ไฮดรอกไซด์ไอออน เป็นไอออนประจุลบอะตอมคู่ มีสูตรเคมีเป็น OH− ประกอบด้วยอะตอมออกซิเจนและไฮโดรเจนยึดเข้าด้วยกันโดยพันธะโควาเลนต์ และมีประจุไฟฟ้าลบ เป็นองค์ประกอบตามธรรมชาติของน้ำ มีสมบัติเป็นเบสต่อกรด หรือเป็นลิแกนด์ต่อโลหะ โดยเสียอิเล็กตรอนหนึ่งถึงสามคู่ให้แก่โลหะศูนย์กลาง ไฮดรอกไซด์ไอออนสามารเกิดเป็นสารประกอบไฮดรอกไซด์กับธาตุหมู่ 1 และหมู่ 2 ได้เป็นสารประกอบของแข็ง ไฮดรอกไซด์เหล่านี้จะแตกตัวในสารละลายในน้ำ และได้เป็นไฮดรอกไซด์ไอออน โซเดียมไฮดรอกไซด์เป็นเคมีโภคภัณฑ์ที่มีการบริโภคนับหลายล้านตันต่อปี กลุ่มไฮดรอกไซด์เมื่อร่วมเข้ากับธาตุกลางที่มีอิเล็กโตรเนกาทิวิตีสูงอาจทำให้ตัวมันเองแตกตัว ได้เป็นไฮดรอกไซด์ไอออน ทำให้เกิดเป็นสารต้นแบบของกรด
ในเคมีอินทรีย์ ไฮดรอกไซด์ไอออนสามารถมีสมบัติเป็นคะตะลิสต์หรือเป็นตัวทำปฏิกิริยานิวคลีโอไฟล์ กลุ่ม OH หรือที่รู้จักกันในชื่อกลุ่มไฮดรอกซิล ปรากฏในแอลกอฮอล์ กรดฟีนอลคาร์บอกซิลิก และสารประกอบอินทรีย์ที่เกี่ยวข้อง
ลักษณะ
ไฮดรอกไซด์ไอออนเป็นองค์ประกอบตามธรรมชาติของน้ำ เนื่องจาก:
- H+ + OH– ⇌ H2O
ของปฏิกิริยานี้ สามารถหาได้จาก
- Kw = [H+][OH–]
ซึ่งมีค่าใกล้เคียงกับ 10−14 ที่อุณหภูมิ 25 °C ดังนั้น ความเข้มข้นของไฮดรอกไซด์ไอออนในน้ำบริสุทธิ์จึงอยู่ใกล้เคียงกับ 10−7 โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร (mol dm−3) เพื่อที่จะให้เป็นไปตามข้อจำกัดประจุเท่ากัน ค่า pH ของสารละลายเท่ากับลอการิทึมร่วมเกี่ยวทศนิยมของความเข้มข้นของไฮโดรเจนไอออน pH ของน้ำบริสุทธิ์มีค่าใกล้เคียงกับ 7 ที่อุณหภูมิห้อง ความเข้มข้นของไฮดรอกไซด์ไอออนสามารถแสดงให้อยู่ในรูป pOH ซึ่งมีค่าใกล้เคียงกับ 14 − pH ดังนั้น ค่า pOH ของน้ำบริสุทธิ์จึงมีค่าใกล้เคียงกับ 7 เช่นกัน การเพิ่มเบสลงไปในน้ำจะเป็นการลดความเข้มข้นของไฮโดรเจนไอออนและเพิ่มความเข้มข้นของไฮดรอกไซด์ (กล่าวคือ เพิ่มค่า pH และลดค่า pOH) ถึงแม้ว่าในเบสที่เติมลงไปนั้นจะไม่มีไฮดรอกไซด์เป็นส่วนประกอบอยู่เลยก็ตาม ยกตัวอย่างเช่น สารประกอบแอมโมเนียมีค่า pH มากกว่า 7 เนื่องจากปฏิกิริยา NH3 + H+ ⇌ NH4+ ซึ่งส่งผลทำให้ความเข้มข้นของไฮโดรเจนไอออนลดลง และความเข้มข้นของไฮดรอกไซด์ไอออนเพิ่มขึ้น pOH สามารถถูกรักษาไว้ที่ใกล้เคียงกับค่าคงด้วยสารละลายบัฟเฟอร์หลายชนิด
ในสารละลายในน้ำ ไฮดรอกไซด์ไอออนถือว่าเป็นเบส ตามทฤษฎีของเบรินสเตด-ลาวรี เนื่องจากมันสามารถรับโปรตอนจากกรดตามทฤษฎีของเบรินสเตด-ลาวรีเพื่อสร้างเป็นโมเลกุลน้ำได้ นอกจากนี้ มันยังมีสมบัติเป็นเบสลิวอิสโดยการเสียอิเล็กตรอนให้แก่กรดลิวอิส ในสารละลายในน้ำ ทั้งไฮโดรเจนไอออนและไฮดรอกไซด์ต่างก็เป็นตัวทำละลายแก่ทั้งคู่ โดยพันธะไฮโดรเจนระหว่างอะตอมออกซิเจนและไฮโดรเจน ไอออนไบไฮดรอกไซด์ H3O2− มีลักษณะพิเศษเป็นของแข็ง สารประกอบดังกล่าวเป็นสมมาตรศูนย์กลางและมีพันธะไฮโดรเจนที่สั้นมาก (114.5 พิโคเมตร) ซึ่งใกล้เคียงกับความยาวของพันธะในไอออนไบฟลูออไรด์ HF<หรั่งb>2− (114 พิโคเมตร) ในสารละลายไฮดรอกไซด์สร้างพันธะไฮโดรเจนที่แข็งแรงกับโมเลกุลน้ำ ผลที่เกิดขึ้นตามมาคือ สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้นจะมีความหนืดสูงเนื่องจากการก่อตัวของเครือข่ายขยายของพันธะไฮโดรเจนเช่นเดียวกับในสารละลายไฮโดรเจนฟลูออไรด์
ในสารละลาย ไฮดรอกไซด์ไอออนทำปฏิกิริยาอย่างรวดเร็วกับคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ ซึ่งมีสมบัติคล้ายกับกรด เพื่อสร้างไอออนไบคาร์บอเนต
- OH– + CO2 ⇌ HCO3–
ค่าคงที่สมดุลสำหรับปฏิกิริยานี้สามารถกำหนดได้เป็นปฏิกิริยากับคาร์บอนไดออกไซด์แตกตัว หรือเป็นปฏิกิริยากับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ที่สภาวะเป็นกลางหรือกรด ปฏิกิริยาจะเกิดขึ้นได้ช้า แต่สามารถแรงปฏิกิริยาได้โดยเอนไซม์คาร์บอร์นิคแอนไฮเดรส ซึ่งสามารถสร้างไฮดรอกไซด์ไอออนได้อย่างรวดเร็วที่บริเวณเร่ง
สารละลายที่ประกอบด้วยไฮดรอกไซด์จะทำอันตรายต่อแก้ว ในกรณีนี้ ซิลิเกตในแก้วจะมีสมบัติเสมือนกรด ส่วนไฮดรอกไซด์ซึ่งมีสมบัติเป็นเบส ไม่ว่าจะอยู่ในสถานะของแข็งหรืออยู่ในสารละลายก็ตาม จะถูกเก็บไว้ในภาชนะพลาสติกที่ปิดมิดชิดไม่ให้อากาศเข้าไปได้
ไฮดรอกไซด์ไอออนสามารถทำหน้าที่เป็นลิแกนต์ตัวให้อิเล็กตรอน ซึ่งสามารถสร้างเป็นสารประกอบเชิงซ้อนได้เป็น [Al(OH)4]– นอกจากนี้ ยังมักถูกพบในสารประกอบเชิงซ้อนลิแกนต์ผสม ประเภท [MLx(OH)y]z+ โดยที่ L คือลิแกนต์ ไฮดรอกไซด์ไอออนมักจะทำหน้าที่เสมือนเป็นลิแกนต์ตัวเชื่อม โดยให้อิเล็กตรอนหนึ่งคู่ให้แก่แต่ละอะตอมที่ถูกเชื่อม ดังที่ปรากฏใน [Pb2(OH)]3+ ไฮดรอกไซด์โลหะมักจะเขียนในรูปอย่างง่าย มันยังสามารถมีสมบัติเป็นตัวให้อิเล็กตรอนสามคู่ ดังที่ปรากฏในเตตระเมอร์ [PtMe3OH]4
เมื่อสร้างพันธะกับศูนย์กลางโลหะที่เป็นตัวให้อิเล็กตรอนอย่างแรงแล้ว ลิแกนต์ไฮดรอกไซด์มักจะแตกตัวเป็นลิแกนต์ออกไซด์ ยกตัวอย่างเช่น ไอออนไบโครเมท ซึ่งสามารถเขียนเป็นสูตรได้ [HCrO4]– จะแตกตัวดังสมการ
- [O3CrO-H]– ⇌ [CrO4]2– + H+
โดยที่ pKa มีค่าประมาณ 5.9
อ้างอิง
- Geissler P. L.; Dellago C.; Chandler D.; Hutter J.; Parrinello M. (2001). "Autoionization in liquid water". Science. 291: 2121–2124. doi:10.1126/science.1056991.
- Marx, D.; Chandra A; Tuckerman M.E. (2010). "Aqueous Basic Solutions: Hydroxide Solvation, Structural Diffusion, and Comparison to the Hydrated Proton". Chem. Rev. 110 (4): 2174–2216. doi:10.1021/cr900233f.
- Kamal Abu-Dari; Kenneth N. Raymond; Derek P. Freyberg (1979). "The bihydroxide (H3O2−) anion. A very short, symmetric hydrogen bond". 101: 3688–3689. doi:10.1021/ja00507a059.
- Greenwood, p 1168
- IUPAC SC-Database 2017-06-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน A comprehensive database of published data on equilibrium constants of metal complexes and ligands
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ihdrxkisdixxxn epnixxxnpraculbxatxmkhu misutrekhmiepn OH prakxbdwyxatxmxxksiecnaelaihodrecnyudekhadwyknodyphnthaokhwaelnt aelamipracuiffalb epnxngkhprakxbtamthrrmchatikhxngna mismbtiepnebstxkrd hruxepnliaekndtxolha odyesiyxielktrxnhnungthungsamkhuihaekolhasunyklang ihdrxkisdixxxnsamarekidepnsarprakxbihdrxkisdkbthatuhmu 1 aelahmu 2 idepnsarprakxbkhxngaekhng ihdrxkisdehlanicaaetktwinsarlalayinna aelaidepnihdrxkisdixxxn osediymihdrxkisdepnekhmiophkhphnththimikarbriophkhnbhlaylantntxpi klumihdrxkisdemuxrwmekhakbthatuklangthimixielkotrenkathiwitisungxacthaihtwmnexngaetktw idepnihdrxkisdixxxn thaihekidepnsartnaebbkhxngkrdokhrngsrangomelkulaebbliwxiskhxngihdrxkisdixxxn aesdngxielktrxnkhuoddediywsamkhukhxngxatxmxxksiecn inekhmixinthriy ihdrxkisdixxxnsamarthmismbtiepnkhatalisthruxepntwthaptikiriyaniwkhlioxifl klum OH hruxthiruckkninchuxklumihdrxksil praktinaexlkxhxl krdfinxlkharbxksilik aelasarprakxbxinthriythiekiywkhxnglksnaihdrxkisdixxxnepnxngkhprakxbtamthrrmchatikhxngna enuxngcak H OH H2O khxngptikiriyani samarthhaidcak Kw H OH sungmikhaiklekhiyngkb 10 14 thixunhphumi 25 C dngnn khwamekhmkhnkhxngihdrxkisdixxxninnabrisuththicungxyuiklekhiyngkb 10 7 omltxlukbaskedsiemtr mol dm 3 ephuxthicaihepniptamkhxcakdpracuethakn kha pH khxngsarlalayethakblxkarithumrwmekiywthsniymkhxngkhwamekhmkhnkhxngihodrecnixxxn pH khxngnabrisuththimikhaiklekhiyngkb 7 thixunhphumihxng khwamekhmkhnkhxngihdrxkisdixxxnsamarthaesdngihxyuinrup pOH sungmikhaiklekhiyngkb 14 pH dngnn kha pOH khxngnabrisuththicungmikhaiklekhiyngkb 7 echnkn karephimebslngipinnacaepnkarldkhwamekhmkhnkhxngihodrecnixxxnaelaephimkhwamekhmkhnkhxngihdrxkisd klawkhux ephimkha pH aelaldkha pOH thungaemwainebsthietimlngipnncaimmiihdrxkisdepnswnprakxbxyuelyktam yktwxyangechn sarprakxbaexmomeniymikha pH makkwa 7 enuxngcakptikiriya NH3 H NH4 sungsngphlthaihkhwamekhmkhnkhxngihodrecnixxxnldlng aelakhwamekhmkhnkhxngihdrxkisdixxxnephimkhun pOH samarththukrksaiwthiiklekhiyngkbkhakhngdwysarlalaybfefxrhlaychnid insarlalayinna ihdrxkisdixxxnthuxwaepnebs tamthvsdikhxngebrinsetd lawri enuxngcakmnsamarthrboprtxncakkrdtamthvsdikhxngebrinsetd lawriephuxsrangepnomelkulnaid nxkcakni mnyngmismbtiepnebsliwxisodykaresiyxielktrxnihaekkrdliwxis insarlalayinna thngihodrecnixxxnaelaihdrxkisdtangkepntwthalalayaekthngkhu odyphnthaihodrecnrahwangxatxmxxksiecnaelaihodrecn ixxxnibihdrxkisd H3O2 milksnaphiessepnkhxngaekhng sarprakxbdngklawepnsmmatrsunyklangaelamiphnthaihodrecnthisnmak 114 5 phiokhemtr sungiklekhiyngkbkhwamyawkhxngphnthainixxxnibfluxxird HF lt hrngb gt 2 114 phiokhemtr insarlalayihdrxkisdsrangphnthaihodrecnthiaekhngaerngkbomelkulna phlthiekidkhuntammakhux sarlalayosediymihdrxkisdekhmkhncamikhwamhnudsungenuxngcakkarkxtwkhxngekhruxkhaykhyaykhxngphnthaihodrecnechnediywkbinsarlalayihodrecnfluxxird insarlalay ihdrxkisdixxxnthaptikiriyaxyangrwderwkbkharbxnidxxkisdinbrryakas sungmismbtikhlaykbkrd ephuxsrangixxxnibkharbxent OH CO2 HCO3 khakhngthismdulsahrbptikiriyanisamarthkahndidepnptikiriyakbkharbxnidxxkisdaetktw hruxepnptikiriyakbaekskharbxnidxxkisd thisphawaepnklanghruxkrd ptikiriyacaekidkhunidcha aetsamarthaerngptikiriyaidodyexnismkharbxrnikhaexnihedrs sungsamarthsrangihdrxkisdixxxnidxyangrwderwthibriewnerng sarlalaythiprakxbdwyihdrxkisdcathaxntraytxaekw inkrnini siliektinaekwcamismbtiesmuxnkrd swnihdrxkisdsungmismbtiepnebs imwacaxyuinsthanakhxngaekhnghruxxyuinsarlalayktam cathukekbiwinphachnaphlastikthipidmidchidimihxakasekhaipid ihdrxkisdixxxnsamarththahnathiepnliaeknttwihxielktrxn sungsamarthsrangepnsarprakxbechingsxnidepn Al OH 4 nxkcakni yngmkthukphbinsarprakxbechingsxnliaekntphsm praephth MLx OH y z odythi L khuxliaeknt ihdrxkisdixxxnmkcathahnathiesmuxnepnliaeknttwechuxm odyihxielktrxnhnungkhuihaekaetlaxatxmthithukechuxm dngthipraktin Pb2 OH 3 ihdrxkisdolhamkcaekhiyninrupxyangngay mnyngsamarthmismbtiepntwihxielktrxnsamkhu dngthipraktinettraemxr PtMe3OH 4 emuxsrangphnthakbsunyklangolhathiepntwihxielktrxnxyangaerngaelw liaekntihdrxkisdmkcaaetktwepnliaekntxxkisd yktwxyangechn ixxxnibokhremth sungsamarthekhiynepnsutrid HCrO4 caaetktwdngsmkar O3CrO H CrO4 2 H odythi pKa mikhapraman 5 9xangxingGeissler P L Dellago C Chandler D Hutter J Parrinello M 2001 Autoionization in liquid water Science 291 2121 2124 doi 10 1126 science 1056991 Marx D Chandra A Tuckerman M E 2010 Aqueous Basic Solutions Hydroxide Solvation Structural Diffusion and Comparison to the Hydrated Proton Chem Rev 110 4 2174 2216 doi 10 1021 cr900233f Kamal Abu Dari Kenneth N Raymond Derek P Freyberg 1979 The bihydroxide H3O2 anion A very short symmetric hydrogen bond 101 3688 3689 doi 10 1021 ja00507a059 Greenwood p 1168 IUPAC SC Database 2017 06 19 thi ewyaebkaemchchin A comprehensive database of published data on equilibrium constants of metal complexes and ligands