โฟโตสเฟียร์ (อังกฤษ: Photosphere) ของวัตถุทางดาราศาสตร์ หมายถึงย่านรอบนอกของวัตถุที่ส่งผ่านแสง คำนี้มาจากภาษากรีกโบราณว่า φως¨- φωτος/photos (โฟตอส) แปลว่า "แสง" และ σφαιρα/sphaira (สไฟรา) แปลว่า "ลูกบอล" ซึ่งสื่อถึงรูปร่างลักษณะของมันที่คล้ายพื้นผิวลูกบอลกลมที่ส่องแสงออกมา ย่านโฟโตสเฟียร์นี้กินพื้นที่ลึกลงไปในพื้นผิวของดาวฤกษ์จนกระทั่งแก๊สกลายเป็นทึบแสง ซึ่งเทียบเท่าค่า optical depth ที่ 2/3
ดวงอาทิตย์
โฟโตสเฟียร์ของดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิระหว่าง 4500 ถึง 6000 เคลวิน (โดยมีค่าอุณหภูมิยังผลเท่ากับ 5800 เคลวิน) และมีความหนาแน่นประมาณ 2 x 10-4kg m-3 สำหรับดาวฤกษ์อื่นอาจมีโฟโตสเฟียร์ที่ร้อนกว่านี้หรือเย็นกว่านี้ โฟโตสเฟียร์ของดวงอาทิตย์ประกอบด้วยเซลล์พาความร้อนเรียกว่า กรานูล (granule) ซึ่งเป็นเซลล์ของแก๊สที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1000 กิโลเมตร มีแก๊สร้อนพวยพุ่งในใจกลาง กับแก๊สที่เย็นกว่าแทรกอยู่ในช่องว่างแคบๆ ระหว่างเซลล์ แต่ละกรานูลจะมีช่วงอายุเพียง 8 นาที ซึ่งทำให้มันมีสภาพเปลี่ยนแปลงเหมือน "การเดือด" กลุ่มของกรานูลรวมกันเรียกว่า ซูเปอร์กรานูล มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางสูงได้ถึง 30,000 กิโลเมตร และมีช่วงอายุสูงสุดราว 24 ชั่วโมง เรายังไม่สามารถสังเกตรายละเอียดขนาดนี้จากดาวฤกษ์ดวงอื่นได้
อ้างอิง
- Carroll and Ostlie (1996). Modern Astrophysics. Addison-Wesley.
- The Sun - Introduction
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2005-02-17. สืบค้นเมื่อ 2009-04-11.
- "SP-402 A New Sun: The Solar Results From Skylab".
- . NASA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-02-05. สืบค้นเมื่อ 2009-04-11.
Do your best
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ofotsefiyr xngkvs Photosphere khxngwtthuthangdarasastr hmaythungyanrxbnxkkhxngwtthuthisngphanaesng khanimacakphasakrikobranwa fws fwtos photos oftxs aeplwa aesng aela sfaira sphaira sifra aeplwa lukbxl sungsuxthungrupranglksnakhxngmnthikhlayphunphiwlukbxlklmthisxngaesngxxkma yanofotsefiyrnikinphunthiluklngipinphunphiwkhxngdawvkscnkrathngaeksklayepnthubaesng sungethiybethakha optical depth thi 2 3dwngxathityxunhphumiaelakhwamhnaaennkhxngbrryakaskhxngdwngxathity ofotsefiyrkhxngdwngxathitymixunhphumirahwang 4500 thung 6000 ekhlwin odymikhaxunhphumiyngphlethakb 5800 ekhlwin aelamikhwamhnaaennpraman 2 x 10 4kg m 3 sahrbdawvksxunxacmiofotsefiyrthirxnkwanihruxeynkwani ofotsefiyrkhxngdwngxathityprakxbdwyesllphakhwamrxneriykwa kranul granule sungepnesllkhxngaeksthimiesnphansunyklangpraman 1000 kiolemtr miaeksrxnphwyphunginicklang kbaeksthieynkwaaethrkxyuinchxngwangaekhb rahwangesll aetlakranulcamichwngxayuephiyng 8 nathi sungthaihmnmisphaphepliynaeplngehmuxn kareduxd klumkhxngkranulrwmkneriykwa suepxrkranul mikhnadesnphansunyklangsungidthung 30 000 kiolemtr aelamichwngxayusungsudraw 24 chwomng erayngimsamarthsngektraylaexiydkhnadnicakdawvksdwngxunidxangxingCarroll and Ostlie 1996 Modern Astrophysics Addison Wesley The Sun Introduction khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2005 02 17 subkhnemux 2009 04 11 SP 402 A New Sun The Solar Results From Skylab NASA khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2016 02 05 subkhnemux 2009 04 11 bthkhwamdarasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk Do your best