สมมติฐานโลกยุติธรรม (อังกฤษ: just-world hypothesis, just-world fallacy) เป็นความเอนเอียงทางประชาน หรือเป็นการสมมุติว่า การกระทำของบุคคลหนึ่ง ๆ มีแนวโน้มที่จะนำผลที่ยุติธรรมโดยศีลธรรมและที่เหมาะสมมายังบุคคลนั้น ๆ คือในที่สุดกรรมดีก็จะได้ผลดี และกรรมชั่วก็จะได้ผลชั่ว กล่าวอีกอย่างก็คือ เป็นแนวโน้มที่จะอ้างหรือคาดหวังว่า ผลที่เห็นมีเหตุเนื่องกับพลังจักรวาลที่ปรับโลกให้สมดุลอย่างยุติธรรม ความเชื่อเช่นนี้ทั่วไปส่องถึงความเชื่อเรื่องความยุติธรรมจักรวาล ชะตากรรม ลิขิตของผู้เป็นเจ้า ความสมดุลทางจักรวาล ระเบียบจักรวาล และมีโอกาสสูงที่จะให้ผลเป็นเหตุผลวิบัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่บุคคลให้เหตุผลความเคราะห์ร้ายของผู้อื่นว่า คน ๆ นั้น ๆ "สมควร" จะได้รับผลเช่นนั้น
ในภาษาอังกฤษ สมมติฐานเช่นนี้พบได้ในภาพพจน์ต่าง ๆ ที่แสดงนัยรับประกันที่จะได้ผลร้ายคืน เช่น "You got what was coming to you" (คุณได้สิ่งที่ควรจะมาหาคุณ) "What goes around comes around" (อะไรเวียนไปก็ย่อมจะเวียนมา) "chickens come home to roost" (ไก่ย่อมกลับบ้านเพื่อมานอน) และ "You reap what you sow" (คุณเก็บเกี่ยวสิ่งที่คุณหว่าน) เป็นสมมติฐานที่ศึกษากันอย่างกว้างขวางโดยนักจิตวิทยาสังคม เริ่มต้นที่งานทรงอิทธิพลของ ศ.ดร.เลอร์เนอร์ ในต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 ตั้งแต่นั้น งานวิจัยก็ได้ดำเนินต่อมาเรื่อย ๆ โดยตรวจสอบสมรรถภาพการพยากรณ์ของทฤษฎีนี้ในสถานการณ์ต่าง ๆ และในวัฒนธรรมต่าง ๆ ช่วยให้ความเข้าใจเรื่องนี้ดีขึ้นและขยายกว้างออกไป
ประวัติ
ทั้งนักปรัชญาและนักคิดทฤษฎีสังคมศาสตร์ ได้สังเกตการณ์และพิจารณ์ปรากฏการณ์ความเชื่อเรื่องโลกยุติธรรมมาก่อนแล้ว แต่ว่า งานของ ศ.เลอร์เนอร์ได้ทำให้สมมติฐานนี้กลายเป็นจุดสนใจงานวิจัยในสาขาจิตวิทยาสังคม
เม็ลวิน เลอร์เนอร์
ศ.เลอร์เนอร์เริ่มการศึกษาทางจิตวิทยาสังคมเรื่องความเชื่อ เมื่อทำงานสอบสวนเรื่องปฏิสัมพันธ์เชิงลบในสังคม โดยต่อยอดงานของ ศ.สแตนลีย์ มิลแกรม ในเรื่องการเชื่อฟังผู้มีอำนาจ มีจุดมุ่งหมายเพื่อจะตอบคำถามว่า ระบบการปกครองที่โหดร้ายทารุณ ก่อความทุกข์ทรมาน ยังจะรักษาความนิยมชมชอบจากประชาชนไว้ได้อย่างไร และคำถามเกี่ยวกับกระบวนการที่ประชาชนกลายมายอมรับบรรทัดฐานทางสังคมและกฎหมายที่ก่อความทุกข์ทรมาน
การสอบสวนของ ศ.เลอร์เนอร์ได้รับอิทธิพลจากสังเกตการณ์ซ้ำ ๆ ที่เห็นการโทษให้ความผิดแก่ผู้รับเคราะห์หรือเหยื่อที่ได้รับความทุกข์ทรมาน ในช่วงการฝึกรักษาเป็นนักจิตวิทยา เขาได้เห็นการบำบัดรักษาคนไข้โรคจิตโดยแพทย์พยาบาลที่เขาทำงานร่วมด้วย แม้คนเหล่านั้นจะใจดี มีการศึกษา แต่พวกเขาก็มักจะโทษคนไข้เรื่องความทุกข์ทรมานที่คนไข้ได้รับ ศ.เลอร์เนอร์ได้กล่าวถึงความแปลกใจของเขาที่ได้ยินนักศึกษาดูถูกคนจน โดยดูเหมือนจะไม่เข้าใจปัญหาโครงสร้างทางสังคมที่มีส่วนทำให้เกิดความยากจน ในงานศึกษาเรื่องรางวัล เขาสังเกตว่า เมื่อชายคนหนึ่งในสองคนได้รับการสุ่มเลือกให้รับรางวัลเพื่องาน ๆ หนึ่ง ก็จะทำให้ผู้สังเกตการณ์คนอื่นประเมินชายนั้นในเชิงบวกมากกว่า แม้ในกรณีที่แจ้งผู้สังเกตการณ์ไว้แล้วว่า เป็นการให้รางวัลโดยสุ่ม และทฤษฎีจิตวิทยาสังคมที่มีอยู่ในตอนนั้น รวมทั้งความไม่ลงรอยกันทางประชาน (cognitive dissonance) ก็ไม่สามารถอธิบายปรากฏการณ์นี้ได้อย่างแจ่มแจ้ง ความต้องการจะเข้าใจกระบวนการที่ก่อปรากฏการณ์เช่นนี้ จึงจูงใจให้ ศ.เลอร์เนอร์ ทำงานศึกษาแรกเกี่ยวกับทฤษฎีที่ทุกวันนี้เรียกว่า สมมติฐานโลกยุติธรรม
หลักฐานดั้งเดิม
ในปี ค.ศ. 1966 ศ.เลอร์เนอร์กับผู้ร่วมงานเริ่มงานที่ใช้การทดลองแบบช็อก (shock paradigm) เพื่อตรวจสอบปฏิกิริยาของผู้สังเกตการณ์ต่อผู้รับเคราะห์ ในงานแรกที่ทำที่มหาวิทยาลัยแคนซัส มีการให้ผู้ร่วมการทดลองหญิง 72 คนดู "ผู้ร่วมงาน" ถูกไฟช๊อตในสถานการณ์ต่าง ๆ ตอนแรกผู้ร่วมการทดลองไม่ชอบใจเห็นความทุกข์ทรมานที่ปรากฏ แต่เมื่อดำเนินการต่อไปที่ผู้ร่วมการทดลองไม่สามารถทำอะไรได้ ผู้ร่วมการทดลองกลับเริ่มดูถูกผู้รับเคราะห์ การดูถูกจะเพิ่มขึ้นถ้าเกิดความทุกข์ทรมานมากกว่า แต่ว่าถ้าบอกผู้ร่วมการทดลองว่า ผู้รับเคราะห์จะได้ค่าตอบแทนจากความทุกข์ทรมานที่ได้รับ ผู้ร่วมการทดลองจะไม่ดูถูกผู้รับเคราะห์ ศ.เลอร์เนอร์และผู้ร่วมงานสามารถทำซ้ำสิ่งที่พบนี้ได้ต่อ ๆ มา และนักวิจัยคนอื่น ๆ ก็เช่นกัน
ทฤษฎี
เพื่ออธิบายผลที่พบเหล่านี้ในงานศึกษา ศ.เลอร์เนอร์ตั้งทฤษฎีว่า มีความเชื่ออย่างแพร่หลายว่า โลกยุติธรรม เป็นโลกที่การกระทำและปัจจัยอื่น ๆ มีผลที่พยากรณ์ได้และเหมาะสม การกระทำและปัจจัยปกติก็คือพฤติกรรมและลักษณะต่าง ๆ ส่วนบุคคล ปัจจัยที่ให้ผลโดยเฉพาะ จะเป็นเรื่องที่กำหนดโดยบรรทัดฐานทางสังคมและอุดมคติ (หรือคตินิยม) ศ.เลอร์เนอร์แสดงความเชื่อเรื่องโลกยุติธรรมว่า มีประโยชน์ คือ มันดำรงแนวคิดว่า บุคคลสามารถมีอิทธิพลต่อโลกในรูปแบบที่พยากรณ์ได้ ความเชื่อจะทำงานเหมือนกับเป็น "สัญญา" กับโลก เกี่ยวกับผลของพฤติกรรม ซึ่งทำให้บุคคลสามารถวางแผนอนาคตและมีพฤติกรรมที่มีประสิทธิภาพ ที่มีเป้าหมาย เขาได้สรุปสาระสิ่งที่ค้นพบในหนังสือเกี่ยวกับทฤษฎีนี้ของเขาในปี ค.ศ. 1980 ชื่อว่า The Belief in a Just World: A Fundamental Delusion (ความเชื่อเรื่องโลกยุติธรรม - ความหลงผิดแบบพื้นฐาน)
ศ.เลอร์เนอร์มีทฤษฎีว่า ความเชื่อเรื่องโลกยุติธรรมสำคัญอย่างยิ่งในการดำรงตนให้เป็นสุข เพราะว่า บุคคลย่อมเจอหลักฐานเป็นประจำว่า โลกไม่ยุติธรรม คือ คนอาจได้รับความทุกข์ทรมานโดยที่ไม่ปรากฏสาเหตุ ดังนั้น คนจึงต้องมีกลยุทธ์ในการกำจัดความเสี่ยงต่อความเชื่อว่าโลกยุติธรรม ซึ่งอาจจะเป็นกลยุทธ์ที่มีเหตุผล หรือไร้เหตุผล กลยุทธ์ที่มีเหตุผลรวมทั้ง การยอมรับความจริงว่าโลกไม่ยุติธรรม ความพยายามป้องกันความไม่ยุติธรรมและให้ชดใช้คืน และการยอมรับความจำกัดของตนเอง ส่วนกลยุทธ์ไร้เหตุผลรวมทั้ง การปฏิเสธความจริง การถอนตัวออกทางสังคม (เช่นการไม่คุยกับใคร) และการตีความเหตุการณ์แบบแก้ต่าง[]
มีการตีความได้หลายอย่างที่จะทำให้เหตุการณ์เข้ากับความเชื่อว่าโลกยุติธรรม เช่นตีความผลที่ได้ สาเหตุ และ/หรือ ลักษณะต่าง ๆ ของผู้รับเคราะห์ และในกรณีที่เห็นความไม่ยุติธรรมที่ได้รับของคนที่ไม่ได้ทำอะไรผิด วิธีการหลักในการเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับเหตุการณ์ก็คือ การตีความว่าผู้รับเคราะห์ควรที่จะได้รับผลอันนั้น โดยเฉพาะก็คือ ผู้สังเกตการณ์อาจจะโทษผู้รับเคราะห์ ด้วยเหตุพฤติกรรมหรือลักษณะอะไรอื่น ๆ งานวิจัยทางจิตวิทยาในสมมติฐานนี้โดยมาก พุ่งความสนใจไปในปรากฏการณ์สังคมเชิงลบ คือ การโทษหรือการดูถูกผู้รับเคราะห์ในสถานการณ์ต่าง ๆ
ผลที่ได้อีกอย่างหนึ่งในการคิดเช่นนี้ก็คือว่า คน ๆ นั้นจะรู้สึกปลอดภัยกว่า เพราะว่าไม่เชื่อว่าตนได้ทำอะไรที่จะให้ได้รับผลลบเช่นนั้น ซึ่งสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ความเอนเอียงรับใช้ตนเอง (self-serving bias) ที่นักจิตวิทยาสังคมก็ได้สังเกตพบเช่นกัน
มีนักวิจัยเป็นจำนวนมากที่ตีความเรื่องความเชื่อว่าโลกยุติธรรมว่า เป็นตัวอย่างในเรื่องการอธิบายเหตุ (causal attribution) ที่ผิดพลาด คือ ในเรื่องการโทษผู้รับเคราะห์ มีการอ้างเหตุของเคราะห์ร้ายว่าเป็นเพราะบุคคล แทนที่จะเป็นเพราะสถานการณ์ ดังนั้น ความเชื่อในเรื่องโลกยุติธรรม อาจจะสัมพันธ์กับ หรืออาจจะอธิบายได้โดย รูปแบบบางอย่างในทฤษฎีจิตวิทยาเรื่องการอธิบายเหตุ
คำอธิบายอื่น
เรื่องที่ประเมินเป็นความจริง
มีนักวิชาการอื่นที่เสนอคำอธิบายอื่นเกี่ยวกับการดูถูกผู้รับเคราะห์ ข้อเสนอหนึ่งก็คือว่า ปรากฏการณ์ดูถูกผู้รับเคราะห์ เป็นการประเมินลักษณะผู้รับเคราะห์ที่ถูกต้อง ตัวอย่างเฉพาะในงานศึกษาแรกของ ศ.เลอร์เนอร์ก็คือ มันสมเหตุผลที่ผู้สังเกตการณ์จะดูถูกคนที่ปล่อยให้ตัวเองถูกช็อตด้วยไฟโดยไม่มีเหตุผล แต่งานศึกษาต่อมาของ ศ.เลอร์เนอร์ คัดค้านสมมติฐานอื่นนี้ โดยแสดงให้เห็นว่า จะมีการดูถูกผู้รับเคราะห์เมื่อประสบทุกข์ทรมานจริง ๆ เท่านั้น ส่วนคนที่ตกลงที่จะรับทุกข์ทรมานแต่ไม่ได้ กลับมีการมองโดยเชิงบวก
การลดความรู้สึกผิด
คำอธิบายอื่นอีกอย่างหนึ่งของการดูถูกผู้รับเคราะห์ในยุคต้นการพัฒนาสมมติฐานนี้ก็คือ ผู้สังเกตการณ์ดูถูกผู้รับเคราะห์เพื่อลดความรู้สึกผิดของตน คือ พวกเขาอาจจะรู้สึกรับผิดชอบ หรือรู้สึกผิด ต่อความทุกข์ทรมานของผู้รับเคราะห์ ถ้าตัวเองมีส่วนร่วมในเหตุการณ์หรือในการทดลอง และเพื่อที่จะลดความรู้สึกผิดนี้ จึงอาจพยายามลดค่าของผู้รับเคราะห์เสีย แต่ว่า ศ.เลอร์เนอร์และผู้ร่วมงานอ้างว่า ยังไม่มีหลักฐานเพียงพอที่จะสนับสนุนการตีความเช่นนี้ และพวกเขาก็ได้ทำงานศึกษาหนึ่งที่พบว่า การดูถูกผู้รับเคราะห์เกิดขึ้นแม้ต่อผู้สังเกตการณ์ที่ไม่ได้มีส่วนร่วมอะไรในกระบวนการทดลอง และจึงไม่มีเหตุผลอะไรที่จะต้องรู้สึกผิด
หลักฐานอื่น ๆ
หลังจากงานแรก ๆ ของ ศ.เลอร์เนอร์ ก็มีนักวิจัยอื่นที่ทำซ้ำผลที่พบนี้ได้ในสถานการณ์อื่น ๆ ที่มีผู้รับเคราะห์ งานประเด็นนี้ที่เริ่มตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1970 จนมาถึงทุกวันนี้ ตรวจสอบว่า ผู้สังเกตการณ์จะตอบสนองต่อผู้รับเคราะห์ในเหตุการณ์ทั่ว ๆ ไป เช่นอุบัติเหตุรถยนต์ การข่มขืน การกระทำทารุณกรรมต่อคนในบ้าน ความเจ็บป่วย และความยากจน อย่างไร โดยทั่ว ๆ ไปแล้ว นักวิจัยพบว่า ผู้สังเกตการณ์มักจะทั้งโทษและดูถูกผู้รับเคราะห์ ดังนั้น ผู้สังเกตการณ์จะดำรงความเชื่อเรื่องโลกยุติธรรม โดยเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับลักษณะนิสัยของผู้รับเคราะห์
ในต้นคริสต์ทศวรรษ 1970s นักจิตวิทยาสังคมคู่หนึ่ง พัฒนาการวัดค่าความเชื่อเรื่องโลกยุติธรรม ซึ่งต่อมาปรับปรุงในปี 1975 โดยเพิ่มคำถามเพื่อใช้วัดความเชื่อในด้านต่าง ๆ และงานศึกษาในทฤษฎีนี้ต่อ ๆ มาก็ได้ใช้วิธีการวัดค่านี้
การกระทำทารุณ
นักวิจัยได้ตรวจสอบว่า ผู้สังเกตการณ์ตอบสนองต่อผู้รับเคราะห์ในเรื่องการข่มขืนหรือทารุณกรรมอย่างอื่น ๆ อย่างไร ในงานศึกษาต้นแบบปี 1985 เรื่องการข่มขืนกับทฤษฎีนี้ นักวิจัยได้ให้บทความเล่าเรื่องปฏิสัมพันธ์ระหว่างหญิงกับชายคู่หนึ่งกับผู้ร่วมการทดลอง 2 กลุ่ม แต่บทความต่างกันในช่วงสุดท้ายของเรื่อง กลุ่มหนึ่งเป็นการจบเรื่องแบบไม่มีอะไร อีกลุ่มหนึ่งจบโดยที่ชายคนนั้นข่มขืนผู้หญิง แต่ผู้ร่วมการทดลองกลับตัดสินว่า การจบด้วยการข่มขืนเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ และโทษผู้หญิงว่าถูกข่มขืนเพราะพฤติกรรมของตน แต่ไม่ใช่เพราะลักษณะนิสัย เป็นผลการทดลองที่ทำซ้ำ ๆ ได้ ไม่ว่าจะจบด้วยการข่มขืน หรือจบด้วยความสุขคือการขอแต่งงาน
นักวิจัยอื่น ๆ พบปรากฏการณ์เดียวกันในการประเมินพฤติกรรมรุนแรงต่อคู่ครอง งานศึกษาหนึ่งพบว่า การติเตียนโทษผู้รับเคราะห์หญิง จะรุนแรงขึ้นเมื่อระดับความสัมพันธ์ระหว่างคู่ครองสูงขึ้น (เช่นรู้จักกัน อยู่ด้วยกัน หรือแต่งงานกัน) ยกเว้นการโทษผู้ชายในกรณีที่รุนแรงถึงกับตีผู้หญิง
พฤติกรรมอันธพาล
นักวิจัยได้พยายามใช้สมมติฐานนี้เพื่ออธิบายพฤติกรรมระราน (Bullying คือทำตัวเป็นอันธพาล) เพราะผลงานที่ได้เรื่องความเชื่อว่าโลกยุติธรรม จึงคาดหวังกันว่า ผู้สังเกตการณ์จะดูถูกและโทษผู้รับเคราะห์จากพฤติกรรมอันธพาล แต่ผลที่พบกลับตรงกันข้าม คือผู้สังเกตการณ์ที่เชื่อเรื่องโลกยุติธรรมในระดับสูง กลับมีทัศนคติต่อต้านพฤติกรรมระรานในระดับที่สูงกว่า (แทนที่จะโทษผู้รับเคราะห์ตามที่คาดหวัง)
นักวิจัยอื่นพบว่า ความเชื่อเรื่องโลกยุติธรรมที่มีกำลัง สัมพันธ์กับพฤติกรรมอันพาลในระดับที่ต่ำกว่า ซึ่งเข้ากับแนวคิดของ ศ.เลอร์เนอร์ ว่าความเชื่อนี้มีผลเป็น "สัญญา" กับโลกที่ควบคุมความประพฤติ มีหลักฐานอื่น ๆ ที่แสดงว่า ความเชื่อว่าโลกยุติธรรม มีผลช่วยป้องกันความเป็นสุขของเด็ก ๆ และวัยรุ่นในโรงเรียนจากพฤติกรรมอันธพาล ดังที่ได้พบได้ในชนทั่วไป
ความเจ็บป่วย
นักวิจัยอื่นพบว่า ผู้สังเกตการณ์โทษคนป่วยสำหรับความเจ็บป่วยของตน งานทดลองหนึ่งแสดงว่า คนที่ป่วยเป็นโรคต่าง ๆ ถูกดูถูก วัดโดยการให้คะแนนว่าสวยหรือหล่อ มากกว่าคนสุขภาพดี ความเจ็บป่วยที่ได้รับการศึกษารวมทั้ง อาหารไม่ย่อย ปอดบวม และมะเร็งที่ท้อง นอกจากนั้นแล้ว ระดับความดูถูกยังเพิ่มขึ้นในคนที่ป่วยหนักกว่า ยกเว้นโรคมะเร็ง ระดับความเชื่อเรื่องโลกยุติธรรมที่สูงกว่า ก็สัมพันธ์กับการดูถูกผู้ป่วยโรคเอดส์ในระดับที่สูงกว่าด้วย
ความยากจน
ในงานศึกษาต่อ ๆ มา นักวิจัยตรวจดูปฏิกิริยาต่อความยากจนในมุมมองของความเชื่อนี้ ความเชื่อที่มีกำลัง สัมพันธ์กับการโทษคนจน ในขณะที่ความเชื่อที่อ่อนกำลัง สัมพันธ์กับการชี้เหตุผลภายนอกของความยากจน รวมทั้ง ระบบเศรษฐกิจโลก สงคราม และการขูดรีดเอาผลประโยชน์
ถ้าตนเองเป็นผู้รับเคราะห์
งานวิจัยบางงานในเรื่องนี้ ตรวจสอบปฏิกิริยาของตนเองเมื่อตนเป็นผู้รับเคราะห์ งานวิจัยในปี 1979 พบว่าผู้ถูกข่มขืนมักจะโทษพฤติกรรมของตน แต่จะไม่โทษลักษณะนิสัย ซึ่งมีสมมติฐานว่า การโทษพฤติกรรมของตนทำให้เหตุการณ์ดูเหมือนจะควบคุมได้
งานศึกษาผู้รับเคราะห์ในเรื่องการกระทำทารุณ ความเจ็บป่วย ความยากจน และในเรื่องอื่น ๆ ได้ให้หลักฐานที่สม่ำเสมอสนับสนุนความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อเรื่องโลกยุติธรรมกับความโน้มเอียงที่จะโทษผู้รับเคราะห์ และดังนั้น สมมติฐานโลกยุติธรรมได้กลายเป็นทฤษฎีที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวาง
การปรับปรุงทฤษฎี
งานศึกษาต่อมาในการวัดความเชื่อนี้ พุ่งความสนใจไปที่การกำหนดมิติต่าง ๆ ของความเชื่อ ซึ่งมีผลเป็นการพัฒนาวิธีวัดใหม่ ๆ และงานวิจัยที่ทำต่อ ๆ มา มิติของความเชื่อนี้ สันนิษฐานว่ารวมทั้งความเชื่อว่าโลกไม่ยุติธรรม, ความเชื่อเรื่องความยุติธรรมโดยกฏสวรรค์ (immanent justice) ความยุติธรรมในที่สุด (ultimate justice), ความหวังว่าโลกยุติธรรม และความเชื่อว่าตนสามารถลดระดับความไม่ยุติธรรม งานวิจัยอื่น ๆ พุ่งความสนใจไปที่ขอบเขตต่าง ๆ ที่ความเชื่อนี้อาจจะมีผล คือ บุคคลอาจจะมีความเชื่อแบบต่าง ๆ กันในเรื่องส่วนตัว เรื่องการเมืองกับสังคม และเรื่องสังคมเป็นต้น ขอบเขตกำหนดความต่างที่พบชัดเจนก็คือ ความเชื่อว่าโลกยุติธรรมระหว่างสิ่งที่เกิดกับตน กับสิ่งที่เกิดกับผู้อื่น ความเชื่อต่าง ๆ เหล่านี้มีผลต่างสัมพันธ์กับสุขภาพ
สิ่งที่สัมพันธ์กัน
นักวิจัยได้ใช้การวัดความเชื่อนี้ เพื่อหาลักษณะทางจิตอื่นที่สัมพันธ์กับระดับความเชื่อที่สูง โดยมีงานศึกษาจำกัดจำนวนหนึ่ง ที่ได้ตรวจสอบอุดมคติที่สัมพันธ์กับความเชื่อ ซึ่งรวมทั้งลัทธิอำนาจนิยมแบบขวาจัด และจริยธรรมการทำงานของโปรเตสแตนต์ซึ่งเน้นการขยันทำงานและการเก็บออมรอมทรัพย์เหนือการกระทำอื่น ๆ เพื่อการศาสนา งานวิจัยยังพบความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อกับความเลื่อมใสในศาสนาบางด้าน
งานศึกษาความแตกต่างทางประชากรในสหรัฐอเมริกา รวมทั้งเพศ เชื้อชาติ เป็นต้น ไม่พบความแตกต่างในความเชื่ออย่างเป็นระบบ แต่ก็ปรากฏกว่าคนแอฟริกันอเมริกันมีระดับความเชื่อว่าโลกยุติธรรมน้อยที่สุด การพัฒนาการวัดความเชื่อ ทำให้สามารถตรวจสอบความแตกต่างข้ามวัฒนธรรมในเรื่องนี้ งานวิจัยโดยมากแสดงว่า ความเชื่อแบบนี้มีในทุกวัฒนธรรม งานวิจัยหนึ่งตรวจสอบความเชื่อของนักเรียนในประเทศ 12 ประเทศ แล้วพบว่า ในประเทศที่ประชาชนส่วนมากรู้สึกว่าไร้อำนาจ ความเชื่อว่าโลกยุติธรรมจะอ่อนกว่าในประเทศอื่น นี่สนับสนุนสมมติฐานนี้เพราะว่า ผู้ไร้อำนาจมักจะมีประสบการณ์ส่วนตัวและทางสังคมที่ให้หลักฐานว่า โลกไม่ได้ยุติธรรมหรือสามารถพยากรณ์ได้
งานวิจัยปัจจุบัน
ผลต่อสุขภาพใจที่ดี
แม้ว่างานศึกษาในเบื้องต้นจะพุ่งความสนใจไปที่เรื่องลบทางสังคม งานวิจัยอื่นบอกเป็นนัยว่า ความเชื่อนี้ดี จนกระทั่งว่าเป็นเรื่องจำเป็นต่อสุขภาพทางใจ ความเชื่อนี้สัมพันธ์กับความพอใจในชีวิต การอยู่เป็นสุข ที่เพิ่มขึ้น และความซึมเศร้าที่ลดลง นักวิจัยกำลังพยายามหาเหตุผลว่า ทำไมความเชื่อนี้จึงมีผลดีต่อสุขภาพใจ แต่มีข้อเสนอว่าความเชื่อนี้เป็นขุมทรัพย์ทางจิตใจหรือเป็นวิธีการรับมือ (coping) ที่ช่วยบรรเทาความเครียดที่มีในชีวิตประจำวัน และที่เกิดเพราะเหตุการณ์ร้ายในชีวิต ซึ่งเป็นสมมติฐานที่แสดงว่า ความเชื่อว่าโลกยุติธรรมสามารถเข้าใจโดยเป็นการแปลสิ่งเร้าผิดเชิงบวก (positive illusion)
งานศึกษาต่าง ๆ แสดงว่า ความเชื่อนี้สัมพันธ์กับความเชื่อว่าตนสามารถควบคุมเหตุการณ์ได้ (locus of control) ความเชื่อนี้ที่มั่นคง สัมพันธ์กับการยอมรับเหตุการณ์ร้ายในชีวิตได้ และความเศร้าโศกเสียใจที่มีน้อยกว่าเพราะเหตุการณ์ร้าย นี่อาจจะเป็นวิธีอย่างหนึ่งที่ความเชื่อมีผลต่อสุขภาพใจ แต่มีนักวิชาการอื่นที่เสนอว่า ความสัมพันธ์เช่นนี้เป็นจริงเฉพาะความเชื่อเกี่ยวกับตน ส่วนความเชื่อเกี่ยวกับคนอื่น สัมพันธ์กับปรากฏการณ์สังคมเชิงลบ คือ การโทษและดูถูกผู้รับเคราะห์ดังที่เห็นในงานศึกษาอื่น ๆ
งานวิจัยนานาชาติ
แม้ว่าจะผ่านมา 40 ปีเริ่มจากงานทรงอิทธิพลของ ศ.เลอร์เนอร์ นักวิจัยก็ยังดำเนินการศึกษาปรากฏการณ์นี้อยู่ ทั้งในประเทศสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ยุโรป และเอเชีย แต่เป็นนักวิจัยชาวเยอรมันที่ให้ความรู้เร็ว ๆ นี้โดยมาก เป็นผลงานที่รวบรวมเป็นหนังสือโดยมี ศ.เลอร์เนอร์พร้อมกับผู้ร่วมงานชาวเยอรมันเป็นบรรณาธิการ ชื่อว่า Responses to Victimizations and Belief in a Just World (การตอบสนองต่อการตกเป็นเหยื่อกับความเชื่อเรื่องโลกยุติธรรม)
เชิงอรรถและอ้างอิง
- Lerner, MJ; Montada, L (1998). An Overview: Advances in Belief in a Just World Theory and Methods. Responses to Victimizations and Belief in a Just World. New York: Plenum Press. pp. 1–7.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|editors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|editor=
) ((help)) - Furnham, A (2003). "Belief in a just world: research progress over the past decade". Personality and Individual Differences. 34: 795–817.
- Lerner, MJ; Montada, L (1998). Preface. Responses to Victimizations and Belief in a Just World. New York: Plenum Press. pp. vii–viii.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|editors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|editor=
) ((help)) - Lerner, MJ; Simmons, CH (1966). "Observer's reaction to the "innocent victim": Compassion or rejection?". Journal of Personality and Social Psychology. 4 (2): 203–210.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Lerner, MJ (1980). The Belief in a Just World: A Fundamental Delusion. New York: Plenum.
- Lerner, MJ; Miller, DT (1978). "Just world research and the attribution process: Looking back and ahead". Psychological Bulletin. 85 (5): 1030–1051.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Maes, J (1998). Eight Stages in the Development of Research on the Construct of BJW?. Responses to Victimizations and Belief in a Just World. New York: Plenum Press. pp. 163–185.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|editors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|editor=
) ((help)) - Linden, M; Maercker, A (2011). Embitterment: Societal, psychological, and clinical perspectives. Wien: Springer.
- Howard, J (1984). "Societal influences on attribution: Blaming some victims more than others". Journal of Personality and Social Psychology. 47 (3): 494–505.
- Godfrey, B.; Lowe, C. (1975). "Devaluation of innocent victims: An attribution analysis within the just world paradigm". Journal of Personality and Social Psychology. 31: 944–951.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Lerner, MJ (1970). The desire for justice and reactions to victims. Altruism and helping behavior. New York: Academic Press.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|editors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|editor=
) ((help)) - Davis, K; Jones, E (1960). "Changes in interpersonal perception as a means of reducing cognitive dissonance". Journal of Abnormal and Social Psychology. 61: 402–410.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Glass, D (1964). "Changes in liking as a means of reducing cognitive discrepancies between self-esteem and aggression". Journal of Personality. 32.
- Cialdini, RB; Kenrick, DT; Hoerig, JH (1976). "Victim derogation in the Lerner paradigm: Just world or just justification?". Journal of Personality and Social Psychology. 33 (6): 719–724.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Reichle, B; Schneider, A; Montada, L (1998). How do observers of victimization preserve their belief in a just world cognitively or actionally?. Responses to victimization and belief in a just world. New York: Plenum. pp. 55–86.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|editors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|editor=
) ((help))CS1 maint: multiple names: authors list () - Rubin, Z; Peplau, A (1973). "Belief in a just world and reactions to another's lot: A study of participants in the national draft lottery". Journal of Social Issues. 29: 73–93.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Rubin, Z; Peplau, LA (1975). "Who believes in a just world?". Journal of Social Issues. 31: 65–89.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Janoff-Bulman, R; Timko, C; Carli, LL (1985). "Cognitive biases in blaming the victim". Journal of Experimental Social Psychology. 21 (2): 161–177.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Carli, LL (1999). "Cognitive Reconstruction, Hindsight, and Reactions to Victims and Perpetrators". and Social Psychology Bulletin. 25 (8): 966–979.
- Summers, G; Feldman, NS (1984). "Blaming the victim versus blaming the perpetrator:An attributional analysis of spouse abuse". Symposium A Quarterly Journal In Modern Foreign Literatures. 2 (4): 339–347.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Fox, CL; Elder, T; Gater, J; Johnson, E (2010). "The association between adolescents' beliefs in a just world and their attitudes to victims of bullying". The British journal of educational psychology. Pt 2. 80: 183–98.
{{}}
: CS1 maint: location () CS1 maint: multiple names: authors list () - Correia, I; Dalbert, C (2008). "School Bullying". European Psychologist. 13 (4): 248254.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Correia, I; Kamble, SV; Dalbert, C (2009). "Belief in a just world and well-being of bullies, victims and defenders: a study with Portuguese and Indian students". Anxiety, stress, and coping. 22 (5): 497–508.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Gruman, JC; Sloan, RP (1983). "Disease as Justice: Perceptions of the Victims of Physical Illness". Basic and Applied Social Psychology. 4 (1): 39–46.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Furnham, A; Procter, E (1992). "Sphere-specific just world beliefs and attitudes to AIDS". Human Relations. 45: 265–280.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Harper, DJ; Wagstaff, G. F; Newton, JT; Harrison, KR (1990). "Lay causal perceptions of third world poverty and the just world theory". Social Behavior and Personality: an international journal. Scientific Journal Publishers. 18 (2): 235–238.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Harper, DJ; Manasse, PR (1992). "The Just World and the Third World: British explanations for poverty abroad". The Journal of social psychology. Heldref Publications. 6.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Janoff-Bulman, R (1979). "Characterological versus behavioral self-blame: inquiries into depression and rape". Journal of personality and social psychology. 37 (10): 1798–809.
- Dalbert, C; Lipkus, IM; Sallay, H; Goch, I (2001). "A just and unjust world: Structure and validity of different world beliefs". Personality and Individual Differences. 30: 561–577.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Maes, J (1998). Immanent justice and ultimate justice: two ways of believing in justice. Responses to Victimizations and Belief in a Just World. New York: Plenum Press. pp. 9–40.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|editors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|editor=
) ((help)) - Mohiyeddini, C; Montada, L (1998). ImBJW and self-efficacy in coping with observed victimization. Responses to Victimizations and Belief in a Just World. New York: Plenum Press. pp. 43–53.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|editors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|editor=
) ((help))CS1 maint: multiple names: authors list () - Lambert, AJ; Burroughs, T; Nguyen, T (1999). "Perceptions of risk and the buffering hypothesis: The role of just world beliefs and right wing authoritarianism". Personality and Social Psychology Bulletin. 25 (6): 643–656.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Furnham, A; Procter, E (1989). "Belief in a just world: review and critique of the individual difference literature". British Journal of Social Psychology. 28: 365–384.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Begue, L (2002). "Beliefs in justice and faith in people: just world, religiosity and interpersonal trust". Personality and Individual Differences. 32 (3): 375–382.
- Kurst, J; Bjorck, J; Tan, S (2000). "Causal attributions for uncontrollable negative events". Journal of Psychology and Christianity. 19: 47–60.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Calhoun, L; Cann, A (1994). "Differences in assumptions about a just world: ethnicity and point of view". Journal of Social Psychology. 134: 765–770.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Hunt, M (2000). "Status, religion, and the belief in a just world: comparing African Americans, Latinos, and Whites". Social Science Quarterly (81): 325–343.
- Furnham, A (1993). "Just world beliefs in twelve societies". Journal of Social Psychology. 133: 317–329.
- Furnham, A (1992). "Relationship knowledge and attitudes towards AIDS". Psychological Reports. 71: 1149–1150.
- Dalbert, C (2001). The justice motive as a personal resource: dealing with challenges and critical life events. New York: Plenum.
- Lipkus, IM; Dalbert, C; Siegler, IC (1996). "The Importance of Distinguishing the Belief in a Just World for Self Versus for Others: Implications for Psychological Well-Being". Personality and Social Psychology Bulletin. 22 (7): 666–677.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Ritter, C; Benson, DE; Snyder, C (1990). "Belief in a just world and depression". Sociological Perspective. 25: 235–252.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Hafer, C; Olson, J (1998). Individual differences in beliefs in a just world and responses to personal misfortune. Responses to Victimizations and Belief in a Just World. New York: Plenum Press. pp. 65–86.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|editors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|editor=
) ((help))CS1 maint: multiple names: authors list () - Taylor, SE; Brown, J (1988). "Illusion and well-being: A social psychological perspective on mental health". Psychological Bulletin. 103: 193–210.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Sutton, R; Douglas, K (2005). "Justice for all, or just for me? More evidence of the importance of the self-other distinction in just-world beliefs". Personality and Individual Differences. 39 (3): 637–645.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Responses to victimizations and belief in the just world. New York: Plenum. 1998.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|editors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|editor=
) ((help))
แหล่งข้อมูลอื่น
- Hafer, C. L.; Bègue (2005). "Experimental research on just-world theory: problems, developments, and future challenges" (PDF). Psychological Bulletin. 131 (1): 128–167. doi:10.1037/0033-2909.131.1.128.
- Lerner, Melvin J. (1980). The Belief in a Just World A Fundamental Delusion. Perspectives in Social Psychology. New York: Plenum Press. ISBN .
- Lerner, M.; Simmons, C. H. (1966). "Observer's Reaction to the 'Innocent Victim': Compassion or Rejection?". Journal of Personality and Social Psychology. 4 (2): 203–210. doi:10.1037/h0023562. PMID 5969146.
- Montada, Leo; Lerner, Melvin J. (1998). Responses to Victimization and Belief in a Just World. Critical Issues in Social Justice. ISBN .
- Rubin, Z.; Peplau, L. A. (1975). (PDF). Journal of Social Issues. 31 (3): 65–90. doi:10.1111/j.1540-4560.1975.tb00997.x. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-07-20. สืบค้นเมื่อ 2016-01-22.Reprinted (1977) in Reflections, XII (1), 1-26.
- Rubin, Z.; Peplau, L. A. (1973). (PDF). Journal of Social Issues. 29 (4): 73–94. doi:10.1111/j.1540-4560.1973.tb00104.x. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-07-20. สืบค้นเมื่อ 2016-01-22.
เว็บไซต์
- The Just World Hypothesis
- Issues in Ethics: The Just World Theory
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
smmtithanolkyutithrrm xngkvs just world hypothesis just world fallacy epnkhwamexnexiyngthangprachan hruxepnkarsmmutiwa karkrathakhxngbukhkhlhnung miaenwonmthicanaphlthiyutithrrmodysilthrrmaelathiehmaasmmayngbukhkhlnn khuxinthisudkrrmdikcaidphldi aelakrrmchwkcaidphlchw klawxikxyangkkhux epnaenwonmthicaxanghruxkhadhwngwa phlthiehnmiehtuenuxngkbphlngckrwalthiprbolkihsmdulxyangyutithrrm khwamechuxechnnithwipsxngthungkhwamechuxeruxngkhwamyutithrrmckrwal chatakrrm likhitkhxngphuepneca khwamsmdulthangckrwal raebiybckrwal aelamioxkassungthicaihphlepnehtuphlwibti odyechphaaxyangyinginkrnithibukhkhlihehtuphlkhwamekhraahraykhxngphuxunwa khn nn smkhwr caidrbphlechnnn inphasaxngkvs smmtithanechnniphbidinphaphphcntang thiaesdngnyrbpraknthicaidphlraykhun echn You got what was coming to you khunidsingthikhwrcamahakhun What goes around comes around xairewiynipkyxmcaewiynma chickens come home to roost ikyxmklbbanephuxmanxn aela You reap what you sow khunekbekiywsingthikhunhwan epnsmmtithanthisuksaknxyangkwangkhwangodynkcitwithyasngkhm erimtnthinganthrngxiththiphlkhxng s dr elxrenxr intnkhristthswrrs 1960 tngaetnn nganwicykiddaenintxmaeruxy odytrwcsxbsmrrthphaphkarphyakrnkhxngthvsdiniinsthankarntang aelainwthnthrrmtang chwyihkhwamekhaiceruxngnidikhunaelakhyaykwangxxkipprawtithngnkprchyaaelankkhidthvsdisngkhmsastr idsngektkarnaelaphicarnpraktkarnkhwamechuxeruxngolkyutithrrmmakxnaelw aetwa ngankhxng s elxrenxridthaihsmmtithanniklayepncudsnicnganwicyinsakhacitwithyasngkhm emlwin elxrenxr s elxrenxrerimkarsuksathangcitwithyasngkhmeruxngkhwamechux emuxthangansxbswneruxngptismphnthechinglbinsngkhm odytxyxdngankhxng s saetnliy milaekrm ineruxngkarechuxfngphumixanac micudmunghmayephuxcatxbkhathamwa rabbkarpkkhrxngthiohdraytharun kxkhwamthukkhthrman yngcarksakhwamniymchmchxbcakprachachniwidxyangir aelakhathamekiywkbkrabwnkarthiprachachnklaymayxmrbbrrthdthanthangsngkhmaelakdhmaythikxkhwamthukkhthrman karsxbswnkhxng s elxrenxridrbxiththiphlcaksngektkarnsa thiehnkarothsihkhwamphidaekphurbekhraahhruxehyuxthiidrbkhwamthukkhthrman inchwngkarfukrksaepnnkcitwithya ekhaidehnkarbabdrksakhnikhorkhcitodyaephthyphyabalthiekhathanganrwmdwy aemkhnehlanncaicdi mikarsuksa aetphwkekhakmkcaothskhnikheruxngkhwamthukkhthrmanthikhnikhidrb s elxrenxridklawthungkhwamaeplkickhxngekhathiidyinnksuksaduthukkhncn odyduehmuxncaimekhaicpyhaokhrngsrangthangsngkhmthimiswnthaihekidkhwamyakcn inngansuksaeruxngrangwl ekhasngektwa emuxchaykhnhnunginsxngkhnidrbkarsumeluxkihrbrangwlephuxngan hnung kcathaihphusngektkarnkhnxunpraeminchaynninechingbwkmakkwa aeminkrnithiaecngphusngektkarniwaelwwa epnkarihrangwlodysum aelathvsdicitwithyasngkhmthimixyuintxnnn rwmthngkhwamimlngrxyknthangprachan cognitive dissonance kimsamarthxthibaypraktkarnniidxyangaecmaecng khwamtxngkarcaekhaickrabwnkarthikxpraktkarnechnni cungcungicih s elxrenxr thangansuksaaerkekiywkbthvsdithithukwnnieriykwa smmtithanolkyutithrrmhlkthandngediminpi kh s 1966 s elxrenxrkbphurwmnganerimnganthiichkarthdlxngaebbchxk shock paradigm ephuxtrwcsxbptikiriyakhxngphusngektkarntxphurbekhraah innganaerkthithathimhawithyalyaekhnss mikarihphurwmkarthdlxnghying 72 khndu phurwmngan thukifchxtinsthankarntang txnaerkphurwmkarthdlxngimchxbicehnkhwamthukkhthrmanthiprakt aetemuxdaeninkartxipthiphurwmkarthdlxngimsamarththaxairid phurwmkarthdlxngklberimduthukphurbekhraah karduthukcaephimkhunthaekidkhwamthukkhthrmanmakkwa aetwathabxkphurwmkarthdlxngwa phurbekhraahcaidkhatxbaethncakkhwamthukkhthrmanthiidrb phurwmkarthdlxngcaimduthukphurbekhraah s elxrenxraelaphurwmngansamarththasasingthiphbniidtx ma aelankwicykhnxun kechnknthvsdiephuxxthibayphlthiphbehlaniinngansuksa s elxrenxrtngthvsdiwa mikhwamechuxxyangaephrhlaywa olkyutithrrm epnolkthikarkrathaaelapccyxun miphlthiphyakrnidaelaehmaasm karkrathaaelapccypktikkhuxphvtikrrmaelalksnatang swnbukhkhl pccythiihphlodyechphaa caepneruxngthikahndodybrrthdthanthangsngkhmaelaxudmkhti hruxkhtiniym s elxrenxraesdngkhwamechuxeruxngolkyutithrrmwa mipraoychn khux mndarngaenwkhidwa bukhkhlsamarthmixiththiphltxolkinrupaebbthiphyakrnid khwamechuxcathanganehmuxnkbepn syya kbolk ekiywkbphlkhxngphvtikrrm sungthaihbukhkhlsamarthwangaephnxnakhtaelamiphvtikrrmthimiprasiththiphaph thimiepahmay ekhaidsrupsarasingthikhnphbinhnngsuxekiywkbthvsdinikhxngekhainpi kh s 1980 chuxwa The Belief in a Just World A Fundamental Delusion khwamechuxeruxngolkyutithrrm khwamhlngphidaebbphunthan s elxrenxrmithvsdiwa khwamechuxeruxngolkyutithrrmsakhyxyangyinginkardarngtnihepnsukh ephraawa bukhkhlyxmecxhlkthanepnpracawa olkimyutithrrm khux khnxacidrbkhwamthukkhthrmanodythiimpraktsaehtu dngnn khncungtxngmiklyuththinkarkacdkhwamesiyngtxkhwamechuxwaolkyutithrrm sungxaccaepnklyuthththimiehtuphl hruxirehtuphl klyuthththimiehtuphlrwmthng karyxmrbkhwamcringwaolkimyutithrrm khwamphyayampxngknkhwamimyutithrrmaelaihchdichkhun aelakaryxmrbkhwamcakdkhxngtnexng swnklyuththirehtuphlrwmthng karptiesthkhwamcring karthxntwxxkthangsngkhm echnkarimkhuykbikhr aelakartikhwamehtukarnaebbaektang txngkarxangxing mikartikhwamidhlayxyangthicathaihehtukarnekhakbkhwamechuxwaolkyutithrrm echntikhwamphlthiid saehtu aela hrux lksnatang khxngphurbekhraah aelainkrnithiehnkhwamimyutithrrmthiidrbkhxngkhnthiimidthaxairphid withikarhlkinkarepliynkhwamkhidekiywkbehtukarnkkhux kartikhwamwaphurbekhraahkhwrthicaidrbphlxnnn odyechphaakkhux phusngektkarnxaccaothsphurbekhraah dwyehtuphvtikrrmhruxlksnaxairxun nganwicythangcitwithyainsmmtithanniodymak phungkhwamsnicipinpraktkarnsngkhmechinglb khux karothshruxkarduthukphurbekhraahinsthankarntang phlthiidxikxyanghnunginkarkhidechnnikkhuxwa khn nncarusukplxdphykwa ephraawaimechuxwatnidthaxairthicaihidrbphllbechnnn sungsmphnthkbpraktkarnkhwamexnexiyngrbichtnexng self serving bias thinkcitwithyasngkhmkidsngektphbechnkn minkwicyepncanwnmakthitikhwameruxngkhwamechuxwaolkyutithrrmwa epntwxyangineruxngkarxthibayehtu causal attribution thiphidphlad khux ineruxngkarothsphurbekhraah mikarxangehtukhxngekhraahraywaepnephraabukhkhl aethnthicaepnephraasthankarn dngnn khwamechuxineruxngolkyutithrrm xaccasmphnthkb hruxxaccaxthibayidody rupaebbbangxyanginthvsdicitwithyaeruxngkarxthibayehtukhaxthibayxuneruxngthipraeminepnkhwamcring minkwichakarxunthiesnxkhaxthibayxunekiywkbkarduthukphurbekhraah khxesnxhnungkkhuxwa praktkarnduthukphurbekhraah epnkarpraeminlksnaphurbekhraahthithuktxng twxyangechphaainngansuksaaerkkhxng s elxrenxrkkhux mnsmehtuphlthiphusngektkarncaduthukkhnthiplxyihtwexngthukchxtdwyifodyimmiehtuphl aetngansuksatxmakhxng s elxrenxr khdkhansmmtithanxunni odyaesdngihehnwa camikarduthukphurbekhraahemuxprasbthukkhthrmancring ethann swnkhnthitklngthicarbthukkhthrmanaetimid klbmikarmxngodyechingbwk karldkhwamrusukphid khaxthibayxunxikxyanghnungkhxngkarduthukphurbekhraahinyukhtnkarphthnasmmtithannikkhux phusngektkarnduthukphurbekhraahephuxldkhwamrusukphidkhxngtn khux phwkekhaxaccarusukrbphidchxb hruxrusukphid txkhwamthukkhthrmankhxngphurbekhraah thatwexngmiswnrwminehtukarnhruxinkarthdlxng aelaephuxthicaldkhwamrusukphidni cungxacphyayamldkhakhxngphurbekhraahesiy aetwa s elxrenxraelaphurwmnganxangwa yngimmihlkthanephiyngphxthicasnbsnunkartikhwamechnni aelaphwkekhakidthangansuksahnungthiphbwa karduthukphurbekhraahekidkhunaemtxphusngektkarnthiimidmiswnrwmxairinkrabwnkarthdlxng aelacungimmiehtuphlxairthicatxngrusukphidhlkthanxun hlngcaknganaerk khxng s elxrenxr kminkwicyxunthithasaphlthiphbniidinsthankarnxun thimiphurbekhraah nganpraednnithierimtngaetkhristthswrrs 1970 cnmathungthukwnni trwcsxbwa phusngektkarncatxbsnxngtxphurbekhraahinehtukarnthw ip echnxubtiehturthynt karkhmkhun karkrathatharunkrrmtxkhninban khwamecbpwy aelakhwamyakcn xyangir odythw ipaelw nkwicyphbwa phusngektkarnmkcathngothsaeladuthukphurbekhraah dngnn phusngektkarncadarngkhwamechuxeruxngolkyutithrrm odyepliynkhwamkhidekiywkblksnanisykhxngphurbekhraah intnkhristthswrrs 1970s nkcitwithyasngkhmkhuhnung phthnakarwdkhakhwamechuxeruxngolkyutithrrm sungtxmaprbprunginpi 1975 odyephimkhathamephuxichwdkhwamechuxindantang aelangansuksainthvsdinitx makidichwithikarwdkhani karkrathatharun nkwicyidtrwcsxbwa phusngektkarntxbsnxngtxphurbekhraahineruxngkarkhmkhunhruxtharunkrrmxyangxun xyangir inngansuksatnaebbpi 1985 eruxngkarkhmkhunkbthvsdini nkwicyidihbthkhwamelaeruxngptismphnthrahwanghyingkbchaykhuhnungkbphurwmkarthdlxng 2 klum aetbthkhwamtangkninchwngsudthaykhxngeruxng klumhnungepnkarcberuxngaebbimmixair xiklumhnungcbodythichaykhnnnkhmkhunphuhying aetphurwmkarthdlxngklbtdsinwa karcbdwykarkhmkhunepneruxngthihlikeliyngimid aelaothsphuhyingwathukkhmkhunephraaphvtikrrmkhxngtn aetimichephraalksnanisy epnphlkarthdlxngthithasa id imwacacbdwykarkhmkhun hruxcbdwykhwamsukhkhuxkarkhxaetngngan nkwicyxun phbpraktkarnediywkninkarpraeminphvtikrrmrunaerngtxkhukhrxng ngansuksahnungphbwa kartietiynothsphurbekhraahhying carunaerngkhunemuxradbkhwamsmphnthrahwangkhukhrxngsungkhun echnruckkn xyudwykn hruxaetngngankn ykewnkarothsphuchayinkrnithirunaerngthungkbtiphuhying phvtikrrmxnthphal nkwicyidphyayamichsmmtithanniephuxxthibayphvtikrrmraran Bullying khuxthatwepnxnthphal ephraaphlnganthiideruxngkhwamechuxwaolkyutithrrm cungkhadhwngknwa phusngektkarncaduthukaelaothsphurbekhraahcakphvtikrrmxnthphal aetphlthiphbklbtrngknkham khuxphusngektkarnthiechuxeruxngolkyutithrrminradbsung klbmithsnkhtitxtanphvtikrrmraraninradbthisungkwa aethnthicaothsphurbekhraahtamthikhadhwng nkwicyxunphbwa khwamechuxeruxngolkyutithrrmthimikalng smphnthkbphvtikrrmxnphalinradbthitakwa sungekhakbaenwkhidkhxng s elxrenxr wakhwamechuxnimiphlepn syya kbolkthikhwbkhumkhwampraphvti mihlkthanxun thiaesdngwa khwamechuxwaolkyutithrrm miphlchwypxngknkhwamepnsukhkhxngedk aelawyruninorngeriyncakphvtikrrmxnthphal dngthiidphbidinchnthwip khwamecbpwy nkwicyxunphbwa phusngektkarnothskhnpwysahrbkhwamecbpwykhxngtn nganthdlxnghnungaesdngwa khnthipwyepnorkhtang thukduthuk wdodykarihkhaaennwaswyhruxhlx makkwakhnsukhphaphdi khwamecbpwythiidrbkarsuksarwmthng xaharimyxy pxdbwm aelamaerngthithxng nxkcaknnaelw radbkhwamduthukyngephimkhuninkhnthipwyhnkkwa ykewnorkhmaerng radbkhwamechuxeruxngolkyutithrrmthisungkwa ksmphnthkbkarduthukphupwyorkhexdsinradbthisungkwadwy khwamyakcn inngansuksatx ma nkwicytrwcduptikiriyatxkhwamyakcninmummxngkhxngkhwamechuxni khwamechuxthimikalng smphnthkbkarothskhncn inkhnathikhwamechuxthixxnkalng smphnthkbkarchiehtuphlphaynxkkhxngkhwamyakcn rwmthng rabbesrsthkicolk sngkhram aelakarkhudridexaphlpraoychn thatnexngepnphurbekhraah nganwicybangnganineruxngni trwcsxbptikiriyakhxngtnexngemuxtnepnphurbekhraah nganwicyinpi 1979 phbwaphuthukkhmkhunmkcaothsphvtikrrmkhxngtn aetcaimothslksnanisy sungmismmtithanwa karothsphvtikrrmkhxngtnthaihehtukarnduehmuxncakhwbkhumid ngansuksaphurbekhraahineruxngkarkrathatharun khwamecbpwy khwamyakcn aelaineruxngxun idihhlkthanthismaesmxsnbsnunkhwamsmphnthrahwangkhwamechuxeruxngolkyutithrrmkbkhwamonmexiyngthicaothsphurbekhraah aeladngnn smmtithanolkyutithrrmidklayepnthvsdithiyxmrbknxyangkwangkhwangkarprbprungthvsdingansuksatxmainkarwdkhwamechuxni phungkhwamsnicipthikarkahndmititang khxngkhwamechux sungmiphlepnkarphthnawithiwdihm aelanganwicythithatx ma mitikhxngkhwamechuxni snnisthanwarwmthngkhwamechuxwaolkimyutithrrm khwamechuxeruxngkhwamyutithrrmodyktswrrkh immanent justice khwamyutithrrminthisud ultimate justice khwamhwngwaolkyutithrrm aelakhwamechuxwatnsamarthldradbkhwamimyutithrrm nganwicyxun phungkhwamsnicipthikhxbekhttang thikhwamechuxnixaccamiphl khux bukhkhlxaccamikhwamechuxaebbtang knineruxngswntw eruxngkaremuxngkbsngkhm aelaeruxngsngkhmepntn khxbekhtkahndkhwamtangthiphbchdecnkkhux khwamechuxwaolkyutithrrmrahwangsingthiekidkbtn kbsingthiekidkbphuxun khwamechuxtang ehlanimiphltangsmphnthkbsukhphaphsingthismphnthknnkwicyidichkarwdkhwamechuxni ephuxhalksnathangcitxunthismphnthkbradbkhwamechuxthisung odymingansuksacakdcanwnhnung thiidtrwcsxbxudmkhtithismphnthkbkhwamechux sungrwmthnglththixanacniymaebbkhwacd aelacriythrrmkarthangankhxngopretsaetntsungennkarkhynthanganaelakarekbxxmrxmthrphyehnuxkarkrathaxun ephuxkarsasna nganwicyyngphbkhwamsmphnthrahwangkhwamechuxkbkhwameluxmisinsasnabangdan ngansuksakhwamaetktangthangprachakrinshrthxemrika rwmthngephs echuxchati epntn imphbkhwamaetktanginkhwamechuxxyangepnrabb aetkpraktkwakhnaexfriknxemriknmiradbkhwamechuxwaolkyutithrrmnxythisud karphthnakarwdkhwamechux thaihsamarthtrwcsxbkhwamaetktangkhamwthnthrrmineruxngni nganwicyodymakaesdngwa khwamechuxaebbnimiinthukwthnthrrm nganwicyhnungtrwcsxbkhwamechuxkhxngnkeriyninpraeths 12 praeths aelwphbwa inpraethsthiprachachnswnmakrusukwairxanac khwamechuxwaolkyutithrrmcaxxnkwainpraethsxun nisnbsnunsmmtithanniephraawa phuirxanacmkcamiprasbkarnswntwaelathangsngkhmthiihhlkthanwa olkimidyutithrrmhruxsamarthphyakrnidnganwicypccubnphltxsukhphaphicthidi aemwangansuksainebuxngtncaphungkhwamsnicipthieruxnglbthangsngkhm nganwicyxunbxkepnnywa khwamechuxnidi cnkrathngwaepneruxngcaepntxsukhphaphthangic khwamechuxnismphnthkbkhwamphxicinchiwit karxyuepnsukh thiephimkhun aelakhwamsumesrathildlng nkwicykalngphyayamhaehtuphlwa thaimkhwamechuxnicungmiphlditxsukhphaphic aetmikhxesnxwakhwamechuxniepnkhumthrphythangcitichruxepnwithikarrbmux coping thichwybrrethakhwamekhriydthimiinchiwitpracawn aelathiekidephraaehtukarnrayinchiwit sungepnsmmtithanthiaesdngwa khwamechuxwaolkyutithrrmsamarthekhaicodyepnkaraeplsingeraphidechingbwk positive illusion ngansuksatang aesdngwa khwamechuxnismphnthkbkhwamechuxwatnsamarthkhwbkhumehtukarnid locus of control khwamechuxnithimnkhng smphnthkbkaryxmrbehtukarnrayinchiwitid aelakhwamesraoskesiyicthiminxykwaephraaehtukarnray nixaccaepnwithixyanghnungthikhwamechuxmiphltxsukhphaphic aetminkwichakarxunthiesnxwa khwamsmphnthechnniepncringechphaakhwamechuxekiywkbtn swnkhwamechuxekiywkbkhnxun smphnthkbpraktkarnsngkhmechinglb khux karothsaeladuthukphurbekhraahdngthiehninngansuksaxun nganwicynanachati aemwacaphanma 40 pierimcaknganthrngxiththiphlkhxng s elxrenxr nkwicykyngdaeninkarsuksapraktkarnnixyu thnginpraethsshrthxemrika xxsetreliy yuorp aelaexechiy aetepnnkwicychaweyxrmnthiihkhwamruerw niodymak epnphlnganthirwbrwmepnhnngsuxodymi s elxrenxrphrxmkbphurwmnganchaweyxrmnepnbrrnathikar chuxwa Responses to Victimizations and Belief in a Just World kartxbsnxngtxkartkepnehyuxkbkhwamechuxeruxngolkyutithrrm echingxrrthaelaxangxingLerner MJ Montada L 1998 An Overview Advances in Belief in a Just World Theory and Methods Responses to Victimizations and Belief in a Just World New York Plenum Press pp 1 7 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a imruckpharamietxr editors thuklaewn aenana editor help Furnham A 2003 Belief in a just world research progress over the past decade Personality and Individual Differences 34 795 817 Lerner MJ Montada L 1998 Preface Responses to Victimizations and Belief in a Just World New York Plenum Press pp vii viii a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a imruckpharamietxr editors thuklaewn aenana editor help Lerner MJ Simmons CH 1966 Observer s reaction to the innocent victim Compassion or rejection Journal of Personality and Social Psychology 4 2 203 210 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Lerner MJ 1980 The Belief in a Just World A Fundamental Delusion New York Plenum Lerner MJ Miller DT 1978 Just world research and the attribution process Looking back and ahead Psychological Bulletin 85 5 1030 1051 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Maes J 1998 Eight Stages in the Development of Research on the Construct of BJW Responses to Victimizations and Belief in a Just World New York Plenum Press pp 163 185 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a imruckpharamietxr editors thuklaewn aenana editor help Linden M Maercker A 2011 Embitterment Societal psychological and clinical perspectives Wien Springer Howard J 1984 Societal influences on attribution Blaming some victims more than others Journal of Personality and Social Psychology 47 3 494 505 Godfrey B Lowe C 1975 Devaluation of innocent victims An attribution analysis within the just world paradigm Journal of Personality and Social Psychology 31 944 951 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Lerner MJ 1970 The desire for justice and reactions to victims Altruism and helping behavior New York Academic Press a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a imruckpharamietxr editors thuklaewn aenana editor help Davis K Jones E 1960 Changes in interpersonal perception as a means of reducing cognitive dissonance Journal of Abnormal and Social Psychology 61 402 410 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Glass D 1964 Changes in liking as a means of reducing cognitive discrepancies between self esteem and aggression Journal of Personality 32 Cialdini RB Kenrick DT Hoerig JH 1976 Victim derogation in the Lerner paradigm Just world or just justification Journal of Personality and Social Psychology 33 6 719 724 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Reichle B Schneider A Montada L 1998 How do observers of victimization preserve their belief in a just world cognitively or actionally Responses to victimization and belief in a just world New York Plenum pp 55 86 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a imruckpharamietxr editors thuklaewn aenana editor help CS1 maint multiple names authors list lingk Rubin Z Peplau A 1973 Belief in a just world and reactions to another s lot A study of participants in the national draft lottery Journal of Social Issues 29 73 93 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Rubin Z Peplau LA 1975 Who believes in a just world Journal of Social Issues 31 65 89 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Janoff Bulman R Timko C Carli LL 1985 Cognitive biases in blaming the victim Journal of Experimental Social Psychology 21 2 161 177 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Carli LL 1999 Cognitive Reconstruction Hindsight and Reactions to Victims and Perpetrators and Social Psychology Bulletin 25 8 966 979 Summers G Feldman NS 1984 Blaming the victim versus blaming the perpetrator An attributional analysis of spouse abuse Symposium A Quarterly Journal In Modern Foreign Literatures 2 4 339 347 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Fox CL Elder T Gater J Johnson E 2010 The association between adolescents beliefs in a just world and their attitudes to victims of bullying The British journal of educational psychology Pt 2 80 183 98 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint location CS1 maint multiple names authors list lingk Correia I Dalbert C 2008 School Bullying European Psychologist 13 4 248254 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Correia I Kamble SV Dalbert C 2009 Belief in a just world and well being of bullies victims and defenders a study with Portuguese and Indian students Anxiety stress and coping 22 5 497 508 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Gruman JC Sloan RP 1983 Disease as Justice Perceptions of the Victims of Physical Illness Basic and Applied Social Psychology 4 1 39 46 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Furnham A Procter E 1992 Sphere specific just world beliefs and attitudes to AIDS Human Relations 45 265 280 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Harper DJ Wagstaff G F Newton JT Harrison KR 1990 Lay causal perceptions of third world poverty and the just world theory Social Behavior and Personality an international journal Scientific Journal Publishers 18 2 235 238 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Harper DJ Manasse PR 1992 The Just World and the Third World British explanations for poverty abroad The Journal of social psychology Heldref Publications 6 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Janoff Bulman R 1979 Characterological versus behavioral self blame inquiries into depression and rape Journal of personality and social psychology 37 10 1798 809 Dalbert C Lipkus IM Sallay H Goch I 2001 A just and unjust world Structure and validity of different world beliefs Personality and Individual Differences 30 561 577 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Maes J 1998 Immanent justice and ultimate justice two ways of believing in justice Responses to Victimizations and Belief in a Just World New York Plenum Press pp 9 40 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a imruckpharamietxr editors thuklaewn aenana editor help Mohiyeddini C Montada L 1998 ImBJW and self efficacy in coping with observed victimization Responses to Victimizations and Belief in a Just World New York Plenum Press pp 43 53 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a imruckpharamietxr editors thuklaewn aenana editor help CS1 maint multiple names authors list lingk Lambert AJ Burroughs T Nguyen T 1999 Perceptions of risk and the buffering hypothesis The role of just world beliefs and right wing authoritarianism Personality and Social Psychology Bulletin 25 6 643 656 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Furnham A Procter E 1989 Belief in a just world review and critique of the individual difference literature British Journal of Social Psychology 28 365 384 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Begue L 2002 Beliefs in justice and faith in people just world religiosity and interpersonal trust Personality and Individual Differences 32 3 375 382 Kurst J Bjorck J Tan S 2000 Causal attributions for uncontrollable negative events Journal of Psychology and Christianity 19 47 60 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Calhoun L Cann A 1994 Differences in assumptions about a just world ethnicity and point of view Journal of Social Psychology 134 765 770 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Hunt M 2000 Status religion and the belief in a just world comparing African Americans Latinos and Whites Social Science Quarterly 81 325 343 Furnham A 1993 Just world beliefs in twelve societies Journal of Social Psychology 133 317 329 Furnham A 1992 Relationship knowledge and attitudes towards AIDS Psychological Reports 71 1149 1150 Dalbert C 2001 The justice motive as a personal resource dealing with challenges and critical life events New York Plenum Lipkus IM Dalbert C Siegler IC 1996 The Importance of Distinguishing the Belief in a Just World for Self Versus for Others Implications for Psychological Well Being Personality and Social Psychology Bulletin 22 7 666 677 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Ritter C Benson DE Snyder C 1990 Belief in a just world and depression Sociological Perspective 25 235 252 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Hafer C Olson J 1998 Individual differences in beliefs in a just world and responses to personal misfortune Responses to Victimizations and Belief in a Just World New York Plenum Press pp 65 86 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a imruckpharamietxr editors thuklaewn aenana editor help CS1 maint multiple names authors list lingk Taylor SE Brown J 1988 Illusion and well being A social psychological perspective on mental health Psychological Bulletin 103 193 210 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Sutton R Douglas K 2005 Justice for all or just for me More evidence of the importance of the self other distinction in just world beliefs Personality and Individual Differences 39 3 637 645 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Responses to victimizations and belief in the just world New York Plenum 1998 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a imruckpharamietxr editors thuklaewn aenana editor help aehlngkhxmulxunHafer C L Begue 2005 Experimental research on just world theory problems developments and future challenges PDF Psychological Bulletin 131 1 128 167 doi 10 1037 0033 2909 131 1 128 Lerner Melvin J 1980 The Belief in a Just World A Fundamental Delusion Perspectives in Social Psychology New York Plenum Press ISBN 978 0 306 40495 5 Lerner M Simmons C H 1966 Observer s Reaction to the Innocent Victim Compassion or Rejection Journal of Personality and Social Psychology 4 2 203 210 doi 10 1037 h0023562 PMID 5969146 Montada Leo Lerner Melvin J 1998 Responses to Victimization and Belief in a Just World Critical Issues in Social Justice ISBN 978 0 306 46030 2 Rubin Z Peplau L A 1975 PDF Journal of Social Issues 31 3 65 90 doi 10 1111 j 1540 4560 1975 tb00997 x khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2011 07 20 subkhnemux 2016 01 22 Reprinted 1977 in Reflections XII 1 1 26 Rubin Z Peplau L A 1973 PDF Journal of Social Issues 29 4 73 94 doi 10 1111 j 1540 4560 1973 tb00104 x khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2011 07 20 subkhnemux 2016 01 22 ewbistThe Just World Hypothesis Issues in Ethics The Just World Theory