แหล่งแร่หาดส้มแป้น (Hadsompaen Mineral deposit) เป็นแหล่งแร่ที่มีความสำคัญ มีการทำเหมืองแร่กันมานานนมแล้ว ซึ่งชื่อหาดส้มแป้นเพี้ยนมาจาก คำว่า "ห้วยซัมเปียน" ซึ่งมีความหมายว่า ลึกเข้าไปในหุบเขา ชาวบ้านจึงเรียกกันต่อ ๆ มาว่า "ห้วยซัมเปียน" และคำนี้ได้เพี้ยนมาเป็นหาดส้มแป้นในปัจจุบัน แหล่งแร่หาดส้มแป้นมีพื้นที่โดยประมาณ 20 ตารางกิโลเมตร ปัจจุบันเป็นแหล่งแร่ที่ผลิตแร่ดีบุกและแร่ที่สำคัญของประเทศ ตั้งอยู่บริเวณตำบลหาดส้มแป้น อำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง
ธรณีวิทยาทั่วไป
พื้นที่แหล่งแร่ตั้งอยู่ในบริเวณที่มีลักษณะธรณีวิทยาเป็น ผลึกสองขนาด มีแร่เฟลด์สปาร์เป็นแร่ดอก เกิดในยุคจูแรสซิก (Jgr ?) วางตัวในแนวยาวในทิศทางประมาณเหนือ - ใต้ ซึ่งภายหลังผลจากการตรวจสอบอายุพบว่าหินแกรนิตดังกล่าวมีอายุครีเตเชียส แทรกตัดเข้ามาวางตัวอยู่ระหว่างหินยุค ซึ่งพบทางด้านทิศตะวันตก ประกอบด้วยหินทราย หินปูน เนื้อดิน หินดินดานและหินเชิร์ต และหินกรวดมน และหินยุค ซึ่งพบทางด้านตะวันออกประกอบด้วยหินทราย หินดินดาน หินเชิร์ต และหินปูน
ธรณีวิทยาแหล่งแร่
แร่ (Kaolin) จากกระบวนการกำเนิดแหล่งแร่ดีบุกในบริเวณพื้นที่สำรวจ แร่เฟลด์สปาร์ในหินแกรนิตที่เกี่ยวข้องมักจะถูกแปรเปลี่ยนเป็นแร่ อันเนื่อง (Pneumatolytic Process) โดยน้ำแร่ร้อนหรือไอน้ำที่มีสภาพเป็นกรดสูง เข้ามาในระบบและทำปฏิกิริยากับแร่ซึ่งเป็นแร่องค์ประกอบหลักในหินแกรนิต แล้วแปรเปลี่ยนเป็นแร่เคโอลิไนต์หรือ ซึ่งจะเกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอเป็นบริเวณกว้าง ดังนั้นพื้นที่นี้จึงเป็นแหล่งแร่ที่มีปริมาณสำรองมาก นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งที่มีปริมาณเหล็กเจือปนค่อนข้างต่ำเนื่องจากมีกระบวนการกำเนิด (Tourmalinization) ที่ดึงอนุมูลเหล็กออกจากระบบ เนื่องจากหินถูกแปรเปลี่ยนจนมีสภาพอ่อนยุ่ยสามารถได้ง่าย ดำเนินการตักและคัดแยกแร่ได้โดยง่าย แหล่งในพื้นที่จึงเป็นแหล่งวัตถุดิบสำหรับผลิตแร่ที่สำคัญ ดังจะเห็นได้จากการมีเหมืองแร่รอบ ๆ แหล่งจึงมีศักยภาพสูงที่จะถูกพัฒนาเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ต่อไป
แร่ดีบุก (Tin) พื้นที่นี้เป็นแหล่งแร่ดีบุกเก่าดังจะเห็นได้จากการพบขุมเหมืองเก่ามากมาย และในปัจจุบันยังมีการร่อนแร่ของชาวบ้านอยู่ แร่ดีบุกที่พบในพื้นที่สำรวจเป็นแร่ดีบุกแบบฝังประหรือเป็นกระจุกในหินแกรนิตหรือหินท้องที่ เกิดจากกระบวนการของก๊าซ (Pneumatolytic Process) ซึ่งเป็นกระบวนการที่กินบริเวณกว้างขวางและมีการแปรเปลี่ยนของหินให้เห็นอย่างชัดเจน โดยแร่ดีบุกจะฝังประในเนื้อหิน บางครั้งจะพบแร่ดีบุกรวมตัวกันอยู่เป็นกระจุกหนาแน่นมีลักษณะเป็นกระเปาะหนาประมาณ 1 - 2 เมตร
ลักษณะการทำเหมืองในแหล่งแร่
การในแหล่งแร่หาดส้มแป้นมีทั้งในส่วนที่ทำเฉพาะเหมืองดีบุก หรือทำทั้งเหมืองดีบุกและเหมืองซึ่งส่วนใหญ่เป็นลักษณะของ หรือ มีเพียงส่วนน้อยที่มีการทำแบบ คือใช้รถบรรทุกในการขุดขน แต่มีข้อดีในด้านของการคัดแยกคุณภาพได้ดีกว่า
อ้างอิง
- บ.กราวด์ เดต้า โพรบ จก., รายงานลักษณะธรณีวิทยาแหล่งแร่ พื้นที่ตำบลหาดส้มแป้น อำเภอเมือง จังหวัดระนอง , สิงหาคม 2551.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
aehlngaerhadsmaepn Hadsompaen Mineral deposit epnaehlngaerthimikhwamsakhy mikarthaehmuxngaerknmanannmaelw sungchuxhadsmaepnephiynmacak khawa hwysmepiyn sungmikhwamhmaywa lukekhaipinhubekha chawbancungeriykkntx mawa hwysmepiyn aelakhaniidephiynmaepnhadsmaepninpccubn aehlngaerhadsmaepnmiphunthiodypraman 20 tarangkiolemtr pccubnepnaehlngaerthiphlitaerdibukaelaaerthisakhykhxngpraeths tngxyubriewntablhadsmaepn xaephxemuxngranxng cnghwdranxngaehlngaerdinkhawaeladibukthrniwithyathwipphunthiaehlngaertngxyuinbriewnthimilksnathrniwithyaepn phluksxngkhnad miaerefldsparepnaerdxk ekidinyukhcuaerssik Jgr wangtwinaenwyawinthisthangpramanehnux it sungphayhlngphlcakkartrwcsxbxayuphbwahinaekrnitdngklawmixayukhrietechiys aethrktdekhamawangtwxyurahwanghinyukh sungphbthangdanthistawntk prakxbdwyhinthray hinpun enuxdin hindindanaelahinechirt aelahinkrwdmn aelahinyukh sungphbthangdantawnxxkprakxbdwyhinthray hindindan hinechirt aelahinpunthrniwithyaaehlngaeraer Kaolin cakkrabwnkarkaenidaehlngaerdibukinbriewnphunthisarwc aerefldsparinhinaekrnitthiekiywkhxngmkcathukaeprepliynepnaer xnenuxng Pneumatolytic Process odynaaerrxnhruxixnathimisphaphepnkrdsung ekhamainrabbaelathaptikiriyakbaersungepnaerxngkhprakxbhlkinhinaekrnit aelwaeprepliynepnaerekhoxliinthrux sungcaekidkhunxyangsmaesmxepnbriewnkwang dngnnphunthinicungepnaehlngaerthimiprimansarxngmak nxkcakniyngepnaehlngthimiprimanehlkecuxpnkhxnkhangtaenuxngcakmikrabwnkarkaenid Tourmalinization thidungxnumulehlkxxkcakrabb enuxngcakhinthukaeprepliyncnmisphaphxxnyuysamarthidngay daeninkartkaelakhdaeykaeridodyngay aehlnginphunthicungepnaehlngwtthudibsahrbphlitaerthisakhy dngcaehnidcakkarmiehmuxngaerrxb aehlngcungmiskyphaphsungthicathukphthnaephuxnamaichpraoychntxip aerdibuk Tin phunthiniepnaehlngaerdibukekadngcaehnidcakkarphbkhumehmuxngekamakmay aelainpccubnyngmikarrxnaerkhxngchawbanxyu aerdibukthiphbinphunthisarwcepnaerdibukaebbfngprahruxepnkracukinhinaekrnithruxhinthxngthi ekidcakkrabwnkarkhxngkas Pneumatolytic Process sungepnkrabwnkarthikinbriewnkwangkhwangaelamikaraeprepliynkhxnghinihehnxyangchdecn odyaerdibukcafngprainenuxhin bangkhrngcaphbaerdibukrwmtwknxyuepnkracukhnaaennmilksnaepnkraepaahnapraman 1 2 emtrlksnakarthaehmuxnginaehlngaerkarinaehlngaerhadsmaepnmithnginswnthithaechphaaehmuxngdibuk hruxthathngehmuxngdibukaelaehmuxngsungswnihyepnlksnakhxng hrux miephiyngswnnxythimikarthaaebb khuxichrthbrrthukinkarkhudkhn aetmikhxdiindankhxngkarkhdaeykkhunphaphiddikwaxangxingb krawd edta ophrb ck raynganlksnathrniwithyaaehlngaer phunthitablhadsmaepn xaephxemuxng cnghwdranxng singhakhm 2551