน คือ (electrostatic force) (ที่ประกอบด้วยการโพลาไรเซชัน) และ (dispersion) และแรงอื่นๆ โดยอาจแตกต่างกันแล้วแต่กรณี
- การวิเคราะห์ของความหนาแน่นของอิเล็กตรอนมักจะแสดงวิถีของการเชื่อมต่อพันธะที่เชื่อมระหว่างอะตอม X และอะตอม Y และจุดวิกฤติของพันธะ (bond critical point)ระหว่างอะตอม X และอะตอม Y
- มีรูปแบบการสั่น (vibrational modes) แบบใหม่จากการเกิดพันธะ X···Y เกิดขึ้นและมีการเปลี่ยนแปลงการดูดกลืน (infrared absorption) และการดูดกลืนรามาน (Rraman absorption)ของ R-X และ Y-Z เกิดขึ้น
- โดยปกติแล้วพันธะแฮโลเจน X···Y จะทำให้เกิดการเลื่อนไปทางน้ำเงิน (blue shift) อย่างเป็นเอกลักษณ์ในสเปกตรัมยูวี-วิสิเบิลของอะตอมผู้ให้พันธะแฮโลเจน
- โดยปกติแล้วพันธะแฮโลเจน X···Y จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นเอกลักษณ์ในสัญญาณของ R-X และ Y-Z
- อะตอมแฮโลเจน X อาจมีส่วนร่วมในพันธะแฮโลเจนมากกว่าหนึ่งพันธะ
- พันธะแฮโลเจนอาจมีส่วนร่วมในการเกิดปฏิกิริยาการถ่ายโอนแฮโลเจน (halogen transfer reactions)หรือในปรากฏการณ์ที่ว่องไวต่อปฏิกิริยาอื่นๆ
ประโยชน์
พันธะแฮโลเจนกำลังเป็นที่สนใจของนักวิทยาศาสตร์สาขาผลิกศาสตร์โดยเฉพาะการออกแบบโครงสร้างผลึก ซึ่งพันธะแฮโลเจนได้ถูกใช้เป็นเครื่องมือในระดับโมเลกุลในการสร้างโครงสร้างผลึกให้มีสมบัติตามที่ออกแบบไว้ และยังพบพันธะชนิดนี้ในสารชีวโมเลกุลขนาดใหญ่อีกด้วย อย่างไรก็ตาม พันธะแฮโลเจนยังถือว่าเป็นอันตรกิริยาในระดับโมเลกุลที่ใหม่และยังไม่เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายนัก
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- DEFINITION OF THE HALOGEN BOND. Recommendation submitted by the IUPAC task group (2009-032-1-100) Gautam R. Desiraju, et al. 2012-09-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phnthaaeholecn xngkvs Halogen bond epnxntrkiriyanxnokhewelnt noncovalent interactions chnidhnung thiekidkhunrahwangxatxmkhxngthimismbtiepn lewis acid kbxatxmthimismbtiepnebsliwxis Lewis Base aelacaekidkhunemuxxatxmkhxngthatuaeholecnepn electrophile ethannphnthaaeholecnthiekidkhunrahwangomelkulkhxngixoxodkhlxirdaelaomelkulexmin aesdngdwyesnpraniyamody IUPACphnthaaeholecn R X Y Z ekidkhunemuxmihlkthankarpraktkhxngxntrkiriyaaebbdungdudodysuththirahwangbriewnthiepnxielkotrifl electrophilic region hmaythung briewnthimixielktrxnebabang bnxatxmkhxngthatuaeholecn X kbswnkhxngomelkul R X emux R samarthepnxatxmchnidxunrwmthngxatxm X hruxklumkhxngxatxmxun aelabriewnthiepn nucleophilic region hmaythung briewnthimikhwamhnaaennkhxngxielktrxnmak khxngomelkulhruxswnkhxngomelkul molecular fragment Y Zkarepriybethiybrahwangphnthaaeholecnaelaphnthaihodrecnphnthaihodrecnaelaphnthaaeholecnaesdngodyesnpra 1 D H A displaystyle mathrm 1 D cdots H A 2 Z Y X R displaystyle mathrm 2 Z Y cdots X R phnthaihodrecn phnthaaeholecn inkrnikhxngphnthaihodrecn xatxmphuih donor D khux xatxm klumkhxngxatxm hruxomelkulthimikhwamhnaaennkhxngxielktrxnmakaelasamarthsrangxntrkiriyaaebbdungdud attractive interaction kbxatxmkhxngihodrecnthimikhwamhnaaennkhxngxielktrxntaid odyxatxmkhxngihodrecntxngmikarsrangekidphnthakbxatxm A thimikhwamsamarthinkardungdudxielktrxnsung echnediywknkbinkrnikhxngphnthaaeholecn xatxm klumxatxm hruxomelkul R mikhwamsamarthinkardungdudxielktrxnsung thaihxatxmkhxngaeholecn X mikhwamhnaaennkhxngxielktrxntahruxmiepnbriewnthiepnxielkotrifl thaihekidxntrkiriyaaebbdungdudkbxatxm Y sungmikhwamhnaaennkhxngxielktrxnsungidkhxsngektkhxsngektthisakhyemuxmiphnthaaeholecnekidkhunesnxkhunodynkphliksastr okhtama ethsirach Gautam R Desiraju aelakhna dngni inthimiphnthaaeholecn R X Y Z rayathangrahwangxatxmaeholecnphuih donor halogen atom aelaxatxmphurb acceptor atom Y miaenwonmthicamikhanxykwaphlrwmkhxngrsmiaewnedxrwalskhxngxatxm X aelaxatxm Ymum R X Y miaenwonmthicaepnmumtrng 180 xatxmkhxngthatuaeholecn X miaenwonmthicacdwangtwinthisthangkhxngaeknkhxng n n lone pair bnxatxm Y hruxkhuxielktrxnin p bond electron pair in Y Zodypktiaelwkhwamyawkhxngphnthaokhewelnt R X caephimkhunkhwamaekhngaerngkhxngphnthaaeholecncaldlngemuxkhxngxatxm X ephimkhun aelaemuxkhwamsamarthinkardungxielktrxnkhxngxatxmhruxklumxatxm R ldlngaerngodyebuxngtnthimiswninekidkhuninkarkhxngphnthaaeholecn khux electrostatic force thiprakxbdwykarophlaireschn aela dispersion aelaaerngxun odyxacaetktangknaelwaetkrnikarwiekhraahkhxngkhwamhnaaennkhxngxielktrxnmkcaaesdngwithikhxngkarechuxmtxphnthathiechuxmrahwangxatxm X aelaxatxm Y aelacudwikvtikhxngphntha bond critical point rahwangxatxm X aelaxatxm Ymirupaebbkarsn vibrational modes aebbihmcakkarekidphntha X Y ekidkhunaelamikarepliynaeplngkardudklun infrared absorption aelakardudklunraman Rraman absorption khxng R X aela Y Z ekidkhunodypktiaelwphnthaaeholecn X Y cathaihekidkareluxnipthangnaengin blue shift xyangepnexklksninsepktrmyuwi wisiebilkhxngxatxmphuihphnthaaeholecnodypktiaelwphnthaaeholecn X Y cathaihekidkarepliynaeplngxyangepnexklksninsyyankhxng R X aela Y Zxatxmaeholecn X xacmiswnrwminphnthaaeholecnmakkwahnungphnthaphnthaaeholecnxacmiswnrwminkarekidptikiriyakarthayoxnaeholecn halogen transfer reactions hruxinpraktkarnthiwxngiwtxptikiriyaxunpraoychnphnthaaeholecnkalngepnthisnickhxngnkwithyasastrsakhaphliksastrodyechphaakarxxkaebbokhrngsrangphluk sungphnthaaeholecnidthukichepnekhruxngmuxinradbomelkulinkarsrangokhrngsrangphlukihmismbtitamthixxkaebbiw aelayngphbphnthachnidniinsarchiwomelkulkhnadihyxikdwy xyangirktam phnthaaeholecnyngthuxwaepnxntrkiriyainradbomelkulthiihmaelayngimepnthiruckxyangaephrhlaynk phnthaaeholecnthiekidkhunrahwangomelkul aesdngodyesnpra aelathaihekidchxngwangphayinokhrngsrangsungepntwxyangkarichpraoychninkarxxkaebbokhrngsrangphlukduephimphnthaixxxnik phnthaokhewelnt phnthaolha phnthaekhmi xndbphnthaxangxingDEFINITION OF THE HALOGEN BOND Recommendation submitted by the IUPAC task group 2009 032 1 100 Gautam R Desiraju et al 2012 09 23 thi ewyaebkaemchchin