บทความนี้ต้องการการจัดหน้า หรือ ให้ คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้เพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
พันธะไอออนิก (อังกฤษ: Ionic bonding) เป็นพันธะเคมีชนิดหนึ่ง เกิดจากที่อะตอมหรือกลุ่มของอะตอมสร้างพันธะกันโดยที่อะตอมหรือกลุ่มของอะตอมให้อิเล็กตรอนกับอะตอมหรือกลุ่มของอะตอม ทำให้กลายเป็นประจุบวก ในขณะที่อะตอมหรือกลุ่มของอะตอมที่ได้รับอิเล็กตรอนนั้นกลายเป็นประจุลบ เนื่องจากทั้งสองกลุ่มมีประจุตรงกันข้ามกันจะดึงดูดกัน ทำให้เกิดพันธะไอออน โดยทั่วไปพันธะชนิดนี้มักเกิดขึ้นระหว่างโลหะกับอโลหะ โดยอะตอมที่ให้อิเล็กตรอนมักเป็นโลหะ ทำให้โลหะนั้นมีประจุบวก และอะตอมที่รับอิเล็กตรอนมักเป็นอโลหะ จึงมีประจุลบ ไอออนที่มีพันธะไอออนิกจะมีความแข็งแรงมากกว่าพันธะไฮโดรเจน แต่แข็งแรงพอ ๆ กับพันธะโคเวเลนต์
นิยาม
IUPAC นิยามพันธะไอออนิกว่าเป็น "พันธะระหว่างอะตอมที่มีอิเล็กโทรเนกาทิวิตีต่างกันอย่างมาก" ในที่นี้ พันธะไอออนิก หมายถึง แรงยึดเหนี่ยวทางไฟฟ้าสถิตที่เกิดขึ้นระหว่างประจุไฟฟ้าของและ ซึ่งแตกต่างเปรียบเทียบกับพันธะโคเวเลนต์อย่างแท้จริง ในทางปฏิบัติ เรามักจะพิจารณาค่าความเป็นไอออนิกของพันธะมากกว่าที่จะบอกว่าเป็นพันธะไอออนิกหรือพันธะโคเวเลนต์อย่างแท้จริง
ค่าความเป็นไอออนิก
ค่าความเป็นไอออนิก (Ionic Character) เป็นค่าที่ได้จากสมการความสัมพันธ์ที่ใช้ในการคำนวณความเป็นไอออนิกถูกเสนอขึ้นโดย ลินัส เพาลิง ที่ประมาณการค่าความเป็นไอออนิกระหว่างอะตอม A และ อะตอม B ดังนี
และ
เมื่อ และ คือ ค่าอิเล็กโทรเนกาทิวิตีที่เสนอโดยเพาลิงของอะตอม A และ อะตอม B ตามลำดับ
ร้อยละความเป็นไอออนิก
ร้อยละความเป็นไอออนิกเป็นการคำนวณเพื่อแสดงค่าความเป็นไอออนิกในส่วนร้อย สามารถคำนวณได้ ดังนี้:
โดยพบพันธะชนิดนี้เกือบทั้งหมดในของแข็ง"
อ้างอิง
- IUPAC. Compendium of Chemical Terminology, 2nd ed. (the "Gold Book"). Compiled by A. D. McNaught and A. Wilkinson. Blackwell Scientific Publications, Oxford (1997). XML on-line corrected version: http://goldbook.iupac.org (2006-) created by M. Nic, J. Jirat, B. Kosata; updates compiled by A. Jenkins. ISBN 0-9678550-9-8. doi:10.1351/goldbook]
- Electronegativity. II. Bond and Orbital Electronegativities Jurgen. Hinze, M. A. Whitehead, H. H. Jaffe, J. Am. Chem. Soc., 1963, 85 (2), pp 148–154, DOI: 10.1021/ja00885a008
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnitxngkarkarcdhna cdhmwdhmu islingkphayin hruxekbkwadenuxha ihmikhunphaphdikhun khunsamarthprbprungaekikhbthkhwamniid aelanapayxxk phicarnaichpaykhxkhwamxunephuxchichdkhxbkphrxng phnthaixxxnik xngkvs Ionic bonding epnphnthaekhmichnidhnung ekidcakthixatxmhruxklumkhxngxatxmsrangphnthaknodythixatxmhruxklumkhxngxatxmihxielktrxnkbxatxmhruxklumkhxngxatxm thaihklayepnpracubwk inkhnathixatxmhruxklumkhxngxatxmthiidrbxielktrxnnnklayepnpraculb enuxngcakthngsxngklummipracutrngknkhamkncadungdudkn thaihekidphnthaixxxn odythwipphnthachnidnimkekidkhunrahwangolhakbxolha odyxatxmthiihxielktrxnmkepnolha thaiholhannmipracubwk aelaxatxmthirbxielktrxnmkepnxolha cungmipraculb ixxxnthimiphnthaixxxnikcamikhwamaekhngaerngmakkwaphnthaihodrecn aetaekhngaerngphx kbphnthaokhewelntSodium and fluorine undergoing a redox reaction to form sodium fluoride Sodium loses its outer electron to give it a stable and this electron enters the fluorine atom exothermically The oppositely charged ions typically a great many of them are then attracted to each other to form a solid niyamkarcderiyngxielktrxn khxng liethiym aela fluxxrin liethiymmixielktrxn 1 twinwngokhcrchnnxksudkhxngmnsungxyuxyanghlwm ephraawa phlngnganixxxineschn ta fluxxrinmixielktrxn 7 twinwngokhcrchnnxksud emuxxielktrxn 1 tw ekhluxnthicakliethiymipyngfluxxrin aetla ixxxn cacderiyngtwknaebb aeksmiskul phlngnganphnthacak khxngsxngpracuixxnthitrngkhamknmikhaepnlbmakphx enuxngcakkarthiphlngnganinsthanathiepnphnthaodyrwmtakwasthanathiimepnphntha IUPAC niyamphnthaixxxnikwaepn phntharahwangxatxmthimixielkothrenkathiwititangknxyangmak inthini phnthaixxxnik hmaythung aerngyudehniywthangiffasthitthiekidkhunrahwangpracuiffakhxngaela sungaetktangepriybethiybkbphnthaokhewelntxyangaethcring inthangptibti eramkcaphicarnakhakhwamepnixxxnikkhxngphnthamakkwathicabxkwaepnphnthaixxxnikhruxphnthaokhewelntxyangaethcringkhakhwamepnixxxnikkhakhwamepnixxxnik Ionic Character epnkhathiidcaksmkarkhwamsmphnththiichinkarkhanwnkhwamepnixxxnikthukesnxkhunody lins ephaling thipramankarkhakhwamepnixxxnikrahwangxatxm A aela xatxm B dngni i 1 e 14 xA xB displaystyle i 1 e frac 1 4 chi A chi B i 1 exp14 xA xB 2 displaystyle i 1 exp frac 1 4 chi A chi B 2 aela i 12 xA xB displaystyle i frac 1 2 chi A chi B emux xA displaystyle chi A aela xB displaystyle chi B khux khaxielkothrenkathiwitithiesnxodyephalingkhxngxatxm A aela xatxm B tamladb rxylakhwamepnixxxnik rxylakhwamepnixxxnikepnkarkhanwnephuxaesdngkhakhwamepnixxxnikinswnrxy samarthkhanwnid dngni i 1 exp14 xA xB 2 100 displaystyle i 1 exp frac 1 4 chi A chi B 2 100 odyphbphnthachnidniekuxbthnghmdinkhxngaekhng xangxingIUPAC Compendium of Chemical Terminology 2nd ed the Gold Book Compiled by A D McNaught and A Wilkinson Blackwell Scientific Publications Oxford 1997 XML on line corrected version http goldbook iupac org 2006 created by M Nic J Jirat B Kosata updates compiled by A Jenkins ISBN 0 9678550 9 8 doi 10 1351 goldbook Electronegativity II Bond and Orbital Electronegativities Jurgen Hinze M A Whitehead H H Jaffe J Am Chem Soc 1963 85 2 pp 148 154 DOI 10 1021 ja00885a008duephimphnthaekhmi phnthaihodrecn phnthaokhwaelnt phnthaolhabthkhwamekhminiyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk