โมโมตาโร (ญี่ปุ่น: 桃太郎; โรมาจิ: Momotarō) เป็นใน ชื่อของเรื่องราวนี้ยังปรากฏเป็นชื่อเรื่องของหนังสือ ภาพยนตร์ และผลงานอื่น ๆ หลายอัน
โมโมตาโร | |
---|---|
ตุ๊กตาโมโมตาโร | |
ข้อมูลตัวละครในเรื่อง | |
เพศ | ชาย |
บ้านเกิด | ญี่ปุ่น |
สัญชาติ | ญี่ปุ่น |
มีแนวคิดยอดนิยมที่ว่าโมโมตาโรเป็นวีรบุรุษพื้นบ้านของจังหวัดโอกายามะ แต่ข้ออ้างนี้ประดิษฐ์ขึ้นในสมัยใหม่ และวงการวิชาการไม่ยอมรับแนวคิดนี้เป็นฉันทามติ
เนื้อเรื่อง
รูปแบบนิทานทั่วไปในปัจจุบัน (แบบมาตรฐาน) สามารถสรุปได้ดังนี้:
โมโมตาโรเกิดจากลูกท้อยักษ์ลอยบนแม่น้ำที่หญิงชราไม่มีลูกกำลังซักผ้าอยู่ หญิงคนนั้นกับสามีพบเด็กตอนที่ทั้งคู่พยายามเปิดลูกท้อกิน เด็กคนนี้อธิบายว่าเหล่าทวยเทพให้ตัวเขาเป็นบุตรแก่พวกเขา ทั้งคู่ตั้งชื่อเขาว่า โมโมตาโร จาก โมโมะ (ลูกท้อ) กับ ทาโร (ลูกชายคนโตในครอบครัว) เมื่อเขาอายุ 5 ขวบ เขาสามารถตัดต้นไม้ใหญ่ได้ด้วยมีดเก่า
เมื่อเข้าสู่วัยรุ่น โมโมตาโรออกจากบ้านเพื่อไปต่อสู้กับกลุ่ม โอนิ ที่ปล้นขโมยในดินแดนของตน โดยออกตามหาเกาะอันไกลโพ้นที่พวกมันอาศัยอยู่ (บริเวณที่เรียกว่า โอนิงาชิมะ หรือ "เกาะปีศาจ") ระหว่างทาง เขาพบและเป็นเพื่อนกับสุนัข ลิง และไก่ฟ้าพูดได้ที่ยอมช่วยเขาในภารกิจ แลกเปลี่ยนกับอาหารปันส่วนเพียงส่วนหนึ่ง () บนเกาะ โมโมตาโรกับเพื่อนสัตว์แทรกซึมเข้าป้อมปีศาจ และเอาชนะหมู่ปีศาจให้ยอมจำนน โมโมตาโรและเพื่อนใหม่ของเขากลับบ้านพร้อมกับสมบัติที่ปีศาจเข้ามาปล้น และหัวหน้าปีศาจเป็นเชลย
แบบมาตรฐานของ "โมโมตาโร" ถูกกำหนดและเป็นที่นิยมเนื่องจากมีการตีพิมพ์ในหนังสือเรียนของโรงเรียนในยุคเมจิ
สิ่งนี้เป็นผลลัพธ์ของการพัฒนาวรรณกรรม "โมโมทาโร่" ที่มีการเขียนและตีพิมพ์มาตั้งแต่ต้นยุคเอโดะถึงเมจิ
การพัฒนาในวรรณกรรม
แม้ว่าเรื่องราวแบบมุขปาฐะอาจปรากฏขึ้นในช่วงยุคมูโรมาจิ (1392–1573) เรื่องนี้อาจยังไม่ได้มีการเขียนจนกระทั่งยุคเอโดะ (1603–1867). ผลงานโมโมตาโรที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่มีอยู่สืบอายุได้ถึงสมัย (1688–1704) หรือก่อนหน้านั้น
ยุคเอโดะ
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
แบบมุขปาฐะ
เนื่องราวนี้มีฉบับมุขปาฐะหลายแบบ
ในบางฉบับ มีกล่องแดงและขาวลอยในแม่น้ำ และเมื่อเก็บกล่องแดง จะพบโมโมตาโรข้างใน กล่องนี้อาจเป็นกล่องแดงหรือกล่องดำ หรือกล่องอาจมีลูกท้อข้างใน เรื่องราวประเภทนี้มักพบในภูมิภาคตอนเหนือของญี่ปุ่น (ภูมิภาคโทโฮกุและโฮกูริกุ)
หรือโมโมตาโรอาจมีคุณลักษณะตัวเอกขี้เกียจในเรื่องราว ชิโกกุและชูโงกุ
ประเภทย่อยนี้ได้รับการรวบรวมเป็นหลักในภูมิภาคการอ้างเป็นวีรบุรุษพื้นบ้าน
โมโมตาโรในตอนนี้ถูกเชื่อมโยงกับนครโอกายามะหรือตัวจังหวัด แต่ความเชื่อมโยงนี้ประดิษฐ์ขึ้นในสมัยใหม่ การตีพิมพ์หนังสือ โมโมตาโร โนะ ชิจิตสึ (1930) โดยนัมบะ คินโนซูเกะ เป็นตัวอย่างแนวคิดต้นกำเนิดของโมโมตาโรในโอกายามะได้รับความนิยมมากขึ้น กระนั้น แม้แต่ในช่วงสมัยก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง (1941–1945) โอกายะมะเป็นเพียงแค่เมืองเข้าชิงที่สามตามหลังอีกสองภูมิภาคที่รู้จักกันในชื่อ บ้านเกิดของโมโมตาโร
เกาะปีศาจ (ญี่ปุ่น: 鬼ヶ島; โรมาจิ: Onigashima) จากเรื่องราวนี้บางครั้งนำไปเชื่อมโยงกับเกาะ เกาะในทะเลในเซโตะใกล้ทากามัตสึ เนื่องจากพบมีถ้ำที่มนุษย์ขุดไว้จำนวนมาก
อินูยามะมี ที่มีตำนานเกี่ยวข้องกับเรื่องราวนี้ ในคริสต์ทศวรรษ 1920 ถึง 1930 เขียน "เพลงพื้นบ้าน" สามเพลงสำหรับบริเวณที่พาดพิงถึงตำนานโมโมตาโร
ในโฆษณาชวนเชื่อสงคราม
การพรรณาโมโมตาโรเป็นทหารในกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นต่อสู้กับชาติศัตรูปรากฏขึ้นในสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง (1894–1895) อิวายะ ซาซานามิดัดแปลงเรื่องราวโมโมตาโรใน ค.ศ. 1894 เพื่แให้ โอนิ อาศัยอยู่ในบริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของญี่ปุ่น เมื่อดูภูมิรัฐศาสตร์สมัยนั้น บริเวณนั้นอ้างอิงแบบปกปิดบาง ๆ ถึงจีนสมัยราชวงศ์ชิง อิวายะไม่เป็นเพียงแค่บุคคลสำคัญในวงการวรรณกรรมเด็กเพียงอย่างเดียว แต่เป็นเจ้าหน้าที่รัฐที่ทำงานเป็นหัวหน้ากองบรรณาธิการของกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งแต่ ค.ศ. 1878 ภายหลังอิวายะเขียนหนังสือเรียงความเกี่ยวกับการใช้โมโมตาโรเป็นเครื่องมือในการสอนทั้งเล่มชื่อว่า โมโมตาโร-ชูงิ โนะ เคียวอิกุ ("the Education Theory Based on Principles in Momotaro", 1915)
ภาพการ์ตูนแสดงโมโมตาโรปกป้องญี่ปุ่นจาก โอนิ ที่แทน "ปีศาจตอนเหนือ" รัสเซีย ปรากฏในช่วงสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น ค.ศ.1904–1905
โมโมตาโรเป็นบุคคลที่ได้รับความนิยมอย่างมากในญี่ปุ่นช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง โดยปรากฏในภาพยนตร์และการ์ตูนสงครามหลายเรื่อง โมโมตาโรแทนรัฐบาลญี่ปุ่น ส่วนรัฐศัตรู (โดยหลักคือฝ่ายสัมพันธมิตร ภายหลังรวมสหรัฐ) แทนโอนิที่เป็นปีศาจ
ดูเพิ่ม
หมายเหตุ
อ้างอิง
- Antoni (1991), pp. 163–164.
- Kahara (2004), p. 39.
- Kahara (2004), p. 39, Kahara (2010), p. 53:
- Tierney (2005), p. 143.
- Namekawa (1981), p. 25.
- Kahara (2010), p. 53.
- Seki (1978), pp. 81–83.
- Kahara (2004), p. 40, Kahara (2010), p. 53
- Namekawa (1981), p. 334.
- Kahara (2004), pp. 51, 61, and passim.
- Kahara (2004), pp. 44–47.
- Kahara (2004), p. 51.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-01-10. สืบค้นเมื่อ 2010-09-01.
- . Takamatsu City Web Site. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-07-31. สืบค้นเมื่อ 2010-09-01.
- Namekawa (1981), p. 42, 461.
- Michihito, Higashi 東道人 (1995) [1965], Noguchi Ujō to minyō no tabi 野口雨情詩と民謡の旅 (ภาษาญี่ปุ่น), Tōseisha, p. 496, ISBN
- Kahara (2010), p. 66.
- Tierney (2010), p. 118.
- "Iwaya Sazanami, Japan: An Illustrated Encyclopedia. Kodansha. 1993. 1:644.
- Kahara (2004), p. 47.
- Kamada, Laurel D. (2010). Hybrid Identities and Adolescent Girls, Being "Half in Japan". Multilingual Matters. p. 37. ISBN .
- Dower (1993), p. 253.
- Reider (2010), pp. 107ff
บรรณานุกรม
- Antoni, Klaus (1991). "Momotaro and the Spirit of Japan". Asian Folklore Studies. 50: 160–161.
- (1993) [1986]. War Without Mercy: Race & Power In the Pacific War. . ISBN .
- "Peach-Prince, and the Treasure Island". Japanese Fairy World: Stories From the Wonder-Lore of Japan. แปลโดย Griffis, William Elliot. Schenectady, N. Y.: James H. Barhyte. 1880. pp. 62–71.
- Herring, Ann King (1988). "Early Translations of Japanese Fairy-Tales and Children's Literature". Phaedrus: 97–112.
- Iwaya, Sazanami, บ.ก. (1904), Momotarō 桃太郎, Kōtei Nihon mukashibanashi, 1 (ภาษาญี่ปุ่น)
- ——, บ.ก. (1927). "Momotarō" 桃太郎. Nihon otogibanashishū 日本お伽噺集 (ภาษาญี่ปุ่น). Settai Komura (illustr.). ARS. pp. 3–15.
- ——, บ.ก. (1914) [1903]. "Momotarō: The Story of Peach-Boy". Iwaya's Fairy tales of old Japan 和英對譯 日本昔噺 英對合本. แปลโดย . Tokyo: Bunyodo Tomita. pp. 35–. online via HathiTrust. Part 1 of 12. Unpaginated. 42 pp.
- Kahara, Nahoko 加原奈穂子 (2004). "From Folktale Hero to Local Symbol: The Transformation of Momotaro (the Peach Boy) in the Creation of a Local Culture". Waseda Journal of Asian Studies. 25: 35–61.
- —— (2010). "昔話の主人公から国家の象徴へ―「桃太郎」パラダイムの形成―" [From Folktale Hero to National Symbol: the making of Momotarō paradigm in Japanese Modern Age]. Bulletin, Faculty of Music, Tokyo National University of Fine Arts & Music (ภาษาญี่ปุ่น และ อังกฤษ). 36: 51–72.
- Koike, Tōgorō 小池藤五郎 (1957), "Tokugawa jidai no Momotarō kenkyū ryakki" 徳川時代の桃太郎研究略記, Kokugo to kokubungaku (ภาษาญี่ปุ่น), 34 (8): 1–10
- —— (1967), "Kobunken wo kiso to shita Momotarō setsuwa no kenkyū (I)" 古文献を基礎とした 桃太郎説話の研究(上) [A Study of "Momotaro" : Based on Old Literature (I)], The journal of the Faculty of Letters, Risshō University (ภาษาญี่ปุ่น) (26): 3–39, :11266/2923
- —— (1972), "Kobunken wo kiso to shita Momotarō setsuwa no kenkyū (II)", The Journal of the Faculty of Letters, Risshō University (ภาษาญี่ปุ่น) (45): 3–50
- Kumooka, Azusa 雲岡梓 (2016), "Koten kyōzai to shite no Momotarō" 古典教材としての『桃太郎』 (PDF), Kokugo ronshū (ภาษาญี่ปุ่น), Hokkaido University of Education, 13: 31–40[]
- , บ.ก. (1903). "Momotaro, or the story of the Son of a Peach". The Japanese Fairy Book. Archibald Constable & Co. pp. 244–261.
- Namekawa, Michio 滑川道夫 (1981), Momotarō zō no henyō 桃太郎像の変容 (ภาษาญี่ปุ่น), Tokyo Shoten
- (2010). "6. Oni and Japanese Identity: Enemies of the Japanese Empire in and out of the Imperial Army". Japanese Demon Lore: Oni from Ancient Times to the Present. Utah State University Press. pp. 104–119. doi:10.2307/j.ctt4cgpqc.12. ISBN . JSTOR j.ctt4cgpqc.12.
- (1978), 日本昔話大成: 本格昔話 (ภาษาญี่ปุ่น), Nomura Jun'ichi; Ōshima Hiroshi, Kadokawa
- Tierney, Robert (2005). Going native: imagining savages in the Japanese Empire (Ph. D.). Stanford University.
- Tierney, Robert (2010). "The Adventures of Momotarō in the South Seas: Folklore, Colonial Policy". Tropics of Savagery: The Culture of Japanese Empire in Comparative Frame. University of California Press. ISBN . JSTOR 10.1525/j.ctt1pp80q.7.
- Torigoe, Shin 鳥越信 (1983), Momotarō no unmei 桃太郎の運命, NHK (reprint Mineruva Shobō, 2004) (ในภาษาญี่ปุ่น)
- Yamasaki, Mai 山崎舞 (2018). "Mukashibanashi Momotarō no henten: Saihan Momotarō mukashigatari no shomondai wo chūshin ni" 昔話「桃太郎」の変転―『再板桃太郎昔語』の諸問題を中心に―. Tamamo (ภาษาญี่ปุ่น). Ferris Jogakuin University (52): 51–67.
แหล่งข้อมูลอื่น
- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Momotaro
- ข้อความเต็มของ Story of the Son of a Peach ที่วิกิซอร์ซ
- 文化財指定 [Cultural Property Designation] at homepage - The purported "Momotaro" carving (photo postcard)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
omomtaor yipun 桃太郎 ormaci Momotarō epnin chuxkhxngeruxngrawniyngpraktepnchuxeruxngkhxnghnngsux phaphyntr aelaphlnganxun hlayxnomomtaortuktaomomtaorkhxmultwlakhrineruxngephschaybanekidyipunsychatiyipun miaenwkhidyxdniymthiwaomomtaorepnwirburusphunbankhxngcnghwdoxkayama aetkhxxangnipradisthkhuninsmyihm aelawngkarwichakarimyxmrbaenwkhidniepnchnthamtienuxeruxngomomtaorxxkcaklukthx rupaebbnithanthwipinpccubn aebbmatrthan samarthsrupiddngni omomtaorekidcaklukthxykslxybnaemnathihyingchraimmilukkalngskphaxyu hyingkhnnnkbsamiphbedktxnthithngkhuphyayamepidlukthxkin edkkhnnixthibaywaehlathwyethphihtwekhaepnbutraekphwkekha thngkhutngchuxekhawa omomtaor cak omoma lukthx kb thaor lukchaykhnotinkhrxbkhrw emuxekhaxayu 5 khwb ekhasamarthtdtnimihyiddwymideka emuxekhasuwyrun omomtaorxxkcakbanephuxiptxsukbklum oxni thiplnkhomyindinaednkhxngtn odyxxktamhaekaaxniklophnthiphwkmnxasyxyu briewnthieriykwa oxningachima hrux ekaapisac rahwangthang ekhaphbaelaepnephuxnkbsunkh ling aelaikfaphudidthiyxmchwyekhainpharkic aelkepliynkbxaharpnswnephiyngswnhnung bnekaa omomtaorkbephuxnstwaethrksumekhapxmpisac aelaexachnahmupisacihyxmcann omomtaoraelaephuxnihmkhxngekhaklbbanphrxmkbsmbtithipisacekhamapln aelahwhnapisacepnechly aebbmatrthankhxng omomtaor thukkahndaelaepnthiniymenuxngcakmikartiphimphinhnngsuxeriynkhxngorngeriyninyukhemci singniepnphllphthkhxngkarphthnawrrnkrrm omomthaor thimikarekhiynaelatiphimphmatngaettnyukhexodathungemcikarphthnainwrrnkrrmaemwaeruxngrawaebbmukhpathaxacpraktkhuninchwngyukhmuormaci 1392 1573 eruxngnixacyngimidmikarekhiyncnkrathngyukhexoda 1603 1867 phlnganomomtaorthiekaaekthisudethathimixyusubxayuidthungsmy 1688 1704 hruxkxnhnann yukhexoda swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidaebbmukhpathaenuxngrawnimichbbmukhpathahlayaebb inbangchbb miklxngaedngaelakhawlxyinaemna aelaemuxekbklxngaedng caphbomomtaorkhangin klxngnixacepnklxngaednghruxklxngda hruxklxngxacmilukthxkhangin eruxngrawpraephthnimkphbinphumiphakhtxnehnuxkhxngyipun phumiphakhothohkuaelaohkuriku hruxomomtaorxacmikhunlksnatwexkkhiekiycineruxngraw ja praephthyxyniidrbkarrwbrwmepnhlkinphumiphakhchiokkuaelachuongkukarxangepnwirburusphunbanomomtaorintxnnithukechuxmoyngkbnkhroxkayamahruxtwcnghwd aetkhwamechuxmoyngnipradisthkhuninsmyihm kartiphimphhnngsux omomtaor ona chicitsu 1930 odynmba khinonsueka epntwxyangaenwkhidtnkaenidkhxngomomtaorinoxkayamaidrbkhwamniymmakkhun krann aemaetinchwngsmykxnsngkhramolkkhrngthisxng 1941 1945 oxkayamaepnephiyngaekhemuxngekhachingthisamtamhlngxiksxngphumiphakhthiruckkninchux banekidkhxngomomtaor ekaapisac yipun 鬼ヶ島 ormaci Onigashima cakeruxngrawnibangkhrngnaipechuxmoyngkbekaa ekaainthaelinesotaiklthakamtsu enuxngcakphbmithathimnusykhudiwcanwnmak xinuyamami ja thimitananekiywkhxngkberuxngrawni inkhristthswrrs 1920 thung 1930 ekhiyn ephlngphunban samephlngsahrbbriewnthiphadphingthungtananomomtaorinokhsnachwnechuxsngkhramkarphrrnaomomtaorepnthharinkxngthphckrwrrdiyipuntxsukbchatistrupraktkhuninsngkhramcin yipunkhrngthihnung 1894 1895 xiwaya sasanamiddaeplngeruxngrawomomtaorin kh s 1894 ephuaeih oxni xasyxyuinbriewntawnxxkechiyngehnuxkhxngyipun emuxduphumirthsastrsmynn briewnnnxangxingaebbpkpidbang thungcinsmyrachwngsching xiwayaimepnephiyngaekhbukhkhlsakhyinwngkarwrrnkrrmedkephiyngxyangediyw aetepnecahnathirththithanganepnhwhnakxngbrrnathikarkhxngkrathrwngsuksathikar tngaet kh s 1878 phayhlngxiwayaekhiynhnngsuxeriyngkhwamekiywkbkarichomomtaorepnekhruxngmuxinkarsxnthngelmchuxwa omomtaor chungi ona ekhiywxiku the Education Theory Based on Principles in Momotaro 1915 phaphkartunaesdngomomtaorpkpxngyipuncak oxni thiaethn pisactxnehnux rsesiy praktinchwngsngkhramrsesiy yipun kh s 1904 1905 omomtaorepnbukhkhlthiidrbkhwamniymxyangmakinyipunchwngsngkhramolkkhrngthisxng odypraktinphaphyntraelakartunsngkhramhlayeruxng omomtaoraethnrthbalyipun swnrthstru odyhlkkhuxfaysmphnthmitr phayhlngrwmshrth aethnoxnithiepnpisacduephimxurachima thaorhmayehtuyipun 犬山音頭 桃太郎音頭 犬山節 ormaci Inuyama ondo Momotarō ondo Inuyama bushi xangxingAntoni 1991 pp 163 164 Kahara 2004 p 39 Kahara 2004 p 39 Kahara 2010 p 53 Tierney 2005 p 143 Namekawa 1981 p 25 Kahara 2010 p 53 Seki 1978 pp 81 83 Kahara 2004 p 40 Kahara 2010 p 53 Namekawa 1981 p 334 Kahara 2004 pp 51 61 and passim Kahara 2004 pp 44 47 Kahara 2004 p 51 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 01 10 subkhnemux 2010 09 01 Takamatsu City Web Site khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 07 31 subkhnemux 2010 09 01 Namekawa 1981 p 42 461 Michihito Higashi 東道人 1995 1965 Noguchi Ujō to minyō no tabi 野口雨情詩と民謡の旅 phasayipun Tōseisha p 496 ISBN 9784924440319 Kahara 2010 p 66 Tierney 2010 p 118 Iwaya Sazanami Japan An Illustrated Encyclopedia Kodansha 1993 1 644 Kahara 2004 p 47 Kamada Laurel D 2010 Hybrid Identities and Adolescent Girls Being Half in Japan Multilingual Matters p 37 ISBN 9781847692320 Dower 1993 p 253 Reider 2010 pp 107ff brrnanukrm Antoni Klaus 1991 Momotaro and the Spirit of Japan Asian Folklore Studies 50 160 161 1993 1986 War Without Mercy Race amp Power In the Pacific War ISBN 0 394 50030 X Peach Prince and the Treasure Island Japanese Fairy World Stories From the Wonder Lore of Japan aeplody Griffis William Elliot Schenectady N Y James H Barhyte 1880 pp 62 71 Herring Ann King 1988 Early Translations of Japanese Fairy Tales and Children s Literature Phaedrus 97 112 Iwaya Sazanami b k 1904 Momotarō 桃太郎 Kōtei Nihon mukashibanashi 1 phasayipun b k 1927 Momotarō 桃太郎 Nihon otogibanashishu 日本お伽噺集 phasayipun Settai Komura illustr ARS pp 3 15 b k 1914 1903 Momotarō The Story of Peach Boy Iwaya s Fairy tales of old Japan 和英對譯 日本昔噺 英對合本 aeplody Tokyo Bunyodo Tomita pp 35 online via HathiTrust Part 1 of 12 Unpaginated 42 pp Kahara Nahoko 加原奈穂子 2004 From Folktale Hero to Local Symbol The Transformation of Momotaro the Peach Boy in the Creation of a Local Culture Waseda Journal of Asian Studies 25 35 61 2010 昔話の主人公から国家の象徴へ 桃太郎 パラダイムの形成 From Folktale Hero to National Symbol the making of Momotarō paradigm in Japanese Modern Age Bulletin Faculty of Music Tokyo National University of Fine Arts amp Music phasayipun aela xngkvs 36 51 72 Koike Tōgorō 小池藤五郎 1957 Tokugawa jidai no Momotarō kenkyu ryakki 徳川時代の桃太郎研究略記 Kokugo to kokubungaku phasayipun 34 8 1 10 1967 Kobunken wo kiso to shita Momotarō setsuwa no kenkyu I 古文献を基礎とした 桃太郎説話の研究 上 A Study of Momotaro Based on Old Literature I The journal of the Faculty of Letters Risshō University phasayipun 26 3 39 11266 2923 1972 Kobunken wo kiso to shita Momotarō setsuwa no kenkyu II The Journal of the Faculty of Letters Risshō University phasayipun 45 3 50 Kumooka Azusa 雲岡梓 2016 Koten kyōzai to shite no Momotarō 古典教材としての 桃太郎 PDF Kokugo ronshu phasayipun Hokkaido University of Education 13 31 40 lingkesiy b k 1903 Momotaro or the story of the Son of a Peach The Japanese Fairy Book Archibald Constable amp Co pp 244 261 Namekawa Michio 滑川道夫 1981 Momotarō zō no henyō 桃太郎像の変容 phasayipun Tokyo Shoten 2010 6 Oni and Japanese Identity Enemies of the Japanese Empire in and out of the Imperial Army Japanese Demon Lore Oni from Ancient Times to the Present Utah State University Press pp 104 119 doi 10 2307 j ctt4cgpqc 12 ISBN 9780874217940 JSTOR j ctt4cgpqc 12 1978 日本昔話大成 本格昔話 phasayipun Nomura Jun ichi Ōshima Hiroshi Kadokawa Tierney Robert 2005 Going native imagining savages in the Japanese Empire Ph D Stanford University Tierney Robert 2010 The Adventures of Momotarō in the South Seas Folklore Colonial Policy Tropics of Savagery The Culture of Japanese Empire in Comparative Frame University of California Press ISBN 0520947665 JSTOR 10 1525 j ctt1pp80q 7 Torigoe Shin 鳥越信 1983 Momotarō no unmei 桃太郎の運命 NHK reprint Mineruva Shobō 2004 inphasayipun Yamasaki Mai 山崎舞 2018 Mukashibanashi Momotarō no henten Saihan Momotarō mukashigatari no shomondai wo chushin ni 昔話 桃太郎 の変転 再板桃太郎昔語 の諸問題を中心に Tamamo phasayipun Ferris Jogakuin University 52 51 67 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb Momotaro khxkhwametmkhxng Story of the Son of a Peach thiwikisxrs 文化財指定 Cultural Property Designation at homepage The purported Momotaro carving photo postcard