มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือที่นิยมเรียกทับศัพท์ว่า ลูคิเมีย (อังกฤษ: Leuke(a)mia) เป็นกลุ่มของโรคมะเร็งเม็ดเลือดซึ่งปกติเริ่มต้นในไขกระดูกทำให้มีเซลล์เม็ดเลือดปริมาณสูงผิดปกติ เซลล์เม็ดเลือดเหล่านี้ยังไม่เจริญเต็มที่ และเรียกว่าเซลล์ตัวอ่อนหรือเซลล์มะเร็งเม็ดเลือด อาการอาจมีเลือดออกและมีจุดจ้ำเลือด รู้สึกเพลีย มีไข้ และมีความเสี่ยงติดเชื้อมากขึ้น ซึ่งเป็นอาการเนื่องจากขาดเซลล์เม็ดเลือดปกติ ปกติวินิจฉัยด้วยการทดสอบเลือดหรือการเจาะไขกระดูกออกตรวจ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว | |
---|---|
ภาพเสมียร์ไขกระดูกย้อมสีไรท์ของผู้ป่วยมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด B-cell acute lymphoblastic leukemia | |
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | C91-C95 |
ICD- | 208.9 |
9800-9940 | |
7431 | |
MeSH | D007938 |
อาการ
เนื่องจากผู้ป่วยมะเร็งเม็ดเลือดขาวนั้น จะมีการแบ่งตัวเพิ่มจำนวนของเซลล์ตัวอ่อนของเม็ดเลือดขาวเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะมีผลกระทบต่ออวัยวะที่สร้างเม็ดเลือดชนิดต่าง ๆ ได้แก่ ปริมาณเกล็ดเลือด ที่บทบาทสำคัญในกระบวนการแข็งตัวของเลือดนั้นลดจำนวนลง ส่งผลให้ผู้ป่วยอาจจะเกิดรอยจ้ำเลือด (bruised) มีภาวะเลือดไหลไม่หยุดได้ (bleed excessively) และ อาจจะเป็นจุดแดง ๆ ตามผิวหนังได้ (petechiae)
นอกจากนี้ การที่ผู้ป่วยมีจำนวนเม็ดเลือดขาวที่ปกติลดจำนวนลงนั้น จะทำให้ผู้ป่วยมีภาวะติดเชื้อได้ง่ายกว่าคนปกติอีกด้วย รวมทั้ง การที่จำนวนเม็ดเลือดแดงมีจำนวนที่ลดลง ก็จะส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการของโลหิตจาง ซึ่งอาจจะทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะหายใจลำบากขึ้นด้วย นนปัจจุบันมีความก้าวหน้าของยาเคมีบำบัด และการปลูกถ่ายไขกระดูกมีความก้าวหน้า เพราะฉะนั้นจัดได้ว่ามีวิธีการรักษาให้หายขาดได้ โดยเฉพาะในเด็กอายุต่ำกว่า 12 ขวบ อัดราการรักษาให้หายขาดค่อนข้างสูง คงขึ้นอยู่กับการมาพบแพทย์รักษาอย่างรวดเร็วและมาพบตั้งแต่เริ่มต้น มีบางกลุ่มที่ไม่ทราบและปล่อยปละละเลยให้อาการเป็นมากขึ้น
นอกจากนี้ ยังอาจจะมีอาการอื่น ๆ อีก เช่น อาการมีไข้ขึ้น หนาวสั่น น้ำหนักลด มีอาการอ่อนเพลีย ปวดศีรษะ และเมื่อเซลล์มะเร็งเกิดการแพร่กระจายไปยังตับและม้าม ก็จะทำให้ตับโต และม้ามโตได้ และถ้าหากเซลล์มะเร็งเกิดการแพร่กระจายไปยังกระดูก ก็จะส่งผลทำให้มีอาการปวดกระดูกและข้อได้เช่นกัน
ประเภท
การแบ่งประเภทของมะเร็งเม็ดเลือดขาวนั้น สามารถแบ่งออกได้หลายแบบ ได้แก่
- Acute lymphocytic leukemia (Acute Lymphoblastic Leukemia หรือ ALL) สามารถพบได้ในเด็กอายุน้อยกว่า 10 ปี รวมถึงในผู้ใหญ่ที่มีอายุมากกว่า 65 ปีอีกด้วย
- Acute myelogenous leukemia (Acute Myeloid Leukemia (AML) หรือ acute nonlymphocytic leukemia) สามารถพบในผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก
- Chronic lymphocytic leukemia (CLL) พบได้บ่อยในผู้ใหญ่ที่มีอายุมากกว่า 55 ปี และสามารถพบในเด็กได้บ้าง แต่ไม่ค่อยส่งผลกระทบเท่าไหร่
- Chronic myelogenous leukemia (CML) พบได้ในผู้ใหญ่ แต่ไม่ค่อยพบในเด็ก
สาเหตุ
ไม่มีสาเหตุเดียวที่ทราบว่าก่อให้เกิดมะเร็งเม็ดเลือดขาว สำหรับกรณีที่ทราบนั้นพบน้อย และเชื่อว่ามะเร็งเม็ดเลือดขาวแต่ละชนิดก็มีสาเหตุต่างกัน
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเกิดจากการกลายพันธุ์ของดีเอ็นเอเช่นเดียวกับมะเร็งชนิดอื่น การกลายพันธุ์นี้อาจเกิดขึ้นเองหรือเป็นผลจากการได้รับกัมมันตรังสีหรือสารก่อมะเร็ง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การรักษา
การรักษาในผู้ป่วยแต่ละราย และมะเร็งแต่ละชนิดจะไม่เหมือนกัน โดยหลักการการรักษาคือระยะแรกจะควบคุมโรคให้สงบ (remission) หลังจากนั้นจะป้องกันการกลับเป็นซ้ำ (relapse) ผู้ป่วยหลายรายสามารถหายขาดได้
อ้างอิง
- "Leukemia". NCI. 1 January 1980. จากแหล่งเดิมเมื่อ 27 May 2014. สืบค้นเมื่อ 13 June 2014.
Cancer that starts in blood-forming tissue, such as the bone marrow, and causes large numbers of abnormal blood cells
- "What You Need To Know About™ Leukemia". National Cancer Institute. 23 December 2013. จากแหล่งเดิมเมื่อ 6 July 2014. สืบค้นเมื่อ 18 June 2014.
- Radivoyevitch, T; Sachs, R K; Gale, R P; Molenaar, R J; Brenner, D J; Hill, B T; Kalaycio, M E; Carraway, H E; Mukherjee, S (2015). "Defining AML and MDS second cancer risk dynamics after diagnoses of first cancers treated or not with radiation". Leukemia. 30 (2): 285–294. doi:10.1038/leu.2015.258. PMID 26460209.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
maerngemdeluxdkhaw hruxthiniymeriykthbsphthwa lukhiemiy xngkvs Leuke a mia epnklumkhxngorkhmaerngemdeluxdsungpktierimtninikhkradukthaihmiesllemdeluxdprimansungphidpkti esllemdeluxdehlaniyngimecriyetmthi aelaeriykwaeslltwxxnhruxesllmaerngemdeluxd xakarxacmieluxdxxkaelamicudcaeluxd rusukephliy miikh aelamikhwamesiyngtidechuxmakkhun sungepnxakarenuxngcakkhadesllemdeluxdpkti pktiwinicchydwykarthdsxbeluxdhruxkarecaaikhkradukxxktrwcmaerngemdeluxdkhawphaphesmiyrikhkradukyxmsiirthkhxngphupwymaerngemdeluxdkhawchnid B cell acute lymphoblastic leukemiabychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10C91 C95ICD 208 99800 99407431MeSHD007938xakarenuxngcakphupwymaerngemdeluxdkhawnn camikaraebngtwephimcanwnkhxngeslltwxxnkhxngemdeluxdkhawephimmakkhun sungcamiphlkrathbtxxwywathisrangemdeluxdchnidtang idaek primanekldeluxd thibthbathsakhyinkrabwnkaraekhngtwkhxngeluxdnnldcanwnlng sngphlihphupwyxaccaekidrxycaeluxd bruised miphawaeluxdihlimhyudid bleed excessively aela xaccaepncudaedng tamphiwhnngid petechiae nxkcakni karthiphupwymicanwnemdeluxdkhawthipktildcanwnlngnn cathaihphupwymiphawatidechuxidngaykwakhnpktixikdwy rwmthng karthicanwnemdeluxdaedngmicanwnthildlng kcasngphlihphupwymixakarkhxngolhitcang sungxaccathaihphupwyekidphawahayiclabakkhundwy nnpccubnmikhwamkawhnakhxngyaekhmibabd aelakarplukthayikhkradukmikhwamkawhna ephraachanncdidwamiwithikarrksaihhaykhadid odyechphaainedkxayutakwa 12 khwb xdrakarrksaihhaykhadkhxnkhangsung khngkhunxyukbkarmaphbaephthyrksaxyangrwderwaelamaphbtngaeterimtn mibangklumthiimthrabaelaplxyplalaelyihxakarepnmakkhun nxkcakni yngxaccamixakarxun xik echn xakarmiikhkhun hnawsn nahnkld mixakarxxnephliy pwdsirsa aelaemuxesllmaerngekidkaraephrkracayipyngtbaelamam kcathaihtbot aelamamotid aelathahakesllmaerngekidkaraephrkracayipyngkraduk kcasngphlthaihmixakarpwdkradukaelakhxidechnknpraephthkaraebngpraephthkhxngmaerngemdeluxdkhawnn samarthaebngxxkidhlayaebb idaek Acute lymphocytic leukemia Acute Lymphoblastic Leukemia hrux ALL samarthphbidinedkxayunxykwa 10 pi rwmthunginphuihythimixayumakkwa 65 pixikdwy Acute myelogenous leukemia Acute Myeloid Leukemia AML hrux acute nonlymphocytic leukemia samarthphbinphuihymakkwaedk Chronic lymphocytic leukemia CLL phbidbxyinphuihythimixayumakkwa 55 pi aelasamarthphbinedkidbang aetimkhxysngphlkrathbethaihr Chronic myelogenous leukemia CML phbidinphuihy aetimkhxyphbinedksaehtuimmisaehtuediywthithrabwakxihekidmaerngemdeluxdkhaw sahrbkrnithithrabnnphbnxy aelaechuxwamaerngemdeluxdkhawaetlachnidkmisaehtutangkn maerngemdeluxdkhawekidcakkarklayphnthukhxngdiexnexechnediywkbmaerngchnidxun karklayphnthunixacekidkhunexnghruxepnphlcakkaridrbkmmntrngsihruxsarkxmaerngkartrwcthanghxngptibtikarthangkaraephthyswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkarrksakarrksainphupwyaetlaray aelamaerngaetlachnidcaimehmuxnkn odyhlkkarkarrksakhuxrayaaerkcakhwbkhumorkhihsngb remission hlngcaknncapxngknkarklbepnsa relapse phupwyhlayraysamarthhaykhadidxangxing Leukemia NCI 1 January 1980 cakaehlngedimemux 27 May 2014 subkhnemux 13 June 2014 Cancer that starts in blood forming tissue such as the bone marrow and causes large numbers of abnormal blood cells What You Need To Know About Leukemia National Cancer Institute 23 December 2013 cakaehlngedimemux 6 July 2014 subkhnemux 18 June 2014 Radivoyevitch T Sachs R K Gale R P Molenaar R J Brenner D J Hill B T Kalaycio M E Carraway H E Mukherjee S 2015 Defining AML and MDS second cancer risk dynamics after diagnoses of first cancers treated or not with radiation Leukemia 30 2 285 294 doi 10 1038 leu 2015 258 PMID 26460209 bthkhwamolhitwithyaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk