ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
ไคทิน (อังกฤษ: Chitin;C8H13O5N) n (/ˈkaɪtɪn/) เป็นสารคาร์โบไฮเดรต ประเภทพอลิแซ็กคาไรด์ที่มีสายยาว เป็นโฮโมพอลิเมอร์สายยาวของ N-acetyl-D-glucosamine ซึ่งเป็นอนุพันธ์ของกลูโคส ต่อกับด้วยพันธะไกลโคไซด์ (glycosidic bond) แบบ β-1,4 แต่หมู่ hydroxyl (-OH) ที่ตำแหน่ง C2 จะถูกแทนที่ด้วยกลุ่ม acetyl amino (-NHCOCH3) เป็นโครงสร้างผนังเซลล์หลักของฟังไจ, ในเปลือกหุ้มของสัตว์ประเภทอาร์โทพอด อาทิ กุ้ง ปู และแมลง, จะงอยปากของหอย และ ปลาหมึก, เกล็ดของปลา และ ลิสแซมฟิเบีย โครงสร้างของสารไคทินคล้ายกับเซลลูโลส ไคทินสามารถทำหน้าที่ได้เหมือนโปรตีนเคราติน เป็นสารที่มีการนำไปใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ เทคโนโลยีชีวภาพ และ ทางอุตสาหกรรม
ผลกระทบต่อสุขภาพ
สิ่งมีชีวิตที่มีองค์ประกอบของสารไคติน อาทิ โปรโตซัว เชื้อรา อาร์โทรพอด และ ไส้เดือนฝอย มักเป็นจุลชีพก่อโรคสำหรับสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์อื่น ๆ[14]
มนุษย์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมสายพันธุ์อื่น
มนุษย์และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอื่น ๆ มีโปรตีนคล้ายไคติเนสและไคติเนสที่สามารถย่อยสลายไคติน อีกทั้งยังมีตัวรับภูมิคุ้มกันหลายชนิดที่สามารถรับรู้สารไคติน ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการย่อยสลายสารไคทิน มีรูปแบบโมเลกุลที่เกี่ยวข้องกับเชื้อโรค ซึ่งจะทำให้เกิดการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
โดยส่วนใหญ่แล้ว สารไคตินมักมีการตรวจจับโดยร่างกายในปอด หรือ ทางเดินอาหาร ซึ่งสามารถกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันโดยธรรมชาติผ่าน eosinophils หรือ macrophages เช่นเดียวกับ การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันแบบปรับตัวผ่านเซลล์ T helper Keratinocytes ในผิวหนังสามารถตอบสนองต่อสารไคตินได้ อ้างอิงจากการศึกษาในหลอดทดลอง มีตัวรับสัญญาณชีวภาพหลายชนิดที่ตรวจจับสารไคติได้ อาทิเช่น FIBCD1, KLRB1, REG3G, Toll-like receptor 2, CLEC7A, และ mannose receptor[15]
การตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกัน สามารถกำจัดสารไคตินและจุลชีพก่อโรคที่มีสารไคทินเป็นองค์ประกอบได้ แต่ในบางครั้ง การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อสารไคตินอาจทำให้เกิดอาการแพ้ได้ การแพ้ไรฝุ่นในบ้านเกิดจากการตอบสนองต่อสารไคติน รวมถึงอาการแพ้อาหารที่มีสัตว์ขาปล้องเป็นส่วนผสม[16]
แหล่งข้อมูลอื่น
- Horseshoe Crab Chitin Research 2009-06-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Information about Chitin (Heppe Medical Chitosan)
- Chitin ในหอสมุดแพทย์ศาสตร์แห่งชาติอเมริกา สำหรับหัวข้อเนื้อหาทางการแพทย์ (MeSH)
- สาวิกา กัลปพฤกษ์, ผกายวรรณ กึกก้อง และ สิทธิ กุหลาบทอง. 2556. ไคโตซานในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ. Veridian e journal, Silpakorn University. 6(2): 984 - 993.[[https://web.archive.org/web/20150506150644/http://www.ejournal.su.ac.th/journalinfo.php?id=701 เก็บถาวร 2015-05-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน]]
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud ikhthin xngkvs Chitin C8H13O5N n ˈ k aɪ t ɪ n epnsarkharobihedrt praephthphxliaeskkhairdthimisayyaw epnohomphxliemxrsayyawkhxng N acetyl D glucosamine sungepnxnuphnthkhxngkluokhs txkbdwyphnthaiklokhisd glycosidic bond aebb b 1 4 aethmu hydroxyl OH thitaaehnng C2 cathukaethnthidwyklum acetyl amino NHCOCH3 epnokhrngsrangphnngesllhlkkhxngfngic inepluxkhumkhxngstwpraephthxarothphxd xathi kung pu aelaaemlng cangxypakkhxnghxy aela plahmuk ekldkhxngpla aela lisaesmfiebiy okhrngsrangkhxngsarikhthinkhlaykbeslluols ikhthinsamarththahnathiidehmuxnoprtinekhratin epnsarthimikarnaipichpraoychnthangkaraephthy ethkhonolyichiwphaph aela thangxutsahkrrmokhrngsrangkhxngikhthin prakxbdwysxnghnwythicaeriyngsakncnepnsayyawdwyphnthaaebb b 1 4pikkhxngephliyckcn leafhopper thimiikhthinepnsarprakxbhlkphlkrathbtxsukhphaphsingmichiwitthimixngkhprakxbkhxngsarikhtin xathi oprotsw echuxra xarothrphxd aela iseduxnfxy mkepnculchiphkxorkhsahrbsingmichiwitsayphnthuxun 14 mnusyaelastweliynglukdwynmsayphnthuxun mnusyaelastweliynglukdwynmxun mioprtinkhlayikhtiensaelaikhtiensthisamarthyxyslayikhtin xikthngyngmitwrbphumikhumknhlaychnidthisamarthrbrusarikhtin phlitphnththiidcakkaryxyslaysarikhthin mirupaebbomelkulthiekiywkhxngkbechuxorkh sungcathaihekidkartxbsnxngthangphumikhumkninstweliynglukdwynm odyswnihyaelw sarikhtinmkmikartrwccbodyrangkayinpxd hrux thangedinxahar sungsamarthkratunrabbphumikhumknodythrrmchatiphan eosinophils hrux macrophages echnediywkb kartxbsnxngthangphumikhumknaebbprbtwphanesll T helper Keratinocytes inphiwhnngsamarthtxbsnxngtxsarikhtinid xangxingcakkarsuksainhlxdthdlxng mitwrbsyyanchiwphaphhlaychnidthitrwccbsarikhtiid xathiechn FIBCD1 KLRB1 REG3G Toll like receptor 2 CLEC7A aela mannose receptor 15 kartxbsnxngkhxngrabbphumikhumkn samarthkacdsarikhtinaelaculchiphkxorkhthimisarikhthinepnxngkhprakxbid aetinbangkhrng kartxbsnxngthangphumikhumkntxsarikhtinxacthaihekidxakaraephid karaephirfuninbanekidcakkartxbsnxngtxsarikhtin rwmthungxakaraephxaharthimistwkhaplxngepnswnphsm 16 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb ikhthin Horseshoe Crab Chitin Research 2009 06 26 thi ewyaebkaemchchin Information about Chitin Heppe Medical Chitosan Chitin inhxsmudaephthysastraehngchatixemrika sahrbhwkhxenuxhathangkaraephthy MeSH sawika klpphvks phkaywrrn kukkxng aela siththi kuhlabthxng 2556 ikhotsaninkarephaaeliyngstwna Veridian e journal Silpakorn University 6 2 984 993 https web archive org web 20150506150644 http www ejournal su ac th journalinfo php id 701 ekbthawr 2015 05 06 thi ewyaebkaemchchin section