ภูมิคุ้มกันบกพร่อง (อังกฤษ: immunodeficiency หรือ immune deficiency) ในทางการแพทย์ถือว่า เป็นภาวะที่ความสามารถของระบบภูมิคุ้มกันในการต่อสู้กับโรคติดเชื้อลดลงหรือขาดไป ซึ่งส่วนมากพบเป็นแบบทุติยภูมิ หรือเกิดขึ้นภายหลัง (acquired หรือ secondary) แต่ในผู้ป่วยบางรายอาจมีภาวะนี้มาตั้งแต่กำเนิด หรือเรียกว่า (primary immunodeficiency) ในผู้ป่วยที่ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะจะได้รับเพื่อลดการต่อต้านอวัยวะปลูกถ่ายเช่นเดียวกับผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิคุ้มกันมากเกินจนต่อต้านร่างกายตนเอง สำหรับผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องจะมีโอกาสติดเชื้อจากการติดเชื้อฉวยโอกาส (opportunistic infection) เพิ่มนอกเหนือไปจากการติดเชื้อทั่วไปที่เกิดขึ้นกับทุกคน
ภูมิคุ้มกันบกพร่อง (Immunodeficiency) | |
---|---|
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | D84.9 |
ICD- | 279.3 |
21506 | |
MeSH | D007153 |
ชนิด
ภูมิคุ้มกันบกพร่องแบบปฐมภูมิ
โรคที่พบยากบางชนิดมีลักษณะการเพิ่มความไวรับต่อการติดเชื้อตั้งแต่วัยเด็ก ความผิดปกติดังกล่าวมักถ่ายทอดทางพันธุกรรมและมีลักษณะด้อย (autosomal recessive) หรือ (X-linked) กลุ่มอาการที่ทำให้เกิดภูมิคุ้มกันบกพร่องแต่กำเนิดพบแล้วมากกว่า 80 กลุ่มอาการซึ่งมีลักษณะร่วมกันของความผิดปกติในระบบภูมิคุ้มกัน เช่นในลิมโฟไซต์หรือแกรนูโลไซต์
การรักษาภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องแต่กำเนิดขึ้นกับธรรมชาติของโรค และอาจต้องให้แอนติบอดีในเส้นเลือด การใช้ยาปฏิชีวนะระยะยาว หรือในบางกรณีอาจรักษาด้วยสเต็มเซลล์
ภูมิคุ้มกันบกพร่องแบบเกิดภายหลัง
ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องอาจเป็นผลจากปัจจัยภายนอกหรือโรคบางอย่าง จึงเรียกผลดังกล่าวว่าภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องแบบทุติยภูมิ หรือเกิดขึ้นภายหลัง สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากทุพโภชนาการ (malnutrition) , (aging) และยาบางชนิด เช่น เคมีบำบัด, (disease-modifying antirheumatic drugs) , (immunosuppressive drugs) ที่ให้หลังจากการปลูกถ่ายอวัยวะ, และสเตอรอยด์เช่นกลูโคคอร์ติคอยด์ (glucocorticoids)
โรคบางชนิดมีผลทางตรงและทางอ้อมในการทำลายระบบภูมิคุ้มกัน เช่นมะเร็งหลายชนิด โดยเฉพาะมะเร็งไขกระดูกและเม็ดเลือด (เช่นมะเร็งเม็ดเลือดขาว (leukemia) , มะเร็งต่อมน้ำเหลือง (lymphoma) หรือ (multiple myeloma) และโรคเรื้อรังบางชนิด ที่รู้จักกันดีเช่นเอดส์ (AIDS) หรือกลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อมซึ่งมีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องเป็นอาการหลัก เกิดจากไวรัสเอชไอวี (HIV) ซึ่งทำลายระบบภูมิคุ้มกันทางอ้อม
ในประเทศไทย สาเหตุของภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องที่พบได้บ่อยคือการติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งพบได้มากกว่าภูมิคุ้มกันบกพร่องแบบปฐมภูมิ การวินิจฉัยเด็กที่สงสัยว่ามีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องจึงควรคำนึงถึงโรคเอดส์เอาไว้ด้วย
อ้างอิง
- Rosen FS, Cooper MD, Wedgwood RJ (1995). "The primary immunodeficiencies". N. Engl. J. Med. 333 (7): 431–40. doi:10.1056/NEJM199508173330707. PMID 7616993.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - อรวดี หาญวิวัฒน์วงศ์ (บรรณาธิการ). วิทยาภูมิคุ้มกันพื้นฐานและคลินิก. กรุงเทพฯ:คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phumikhumknbkphrxng xngkvs immunodeficiency hrux immune deficiency inthangkaraephthythuxwa epnphawathikhwamsamarthkhxngrabbphumikhumkninkartxsukborkhtidechuxldlnghruxkhadip sungswnmakphbepnaebbthutiyphumi hruxekidkhunphayhlng acquired hrux secondary aetinphupwybangrayxacmiphawanimatngaetkaenid hruxeriykwa primary immunodeficiency inphupwythiidrbkarplukthayxwywacaidrbephuxldkartxtanxwywaplukthayechnediywkbphupwythimiphawaphumikhumknmakekincntxtanrangkaytnexng sahrbphupwythimiphawaphumikhumknbkphrxngcamioxkastidechuxcakkartidechuxchwyoxkas opportunistic infection ephimnxkehnuxipcakkartidechuxthwipthiekidkhunkbthukkhnphumikhumknbkphrxng Immunodeficiency bychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10D84 9ICD 279 321506MeSHD007153chnidphumikhumknbkphrxngaebbpthmphumi orkhthiphbyakbangchnidmilksnakarephimkhwamiwrbtxkartidechuxtngaetwyedk khwamphidpktidngklawmkthaythxdthangphnthukrrmaelamilksnadxy autosomal recessive hrux X linked klumxakarthithaihekidphumikhumknbkphrxngaetkaenidphbaelwmakkwa 80 klumxakarsungmilksnarwmknkhxngkhwamphidpktiinrabbphumikhumkn echninlimofisthruxaekrnuolist karrksaphawaphumikhumknbkphrxngaetkaenidkhunkbthrrmchatikhxngorkh aelaxactxngihaexntibxdiinesneluxd karichyaptichiwnarayayaw hruxinbangkrnixacrksadwysetmesll phumikhumknbkphrxngaebbekidphayhlng phawaphumikhumknbkphrxngxacepnphlcakpccyphaynxkhruxorkhbangxyang cungeriykphldngklawwaphawaphumikhumknbkphrxngaebbthutiyphumi hruxekidkhunphayhlng saehtuswnihyekidcakthuphophchnakar malnutrition aging aelayabangchnid echn ekhmibabd disease modifying antirheumatic drugs immunosuppressive drugs thiihhlngcakkarplukthayxwywa aelasetxrxydechnkluokhkhxrtikhxyd glucocorticoids orkhbangchnidmiphlthangtrngaelathangxxminkarthalayrabbphumikhumkn echnmaernghlaychnid odyechphaamaerngikhkradukaelaemdeluxd echnmaerngemdeluxdkhaw leukemia maerngtxmnaehluxng lymphoma hrux multiple myeloma aelaorkheruxrngbangchnid thiruckkndiechnexds AIDS hruxklumxakarphumikhumknesuxmsungmiphawaphumikhumknbkphrxngepnxakarhlk ekidcakiwrsexchixwi HIV sungthalayrabbphumikhumknthangxxm inpraethsithy saehtukhxngphawaphumikhumknbkphrxngthiphbidbxykhuxkartidechuxexchixwi sungphbidmakkwaphumikhumknbkphrxngaebbpthmphumi karwinicchyedkthisngsywamiphawaphumikhumknbkphrxngcungkhwrkhanungthungorkhexdsexaiwdwyxangxingRosen FS Cooper MD Wedgwood RJ 1995 The primary immunodeficiencies N Engl J Med 333 7 431 40 doi 10 1056 NEJM199508173330707 PMID 7616993 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk xrwdi haywiwthnwngs brrnathikar withyaphumikhumknphunthanaelakhlinik krungethph khnaaephthysastr culalngkrnmhawithyaly 2551 bthkhwamaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk