ภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิม หรือ โปรโต-อินโด-ยูโรเปียน (อังกฤษ: Proto-Indo-European หรือ PIE) คือซึ่งเป็นภาษาจากสมมุติฐานที่คาดว่าบรรพบุรุษของอินโด-ยูโรเปียนเคยพูดภาษาเดียวกัน
ภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิมคือภาษาดั้งเดิมที่เป็นที่สนใจมากที่สุด รวมถึงเข้าใจมากที่สุดอีกด้วย งานส่วนใหญ่ของนักภาษาศาสตร์ในช่วงศตวรรษที่ 19 มักจะเป็นเรื่องการสืบสร้างภาษานี้ และภาษาลูกหลานเช่น ภาษาเจอร์แมนิกดั้งเดิม และมักจะใช้เช่นเดียวกับที่ปัจจุบันใช้กัน วิธีการนี้ทำให้สามารถเข้าใจภาษาในหลายหลายอย่าง ถึงแม้จะไม่เคยมีการจดบันทึกภาษานี้ในประวัติศาสตร์เลยก็ตาม
ภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิมประมาณว่าเคยพูดเป็นภาษาเดียวกันระหว่าง 4500 ถึง 2500 ปีก่อนคริสตกาล ในยุคหินใหม่ ถึงแม้จะประมาณไปไกลหลายพันปี แต่ตาม บ้านเกิดของภาษานี้น่าจะอยู่ในในยุโรปตะวันออก การสืบสร้างภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิมยังให้ให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับศาสนาและวัฒนธรรมของผู้พูดอีกด้วย
ภาษาลูกหลาน
- ภาษาอานาโตเลียดั้งเดิม — ปัจจุบันสูญแล้ว ภาษาที่เด่นที่สุดคือภาษาของ ไม่มีภาษาลูกหลานในปัจจุบัน
- — เป็นภาษาที่พบในตะวันตกเฉียงเหนือของจีน ไม่มีภาษาลูกหลานในปัจจุบัน
- — มีลูกหลานอีกหลายภาษา ปัจจุบันยังเหลือที่พูดแต่ลูกหลานของภาษาละติน เช่น ภาษาสเปน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาอิตาลี ภาษาโรมาเนีย
- ภาษาเคลต์ดั้งเดิม — คือภาษาดั้งเดิมของกลุ่มภาษาเคลต์ ในสมัยก่อนมีการพูดกันเป็นส่วนใหญ่ของยุโรป ปัจจุบันเหลือแค่ช่วงตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปเท่านั้น ภาษาลูกหลานในปัจจุบันเช่น ภาษาไอริช ภาษาเวลส์
- — เป็นภาษาดั้งเดิมของกลุ่มภาษาเจอร์แมนิก ซึ่งแบ่งแยกเป็นสามกลุ่มย่อย กลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตก ซึ่งสูญแล้ว และกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกเหนือ ภาษาลูกหลานในปัจจุบันเช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาเยอรมัน ภาษานอร์เวย์ ภาษาสวีเดน ภาษาเดนมาร์ก ภาษาไอซ์แลนด์
- — เป็นภาษาดั้งเดิมของกลุ่มภาษาบอลต์และกลุ่มภาษาสลาฟ ภาษาลูกหลานในปัจจุบันเช่น ภาษาลัตเวีย ภาษาลิทัวเนีย ภาษารัสเซีย ภาษาโปแลนด์ ภาษาบอสเนีย-โครเอเชีย-มอนเตเนโกร-เซอร์เบีย
- — แบ่งเป็นกลุ่มภาษาอินโด-อารยัน กลุ่มภาษาอิหร่าน และ ภาษาลูกหลานในปัจจุบันเช่น ภาษาฮินดี ภาษาเบงกอล ภาษาเปอร์เซีย
- — ภาษาลูกหลานในปัจจุบันเช่น ภาษาอาร์มีเนีย
- — ภาษาลูกหลานในปัจจุบันเช่น ภาษากรีกโบราณ ภาษากรีกปัจจุบัน
- — เป็นภาษาที่มีภาษาลูกหลานทั้งในอดีตถึงปัจจุบันภาษาเดียวคือ ภาษาแอลเบเนีย
สัณฐานวิทยา
ราก
ภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิมเป็น หมายถึงมีการผันหน่วยคำต่าง ๆ เพื่อแสดงหน้าที่ในภาษาแตกต่างกัน และภาษานี้มีการสร้างหน่วยคำจากการใช้หน่วยคำเติม แสดงว่ารากคำต่าง ๆ ในภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิม คือ คำรวมกับหน่วยคำเติมเป็นหัวคำ แล้วนำหัวคำมาผันรุปตามหน้าที่นั้น ๆ ในประโยค
การเปลี่ยนส่วนของคำ
หน่วยคำภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิมจำนวนมากมี e เป็นสระแท้ การเปลี่ยนส่วนของคำของภาษานี้มักจะเปลี่ยน e สั้นเป็น o สั้น เปลี่ยน e ยาว (ē) เป็น o ยาว (ō) หรือไม่มีสระเลย การแปลงสระนี้มีความเกี่ยวข้องทั้งการผันคำนามและกริยา
คำนาม
ภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิมมีการผันคำนาม 8-9 รูปแบบคือ
- กรรตุการก คือการผันที่แสดงถึงประธานของกริยา เช่น They ใน They ate ในภาษาอังกฤษ
- กรรมการก คือการผันที่แสดงถึงกรรมตรงของกริยา
- คือการผันที่แสดงถึงคำนามที่ไปดัดแปลงคำนามอื่น (เช่นแสดงความเป็นเจ้าของ)
- คือการผันที่แสดงถึงของกริยา เช่น Jacob in Maria gave Jacob a drink ในภาษาอังกฤษ ถ้าเทียบกับภาษาไทย ภาษาไทยจะใช้บุพบท แก่..., เพื่อ..., ให้... หรือ ต่อ... เพื่อแสดงเช่น เขาให้ของแก่แม่ของเขา แม่ของเขาคือกรรมรอง
- คือการผันที่แสดงถึงเครื่องมือ หรือด้วย หรือหมายถึง เครื่องมือต่าง ๆ เช่นในภาษาไทย เขาเดินด้วยขา ขาคือเครื่องมือ
- คือการผันที่บ่งชี้การเคลื่อนที่ เคลื่อนย้าย หรือแยกตัวออกจากบางอย่าง ถ้าเทียบกับภาษาไทย ภาษาไทยใช้บุพบท จาก..., ออกจาก... เพื่อแสดงเช่น เขาย้ายบ้านออกจากเมือง เมืองจะมีการผัน
- คือการผันที่บ่งชี้สถานที่ต่าง ๆ ถ้าเทียบกับภาษาไทย คำหลังคำบุพบทที่บอกสถานที่เช่น บน หรือ ใต้ จะมีการผัน เช่น หนังสืออยู่บนโต๊ะ โต๊ะจะมีการผัน
- คือการผันสิ่งที่ถูกเรียกขาน เช่น "I don't know, John" "John" จะถูกผัน
- ไม่มีชื่อเป็นภาษาไทย คือการผันที่แสดงการเคลื่อนที่ เคลื่อนย้าย หรือแยกตัวเข้า พบเฉพาะในกลุ่มภาษาอานาโตเลียเท่านั้น
และมีเพศสามเพศได้แก่ เพศชาย เพศหญิง และเพศกลาง
คำสรรพนาม
ภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิมนั้นสามารถสืมหาคำสรรพนามได้ยาก เนื่องจากภาษาหลัง ๆ ได้มีการแปลงเป็นหลายแบบ ภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิมมี ในบุรุษที่ 1 และ 2 ในขณะที่บุรุษที่ 3 มีการใช้ (เช่น นี่ นั่น โน่น) แทน บุรุษสรรพนามของภาษานี้แต่ละอย่างเป็นเอกลักษณ์ตัวมันเอง และบางตัวมีการใช้สองแบบ เป็นเรื่องชัดเจนในบุรุษสรรพนามที่ 1 แบบเอกพจน์ ที่แบบแรกจะเก็บไว้ในขณะแบบที่ 2 มีไว้สำรองซึ่งปรากฏในภาษาอังกฤษทั้งสองแบบคือ I และ me และยังมีการผันกรรมการก สัมพันธการก และสัมปทานการกสองแบบอีกด้วย
ที่ 1 | ที่ 2 | |||
---|---|---|---|---|
เอกพจน์ | พหูพจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ | |
กรรตุการก | *h₁eǵ(oH/Hom) | *wei | *tuH | *yuH |
กรรมการก | *h₁mé, *h₁me | *nsmé, *nōs | *twé | *usmé, *wōs |
*h₁méne, *h₁moi | *ns(er)o-, *nos | *tewe, *toi | *yus(er)o-, *wos | |
*h₁méǵʰio, *h₁moi | *nsmei, *ns | *tébʰio, *toi | *usmei | |
*h₁moí | *nsmoí | *toí | *usmoí | |
*h₁med | *nsmed | *tued | *usmed | |
*h₁moí | *nsmi | *toí | *usmi |
คำกริยา
คล้ายกับคำนาม ล้วนมีผลกับเสียงสระ การแบ่งกริยาภาษานี้แบ่งตามวิธีพื้นฐาน
คำกริยาสามารถแบ่งรูปแบบได้เป็น
- คือคำกริยาแสดงสภาวะที่เกี่ยวกับ ความรู้สึกนึกคิด, ความสัมพันธ์, ประสาทสัมผัส, สภาวะความเป็นอยู่ และการวัดหรือการประมาณค่าต่าง ๆ
- คือคำกริยาที่ยังไม่สมบูรณ์ มีการดำเนินการอยู่ ทำซ้ำ หรือประจำวัน
- คือคำกริยาที่ยังสมบูรณ์แล้ว สามารถมองได้การกระทำ
คำกริยามีวาจกสองแบบคือ
- กรรตุวาจก (active voice) ประโยคที่ประธานกระทำกริยาหลักกับกรรมที่ถูกกระทำ
- (mediopassive voice) คือวาจกสำหรับ (middle voice) และกรรมวาจก (passive voice) (ประโยคที่ประธานที่ถูกกระทำกับกรรมที่กระทำ)
คำกริยามีบุรุษอยู่สามแบบ (ที่ 1, ที่ 2, ที่ 3)
คำกริยามีจำนวนอยู่สามแบบ
- มีหนึ่งสิ่ง สิ่งคือคำนามหรือคำสรรพนาม
- มีสองสิ่ง
- มีจำนวนอื่นนอกจากที่บอกมาข้างต้น
ด้านล่างคือการผันคำกริยาตามคำลงท้ายที่เป็นไปได้จาก Sihler ซึ่งเป็นที่ยอมรับในปัจจุบัน
Sihler (1995) | |||
---|---|---|---|
เอกพจน์ | ที่ 1 | *-mi | *-oh₂ |
ที่ 2 | *-si | *-esi | |
ที่ 3 | *-ti | *-eti | |
ทวิพจน์ | ที่ 1 | *-wos | *-owos |
ที่ 2 | *-th₁es | *-eth₁es | |
ที่ 3 | *-tes | *-etes | |
พหูพจน์ | ที่ 1 | *-mos | *-omos |
ที่ 2 | *-te | *-ete | |
ที่ 3 | *-nti | *-onti |
เลข
สามารถสืบสร้างได้ตามนี้
Sihler | |
---|---|
หนึ่ง | *Hoi-no-/*Hoi-wo-/*Hoi-k(ʷ)o-; *sem- |
สอง | *d(u)wo- |
สาม | *trei- (ระดับเต็ม), *tri- (ระดับศูนย์) |
สี่ | *kʷetwor- (ระดับ-o), *kʷetur- (ระดับศูนย์) (ดูเพิ่มเติมที่) |
ห้า | *penkʷe |
หก | *s(w)eḱs; อาจจะมาจาก *weḱs |
เจ็ด | *septm̥ |
แปด | *oḱtō, *oḱtou หรือ *h₃eḱtō, *h₃eḱtou |
เก้า | *(h₁)newn̥ |
สิบ | *deḱm̥(t) |
100, *ḱm̥tóm น่าจะมีความหมายเริ่มแรกว่าจำนวนใหญ่
อ้างอิง
- https://indo-european.info/indo-european-lexicon.pdf
- Powell, Eric A. "Telling Tales in Proto-Indo-European". Archaeology. สืบค้นเมื่อ 2017-07-30.
- Fortson 2004, p. 16. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "FOOTNOTEFortson200416" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน - Fortson (2004), pp. 73–74.
- Fortson (2004), p. 102.
- Beekes, Robert; Gabriner, Paul (1995). Comparative Indo-European linguistics: an introduction. Amsterdam: J. Benjamins Publishing Company. pp. 147, 212–217, 233, 243. ISBN .
- Sihler, Andrew L. (1995). New comparative grammar of Greek and Latin. New York u.a.: Oxford Univ. Press. ISBN .
- Lehmann, Winfried P (1993), Theoretical Bases of Indo-European Linguistics, London: Routledge, pp. 252–55, ISBN
บรรณานุกรม
- Anthony, David W.; Ringe, Don (2015). "The Indo-European Homeland from Linguistic and Archaeological Perspectives". Annual Review of Linguistics. 1 (1): 199–219. doi:10.1146/annurev-linguist-030514-124812.
- Bomhard, Allan (2019). "The Origins of Proto-Indo-European: The Caucasian Substrate Hypothesis". Journal of Indo-European Studies (ภาษาอังกฤษ). 47 (1 & 2, Spring/Summer 2019).
- Fortson, Benjamin W. (2004). Indo-European language and culture: an introduction. Malden, Mass: Blackwell. ISBN . OCLC 54529041.
- Mallory, J. P. (1989). In Search of the Indo-Europeans: Language, Archaeology, and Myth (ภาษาอังกฤษ). Thames and Hudson. ISBN .
- ; (2006), The Oxford Introduction to Proto-Indo-European and the Proto-Indo-European World, Oxford: , ISBN
- (2003), Indo-European Linguistics, New York: de Gruyter, ISBN
- (1996), Introduction to Indo-European Linguistics, Oxford
- "Voiceless high vowels and syncope in older Indo-European" (PDF). Martin Kümmel, department of Indo-European linguistics, .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
phasaxinod yuorepiyndngedim hrux oprot xinod yuorepiyn xngkvs Proto Indo European hrux PIE khuxsungepnphasacaksmmutithanthikhadwabrrphburuskhxngxinod yuorepiynekhyphudphasaediywknaephnthikhxngklumphasaxinod yuorepiyninyuorpinpccubn phasaxinod yuorepiyndngedimkhuxphasadngedimthiepnthisnicmakthisud rwmthungekhaicmakthisudxikdwy nganswnihykhxngnkphasasastrinchwngstwrrsthi 19 mkcaepneruxngkarsubsrangphasani aelaphasalukhlanechn phasaecxraemnikdngedim aelamkcaichechnediywkbthipccubnichkn withikarnithaihsamarthekhaicphasainhlayhlayxyang thungaemcaimekhymikarcdbnthukphasaniinprawtisastrelyktam phasaxinod yuorepiyndngedimpramanwaekhyphudepnphasaediywknrahwang 4500 thung 2500 pikxnkhristkal inyukhhinihm thungaemcapramanipiklhlayphnpi aettam banekidkhxngphasaninacaxyuininyuorptawnxxk karsubsrangphasaxinod yuorepiyndngedimyngihihkhxmulechinglukekiywkbsasnaaelawthnthrrmkhxngphuphudxikdwyphasalukhlanphasaxanaoteliydngedim pccubnsuyaelw phasathiednthisudkhuxphasakhxng immiphasalukhlaninpccubn epnphasathiphbintawntkechiyngehnuxkhxngcin immiphasalukhlaninpccubn milukhlanxikhlayphasa pccubnyngehluxthiphudaetlukhlankhxngphasalatin echn phasasepn phasafrngess phasaxitali phasaormaeniy phasaekhltdngedim khuxphasadngedimkhxngklumphasaekhlt insmykxnmikarphudknepnswnihykhxngyuorp pccubnehluxaekhchwngtawntkechiyngehnuxkhxngyuorpethann phasalukhlaninpccubnechn phasaixrich phasaewls epnphasadngedimkhxngklumphasaecxraemnik sungaebngaeykepnsamklumyxy klumphasaecxraemniktawntk sungsuyaelw aelaklumphasaecxraemnikehnux phasalukhlaninpccubnechn phasaxngkvs phasaeyxrmn phasanxrewy phasaswiedn phasaednmark phasaixsaelnd epnphasadngedimkhxngklumphasabxltaelaklumphasaslaf phasalukhlaninpccubnechn phasaltewiy phasalithweniy phasarsesiy phasaopaelnd phasabxseniy okhrexechiy mxnetenokr esxrebiy aebngepnklumphasaxinod xaryn klumphasaxihran aela phasalukhlaninpccubnechn phasahindi phasaebngkxl phasaepxresiy phasalukhlaninpccubnechn phasaxarmieniy phasalukhlaninpccubnechn phasakrikobran phasakrikpccubn epnphasathimiphasalukhlanthnginxditthungpccubnphasaediywkhux phasaaexlebeniysnthanwithyarak phasaxinod yuorepiyndngedimepn hmaythungmikarphnhnwykhatang ephuxaesdnghnathiinphasaaetktangkn aelaphasanimikarsranghnwykhacakkarichhnwykhaetim aesdngwarakkhatang inphasaxinod yuorepiyndngedim khux kharwmkbhnwykhaetimepnhwkha aelwnahwkhamaphnruptamhnathinn inpraoykh karepliynswnkhxngkha hnwykhaphasaxinod yuorepiyndngedimcanwnmakmi e epnsraaeth karepliynswnkhxngkhakhxngphasanimkcaepliyn e snepn o sn epliyn e yaw e epn o yaw ō hruximmisraely karaeplngsranimikhwamekiywkhxngthngkarphnkhanamaelakriya khanam phasaxinod yuorepiyndngedimmikarphnkhanam 8 9 rupaebbkhux krrtukark khuxkarphnthiaesdngthungprathankhxngkriya echn They in They ate inphasaxngkvs krrmkark khuxkarphnthiaesdngthungkrrmtrngkhxngkriya khuxkarphnthiaesdngthungkhanamthiipddaeplngkhanamxun echnaesdngkhwamepnecakhxng khuxkarphnthiaesdngthungkhxngkriya echn Jacob in Maria gave Jacob a drink inphasaxngkvs thaethiybkbphasaithy phasaithycaichbuphbth aek ephux ih hrux tx ephuxaesdngechn ekhaihkhxngaekaemkhxngekha aemkhxngekhakhuxkrrmrxng khuxkarphnthiaesdngthungekhruxngmux hruxdwy hruxhmaythung ekhruxngmuxtang echninphasaithy ekhaedindwykha khakhuxekhruxngmux khuxkarphnthibngchikarekhluxnthi ekhluxnyay hruxaeyktwxxkcakbangxyang thaethiybkbphasaithy phasaithyichbuphbth cak xxkcak ephuxaesdngechn ekhayaybanxxkcakemuxng emuxngcamikarphn khuxkarphnthibngchisthanthitang thaethiybkbphasaithy khahlngkhabuphbththibxksthanthiechn bn hrux it camikarphn echn hnngsuxxyubnota otacamikarphn khuxkarphnsingthithukeriykkhan echn I don t know John John cathukphn immichuxepnphasaithy khuxkarphnthiaesdngkarekhluxnthi ekhluxnyay hruxaeyktwekha phbechphaainklumphasaxanaoteliyethann aelamiephssamephsidaek ephschay ephshying aelaephsklang khasrrphnam phasaxinod yuorepiyndngedimnnsamarthsumhakhasrrphnamidyak enuxngcakphasahlng idmikaraeplngepnhlayaebb phasaxinod yuorepiyndngedimmi inburusthi 1 aela 2 inkhnathiburusthi 3 mikarich echn ni nn onn aethn burussrrphnamkhxngphasaniaetlaxyangepnexklksntwmnexng aelabangtwmikarichsxngaebb epneruxngchdecninburussrrphnamthi 1 aebbexkphcn thiaebbaerkcaekbiwinkhnaaebbthi 2 miiwsarxngsungpraktinphasaxngkvsthngsxngaebbkhux I aela me aelayngmikarphnkrrmkark smphnthkark aelasmpthankarksxngaebbxikdwy burussrrphnam thi 1 thi 2exkphcn phhuphcn exkphcn phhuphcnkrrtukark h eǵ oH Hom wei tuH yuHkrrmkark h me h me nsme nōs twe usme wōs h mene h moi ns er o nos tewe toi yus er o wos h meǵʰio h moi nsmei ns tebʰio toi usmei h moi nsmoi toi usmoi h med nsmed tued usmed h moi nsmi toi usmikhakriya khlaykbkhanam lwnmiphlkbesiyngsra karaebngkriyaphasaniaebngtamwithiphunthan khakriyasamarthaebngrupaebbidepn khuxkhakriyaaesdngsphawathiekiywkb khwamrusuknukkhid khwamsmphnth prasathsmphs sphawakhwamepnxyu aelakarwdhruxkarpramankhatang khuxkhakriyathiyngimsmburn mikardaeninkarxyu thasa hruxpracawn khuxkhakriyathiyngsmburnaelw samarthmxngidkarkratha khakriyamiwacksxngaebbkhux krrtuwack active voice praoykhthiprathankrathakriyahlkkbkrrmthithukkratha mediopassive voice khuxwacksahrb middle voice aelakrrmwack passive voice praoykhthiprathanthithukkrathakbkrrmthikratha khakriyamiburusxyusamaebb thi 1 thi 2 thi 3 khakriyamicanwnxyusamaebb mihnungsing singkhuxkhanamhruxkhasrrphnam misxngsing micanwnxunnxkcakthibxkmakhangtn danlangkhuxkarphnkhakriyatamkhalngthaythiepnipidcak Sihler sungepnthiyxmrbinpccubn Sihler 1995 exkphcn thi 1 mi oh thi 2 si esithi 3 ti etithwiphcn thi 1 wos owosthi 2 th es eth esthi 3 tes etesphhuphcn thi 1 mos omosthi 2 te etethi 3 nti ontielkh samarthsubsrangidtamni Sihlerhnung Hoi no Hoi wo Hoi k ʷ o sem sxng d u wo sam trei radbetm tri radbsuny si kʷetwor radb o kʷetur radbsuny duephimetimthi ha penkʷehk s w eḱs xaccamacak weḱsecd septm aepd oḱtō oḱtou hrux h eḱtō h eḱtoueka h newn sib deḱm t 100 ḱm tom nacamikhwamhmayerimaerkwacanwnihyxangxinghttps indo european info indo european lexicon pdf Powell Eric A Telling Tales in Proto Indo European Archaeology subkhnemux 2017 07 30 Fortson 2004 p 16 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imsmehtusmphl miniyamchux FOOTNOTEFortson200416 hlaykhrngdwyenuxhatangkn Fortson 2004 pp 73 74 Fortson 2004 p 102 Beekes Robert Gabriner Paul 1995 Comparative Indo European linguistics an introduction Amsterdam J Benjamins Publishing Company pp 147 212 217 233 243 ISBN 978 1556195044 Sihler Andrew L 1995 New comparative grammar of Greek and Latin New York u a Oxford Univ Press ISBN 0 19 508345 8 Lehmann Winfried P 1993 Theoretical Bases of Indo European Linguistics London Routledge pp 252 55 ISBN 0 415 08201 3brrnanukrmAnthony David W Ringe Don 2015 The Indo European Homeland from Linguistic and Archaeological Perspectives Annual Review of Linguistics 1 1 199 219 doi 10 1146 annurev linguist 030514 124812 Bomhard Allan 2019 The Origins of Proto Indo European The Caucasian Substrate Hypothesis Journal of Indo European Studies phasaxngkvs 47 1 amp 2 Spring Summer 2019 Fortson Benjamin W 2004 Indo European language and culture an introduction Malden Mass Blackwell ISBN 1405103159 OCLC 54529041 Mallory J P 1989 In Search of the Indo Europeans Language Archaeology and Myth phasaxngkvs Thames and Hudson ISBN 9780500050521 2006 The Oxford Introduction to Proto Indo European and the Proto Indo European World Oxford ISBN 9780199296682 2003 Indo European Linguistics New York de Gruyter ISBN 3 11 017433 2 1996 Introduction to Indo European Linguistics Oxford Voiceless high vowels and syncope in older Indo European PDF Martin Kummel department of Indo European linguistics