การใช้เหตุผลโดยเข้าข้าง หรือ การหาเหตุผลโดยเข้าข้าง (อังกฤษ: rationalization) เป็นกลไกป้องกันตนโดยให้เหตุผลสำหรับพฤติกรรมที่เกิดจากแรงผลักดันทางสัญชาตญาณในจิตไร้สำนึก เป็นการพยายามหาเหตุผลสำหรับพฤติกรรมต่างๆ โดยเฉพาะที่เป็นของตน เป็นวิธีการป้องกันตนไม่ให้รู้สึกผิด รักษาความเคารพตน และไม่ให้ถูกวิพากษ์วิจารณ์
การหาเหตุผลโดยเข้าข้างมีสองขั้นตอน คือ
- ตัดสินหรือทำอะไรเพราะเหตุผลอย่างหนึ่ง หรือโดยไม่มีเหตุผล (ที่รู้) เลย
- หาเหตุผลโดยเข้าข้าง คือให้เหตุผลที่ดูดีหรือสมเหตุสมผล เพื่อพยายามพิสูจน์ว่าถูกต้องหลังจากได้ทำไปแล้ว (ไม่ว่าจะสำหรับตนเองหรือผู้อื่น)
นิยามของ DSM
ตามคู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิตรุ่น 4 (DSM-IV) การใช้เหตุผลเข้าข้างตนจะเกิด "เมื่อบุคคลรับมือกับความขัดแย้งกันทางอารมณ์ หรือกับสิ่งที่ก่อความเครียดไม่ว่าจะเป็นภายในหรือภายนอก โดยปิดบังแรงจูงใจที่แท้จริงซึ่งก่อความคิด การกระทำ หรือความรู้สึก ด้วยคำอธิบายที่ทำให้สบายใจหรือเข้าข้างตนเองแต่ไม่ถูกต้อง"
ตัวอย่าง
บุคคล
- ใช้เพื่อหลีกเลี่ยงความผิดหวัง เช่น "ผมไม่ได้งานที่สมัคร แต่จริงๆ ก็ไม่อยากได้งานตั้งแต่ต้นแล้ว"
การให้เหตุผลเข้าข้างตนอย่างโต้งๆ โดยโทษคนอื่น อาจจะอยู่ในรูปแบบการโจมตีบุคคลแทนที่จะระบุเหตุผลที่สมควร บางอย่างอยู่ในรูปแบบการเปรียบเทียบ เพื่อจะลดการถูกมองว่าเลวร้าย เพื่อให้เหตุผลแก่การกระทำ หรือเพื่อจะปฏิเสธความผิด เช่น
- "อย่างน้อย [สิ่งที่เกิด] ก็ไม่แย่เท่า [สิ่งที่แย่กว่า]"
- เมื่อใช้แก้คำถูกกล่าวหา - "อย่างน้อยก็ไม่ได้ทำ [สิ่งที่แย่กว่า]"
- ในรูปแบบของทวิบถเท็จ - "ยังไงการทำ [สิ่งที่ไม่น่าทำ] ก็ยังดีกว่า [การกระทำที่แย่กว่า]"
- เมื่อตอบสนองต่อพฤติกรรมที่ไม่ยุติธรรมหรือไม่ดีของคนอื่นหรือกลุ่มอื่นๆ - "ผมน่าจะได้ทำอะไรผิดถ้าพวกเขาทำกับผมแบบนี้"
หลักฐานที่เป็นเรื่องเล่าและการสำรวจอาจแสดงว่า ในสาขาแพทยศาสตร์ มีการให้เหตุผลเข้าข้างตัวเองเพื่อปิดบังการกระทำที่ผิดพลาดมากกว่าสาขาอื่นๆ ข้อแก้ตัวที่สามัญคือ
- "จะเปิดเผยเรื่องที่ผิดพลาดไปทำไม เดี๋ยวคนไข้ก็จะตายอยู่ดี"
- "การบอกสิ่งที่ทำผิดพลาดแก่ครอบครัวจะทำให้พวกเขารู้สึกแย่กว่านี้"
- "มันเป็นความผิดของคนไข้ ถ้าเขาไม่ได้ (ป่วยเป็นต้น) ถึงขนาดนี้ เรื่องที่ผิดพลาดก็จะไม่เป็นปัญหาถึงขนาดนี้"
- "โอ้ย เราทำดีที่สุดแล้ว เรื่องอย่างนี้มันเกิดขึ้นได้"
- "ถ้าเราไม่แน่ใจ 100% ว่า สิ่งที่ทำผิดพลาดก่อปัญหา เราก็ไม่จำเป็นต้องบอก"
- "คนไข้ตายไปแล้ว จึงไม่จำเป็นต้องโทษใคร"
การให้เหตุผลเข้าข้างตัวเองซึ่งใช้เป็นข้อแก้ตัวสำหรับพฤติกรรมผิดปกติ พบว่ามีส่วนทำให้พฤติกรรมผิดปกติเกิดขึ้นและคงยืน
กลุ่ม
ข้อคัดค้าน
นักวิทยาศาสตร์บางท่านวิจารณ์แนวคิดว่า สมองได้วิวัฒนาการขึ้นเพื่อให้เหตุผลแก่การตัดสินใจที่ไม่สมเหตุผล โดยอ้างว่ากระบวนการวิวัฒนาการย่อมคัดเลือกไม่ให้ใช้พลังงานเพิ่มสำหรับกระบวนการทางจิตใจที่ไม่ช่วยให้ตัดสินใจได้ดีขึ้น เช่น การให้เหตุผลแก่การตัดสินใจที่อย่างไรก็จะเกิดอยู่ดี และอ้างว่าการให้เหตุผลเข้าข้างตนทำให้เรียนรู้ได้น้อยลงจากการกระทำที่ผิดพลาด ไม่ใช่มากขึ้น
ความไม่ลงรอยกันทางประชาน
ในปี 1957 นักจิตวิทยาชาวอเมริกันได้ชี้ว่า เมื่อคนมีความคิดต่างๆ ที่ไม่สอดคล้องกัน ก็จะรู้สึกไม่สบายใจ การให้เหตุผลเข้าข้างตนสามารถลดความไม่สบายใจ โดยให้คำอธิบายเพื่อกำจัดความไม่ลงรอยกัน เช่น เมื่อคนกลับมาสูบบุหรี่ใหม่หลังจากที่ได้เลิก โดยชี้ว่าหลักฐานว่ามันเป็นอันตรายหนักแน่นน้อยกว่าที่เคยคิด
ดูเพิ่ม
เชิงอรรถและอ้างอิง
- "Rationalization". American Psychological Association.
- "Rationalization".
- DSM-IV-TR : diagnostic and statistical manual of mental disorders (4TH ed.). United States: AMERICAN PSYCHIATRIC PRESS INC (DC). 2000. p. 812. doi:10.1176/appi.books.9780890420249.dsm-iv-tr. ISBN .
when the individual deals with emotional conflict or internal or external stressors by concealing the true motivations for their own thoughts, actions, or feelings through the elaboration of reassuring or self serving but incorrect explanations
- Banja, John (2004). Medical Errors and Medical Narcissism. Sudbury: Jones and Bartlett. ISBN .
- Kaptein, Muel; van Helvoort, Martien (2019-10-03). "A Model of Neutralization Techniques". Deviant Behavior. 40 (10): 1260–1285. doi:10.1080/01639625.2018.1491696. ISSN 0163-9625.
- Smith & Mackie 2007, p. 513.
- Perls, Frederick S. (1971). Gestalt Therapy Verbatim. Bantam Books. p. 9. ISBN .
- Pfeifer, Rolf; Bongard, Josh (2006). How the Body Shapes the Way We Think. Cambridge, Massachusetts London: MIT Press. ISBN .
- Smith & Mackie 2007, pp. 277–8.
- Smith & Mackie 2007, pp. 280–4.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Smith, Eliot R.; Mackie, Diane M. (2007). Social Psychology (ภาษาอังกฤษ) (3rd ed.). Psychology Press. ISBN .
- McLaughlin, Brian P.; Rorty, Amélie, บ.ก. (1988). Perspectives on Self-deception (ภาษาอังกฤษ). University of California Press. ISBN .
- Tsang, Jo-Ann (2002). "Moral rationalization and the integration of situational factors and psychological processes in immoral behavior" (PDF). Review of General Psychology. 6 (1): 25–50. doi:10.1037/1089-2680.6.1.25. S2CID 3869738.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha karichehtuphlodyekhakhang hrux karhaehtuphlodyekhakhang xngkvs rationalization epnklikpxngkntnodyihehtuphlsahrbphvtikrrmthiekidcakaerngphlkdnthangsychatyanincitirsanuk epnkarphyayamhaehtuphlsahrbphvtikrrmtang odyechphaathiepnkhxngtn epnwithikarpxngkntnimihrusukphid rksakhwamekharphtn aelaimihthukwiphakswicarn karhaehtuphlodyekhakhangmisxngkhntxn khux tdsinhruxthaxairephraaehtuphlxyanghnung hruxodyimmiehtuphl thiru ely haehtuphlodyekhakhang khuxihehtuphlthidudihruxsmehtusmphl ephuxphyayamphisucnwathuktxnghlngcakidthaipaelw imwacasahrbtnexnghruxphuxun niyamkhxng DSMtamkhumuxkarwinicchyaelasthitisahrbkhwamphidpktithangcitrun 4 DSM IV karichehtuphlekhakhangtncaekid emuxbukhkhlrbmuxkbkhwamkhdaeyngknthangxarmn hruxkbsingthikxkhwamekhriydimwacaepnphayinhruxphaynxk odypidbngaerngcungicthiaethcringsungkxkhwamkhid karkratha hruxkhwamrusuk dwykhaxthibaythithaihsbayichruxekhakhangtnexngaetimthuktxng twxyangbukhkhl ichephuxhlikeliyngkhwamphidhwng echn phmimidnganthismkhr aetcring kimxyakidngantngaettnaelw karihehtuphlekhakhangtnxyangotng odyothskhnxun xaccaxyuinrupaebbkarocmtibukhkhlaethnthicarabuehtuphlthismkhwr bangxyangxyuinrupaebbkarepriybethiyb ephuxcaldkarthukmxngwaelwray ephuxihehtuphlaekkarkratha hruxephuxcaptiesthkhwamphid echn xyangnxy singthiekid kimaeyetha singthiaeykwa emuxichaekkhathukklawha xyangnxykimidtha singthiaeykwa inrupaebbkhxngthwibthethc yngingkartha singthiimnatha kyngdikwa karkrathathiaeykwa emuxtxbsnxngtxphvtikrrmthiimyutithrrmhruximdikhxngkhnxunhruxklumxun phmnacaidthaxairphidthaphwkekhathakbphmaebbni hlkthanthiepneruxngelaaelakarsarwcxacaesdngwa insakhaaephthysastr mikarihehtuphlekhakhangtwexngephuxpidbngkarkrathathiphidphladmakkwasakhaxun khxaektwthisamykhux caepidephyeruxngthiphidphladipthaim ediywkhnikhkcatayxyudi karbxksingthithaphidphladaekkhrxbkhrwcathaihphwkekharusukaeykwani mnepnkhwamphidkhxngkhnikh thaekhaimid pwyepntn thungkhnadni eruxngthiphidphladkcaimepnpyhathungkhnadni oxy erathadithisudaelw eruxngxyangnimnekidkhunid thaeraimaenic 100 wa singthithaphidphladkxpyha erakimcaepntxngbxk khnikhtayipaelw cungimcaepntxngothsikhr karihehtuphlekhakhangtwexngsungichepnkhxaektwsahrbphvtikrrmphidpkti phbwamiswnthaihphvtikrrmphidpktiekidkhunaelakhngyun klum karihehtuphlekhakhangphwktwexng idichinkarrukranthasngkhramepnpraca odyykyxngphwktwexngaelwthaihxikfayhnungepnphuray echn thharfayeracaduaelkhncn thharfaystrucakhmkhunphwkekha khxkhdkhannkwithyasastrbangthanwicarnaenwkhidwa smxngidwiwthnakarkhunephuxihehtuphlaekkartdsinicthiimsmehtuphl odyxangwakrabwnkarwiwthnakaryxmkhdeluxkimihichphlngnganephimsahrbkrabwnkarthangciticthiimchwyihtdsiniciddikhun echn karihehtuphlaekkartdsinicthixyangirkcaekidxyudi aelaxangwakarihehtuphlekhakhangtnthaiheriynruidnxylngcakkarkrathathiphidphlad imichmakkhunkhwamimlngrxyknthangprachaninpi 1957 nkcitwithyachawxemriknidchiwa emuxkhnmikhwamkhidtang thiimsxdkhlxngkn kcarusukimsbayic karihehtuphlekhakhangtnsamarthldkhwamimsbayic odyihkhaxthibayephuxkacdkhwamimlngrxykn echn emuxkhnklbmasubbuhriihmhlngcakthiidelik odychiwahlkthanwamnepnxntrayhnkaennnxykwathiekhykhidduephimkhwamexnexiyngephuxyunyn ptiesthniym khwamehnuxkwaethiym smmtithanolkyutithrrm karhlxklwngtwexng karothsphuesiyhayechingxrrthaelaxangxing Rationalization American Psychological Association Rationalization DSM IV TR diagnostic and statistical manual of mental disorders 4TH ed United States AMERICAN PSYCHIATRIC PRESS INC DC 2000 p 812 doi 10 1176 appi books 9780890420249 dsm iv tr ISBN 978 0 89042 025 6 when the individual deals with emotional conflict or internal or external stressors by concealing the true motivations for their own thoughts actions or feelings through the elaboration of reassuring or self serving but incorrect explanations Banja John 2004 Medical Errors and Medical Narcissism Sudbury Jones and Bartlett ISBN 0 7637 8361 7 Kaptein Muel van Helvoort Martien 2019 10 03 A Model of Neutralization Techniques Deviant Behavior 40 10 1260 1285 doi 10 1080 01639625 2018 1491696 ISSN 0163 9625 Smith amp Mackie 2007 p 513 Perls Frederick S 1971 Gestalt Therapy Verbatim Bantam Books p 9 ISBN 978 0 553 20778 1 Pfeifer Rolf Bongard Josh 2006 How the Body Shapes the Way We Think Cambridge Massachusetts London MIT Press ISBN 978 0 262 53742 1 Smith amp Mackie 2007 pp 277 8 Smith amp Mackie 2007 pp 280 4 aehlngkhxmulxun Smith Eliot R Mackie Diane M 2007 Social Psychology phasaxngkvs 3rd ed Psychology Press ISBN 9781841694092 McLaughlin Brian P Rorty Amelie b k 1988 Perspectives on Self deception phasaxngkvs University of California Press ISBN 9780520061231 Tsang Jo Ann 2002 Moral rationalization and the integration of situational factors and psychological processes in immoral behavior PDF Review of General Psychology 6 1 25 50 doi 10 1037 1089 2680 6 1 25 S2CID 3869738