แมวดาว (อังกฤษ: leopard cat; ชื่อวิทยาศาสตร์: Prionailurus bengalensis) เป็นแมวป่าขนาดเล็กที่อาศัยอยู่ในเอเชียใต้ ตะวันออกเฉียงใต้ และตะวันออก บัญชีแดงไอยูซีเอ็นจัดให้อยู่ในกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่มีความเสี่ยงต่ำต่อการสูญพันธุ์มาตั้งแต่ ค.ศ. 2002 เนื่องจากมีการกระจายอย่างกว้างขวางแม้ว่าจะถูกคุกคามจากการสูญเสียแหล่งที่อยู่อาศัยและการล่าสัตว์ในบางพื้นที่
แมวดาว | |
---|---|
แมวดาวอินเดีย (P. b. bengalensis) | |
แมวดาวอามูร์ (P. b. euptilura) ทั้งสองตัวอยู่ใน | |
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
โดเมน: | ยูแคริโอต |
อาณาจักร: | สัตว์ |
ไฟลัม: | สัตว์มีแกนสันหลัง |
ชั้น: | สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม |
อันดับ: | อันดับสัตว์กินเนื้อ |
อันดับย่อย: | |
วงศ์: | เสือและแมว |
วงศ์ย่อย: | วงศ์ย่อยแมว |
สกุล: | สกุลแมวดาว (, 1792) |
สปีชีส์: | Prionailurus bengalensis |
ชื่อทวินาม | |
Prionailurus bengalensis (, 1792) | |
แผนที่แสดงที่อยู่อาศัยของแมวดาวใน ค.ศ. 2015 |
ในอดีต แมวดาวในเอเชียภาคพื้นทวีปถือเป็นสัตว์ชนิดเดียวกันกับ ต่อมาใน ค.ศ. 2017 แมวป่าซุนดาได้รับการจัดเป็นชนิดต่างหาากภายใต้ชื่ออนุกรมวิธาน Prionailurus javanensis
ชนิดย่อยของแมวดาวมีสีขน ความยาวหาง รูปร่างกะโหลก และขนาดที่หลากหลาย หลักฐานทางโบราณคดีระบุว่าแมวดาวเป็นแมวชนิดแรกที่ถูกปรับเป็นสัตว์เลี้ยงในจีนยุคหินใหม่ประมาณ 5,000 ปีที่แล้วในมณฑลฉ่านซีและมณฑลเหอหนาน
ลักษณะทั่วไป
แมวดาวเป็นแมวป่าที่พบได้ง่ายที่สุดในเมืองไทยและในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีขนาดเล็กใกล้เคียงแมวบ้าน แต่ขายาวกว่าเล็กน้อย มีลายจุดทั่วทั้งตัว สีลำตัวต่างกันไปในแต่ละพื้นที่ มีตั้งแต่สีเทาซีด น้ำตาล เหลืองทอง จนถึงสีแดง ด้านใต้ลำตัวสีขาว จุดข้างลำตัวเป็นจุดทึบหรือเป็นดอก ส่วนบริเวณขาและหางเป็นจุดทึบ มีเส้นดำหลายเส้นพาดขนานกันตั้งแต่หน้าผากจนถึงท้ายทอยและเริ่มขาดท่อนกลายเป็นจุดรี ๆ ที่บริเวณหัวไหล่ บางตัวมีเส้นยาวนี้พาดยาวตลอดแนวสันหลัง มีแถบสีขาว 2 แถบและแถบดำ 4 แถบพาดจากหัวตาไปที่หู ขนมีความยาวต่างกันตามเขตที่อยู่ พันธุ์ที่อาศัยอยู่ทางเหนือจะมีขนยาวและแน่นกว่าพันธุ์ที่อยู่ทางใต้ หัวค่อนข้างเล็ก กรวยปากแคบและสั้น คางสีขาว มีแต้มสีขาวที่มีแถบสีดำแคบ ๆ ล้อมรอบที่บริเวณแก้ม ม่านตาลึก หูยาวและมน ขอบหูดำและกลางหลังหูสีขาว หางด้านบนมีลายจุด ปลายหางสีเนื้อ ส่วนใกล้ปลายหางเป็นปล้องที่ไม่ชัดนัก แมวดาวตัวผู้ใหญ่กว่าตัวเมีย
การจำแนก
ในปี ค.ศ. 2009 มีการจำแนกชนิดย่อยของแมวดาวไว้ดังนี้
- P. b. bengalensis (Kerr, 1792) — พบในอินเดีย, บังกลาเทศ, พม่า, ไทย, คาบสมุทรมลายู, อินโดนีเซีย และมณฑลยูนนานในประเทศจีน;
- P. b. javanensis (, 1816) — พบบนเกาะชวา และเกาะบาหลี;
- P. b. sumatranus ( 1821) — พบบนเกาะสุมาตรา และ;
- P. b. chinensis ( 1837) — พบบนเกาะไต้หวัน และจีนแผ่นดินใหญ่ ยกเว้นมณฑลยูนนาน;
- P. b. horsfieldi (Gray 1842) — พบในรัฐชัมมูและกัศมีร์, รัฐปัญจาบ, , เนปาล, รัฐสิกขิม และภูฏาน;
- แมวดาวอามูร์, P. b. euptilurus/euptilura ( 1871) — พบในภาคตะวันออกของไซบีเรีย, แมนจูเรีย, คาบสมุทรเกาหลี และบนเกาะสึชิมะ;
- P. b. borneoensis (Brongersma 1936) — พบบนเกาะบอร์เนียว;
- P. b. trevelyani ( 1939) — พบในตอนเหนือของแคชเมียร์ และปัญจาบ และทางตอนใต้ของ;
- P. b. alleni (, 1949) — พบบนเกาะไหหลำ;
- แมวอิริโอะโมะเตะ, P. b. iriomotensis (Imaizumi, 1967) — พบเฉพาะบนเกาะอิริโอะโมะเตะ ซึ่งเป็นเกาะหนึ่งของหมู่เกาะริวกิว ในหมู่เกาะญี่ปุ่น;
- P. b. heaneyi (Groves 1997) — พบบนในหมู่เกาะฟิลิปปิน
- แมวดาววิซายัน, P. b. rabori (Groves 1997) — พบบนเกาะ, ซีบู, และพาเนย์ในหมู่เกาะฟิลิปปิน
แมวอิริโอโมเตะนั้นเคยถูกจัดเป็นแมวชนิดหนึ่งซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับแมวดาว นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1967 แต่จากการวิเคราะห์ไมโตคอนเดรียดีเอ็นเอในช่วงทศวรรษที่ 1990 พบว่าเป็นชนิดย่อยหนึ่งของแมวดาว
ถิ่นที่อยู่อาศัย
แมวดาวเป็นแมวป่าในเอเชียที่มีเขตกระจายพันธุ์กว้างขวางที่สุดชนิดหนึ่ง พบใน 21 ประเทศตั้งแต่ตะวันตกของปากีสถาน ทั่วเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงตะวันออกของเกาะชวา บอร์เนียว และกลางหมู่เกาะฟิลิปปินส์ และเหนือสุดถึงแมนจูเรีย
แมวดาวอาศัยได้ในพื้นที่หลายชนิด เช่นป่าละเมาะ ที่ราบกึ่งทะเลทราย ป่าชั้นสอง ป่าทึบ และพื้นที่เพาะปลูก ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือมักพบตามป่าสน โดยเฉพาะป่าเปิดที่มีไม้ล้มจำนวนมาก แมวดาวค่อนข้างชอบป่าชั้นสองมากกว่าป่าดึกดำบรรพ์ ทนการรบกวนจากมนุษย์ได้ดี จึงพบได้แม้ในป่าที่มีการทำไม้ บริเวณใกล้หมู่บ้าน และพื้นที่การเกษตรอย่างสวนยาง สวนปาล์ม หรือไร่กาแฟ ชอบอยู่ใกล้แหล่งน้ำ ไม่ชอบอาศัยในพื้นที่ที่มีหิมะปกคลุมหนาเกินกว่า 10 เซนติเมตร และไม่พบในทุ่งหญ้าสเต็ปป์ที่หนาวเย็น และไม่ชอบที่ ๆ แห้งแล้งมาก ๆ อยู่ได้ตั้งแต่ที่ราบต่ำจนถึงบนเทือกเขาหิมาลัยที่ระดับความสูงถึง 3,000 เมตร
แมวดาวพบได้แม้ในเกาะที่อยู่ห่างไกล เช่นที่เกาะเชจู และเกาะเล็ก ๆ ของเกาหลีใต้ เกาะสึชิมะของญี่ปุ่น และเกาะเล็ก ๆ ของสุมาตรา ไทย เวียดนาม จีน และอินเดีย แมวดาวที่อาศัยอยู่ในเกาะเหล่านี้มักมีสีคล้ำกว่าที่อื่น
ในเกาะสึชิมะของญี่ปุ่น แมวดาวมีพื้นที่หากิน 0.83 ตารางกิโลเมตร ส่วนในป่าที่แห้งแล้งในเมืองไทย มีพื้นที่หากินระหว่าง 1.5-7.5 ตารางกิโลเมตร แต่จะใช้พื้นที่หากินหลักอยู่ระหว่าง 0.7-2 ตารางกิโลเมตร
อุปนิสัย
แมวดาวหากินได้ทั้งบนดินและบนต้นไม้ ว่ายน้ำเก่งมาก ไม่ค่อยกลัวมนุษย์ จึงพบได้บ่อยใกล้หมู่บ้าน ชาวบ้านในบางพื้นที่ก็เลี้ยงแมวดาวไว้เพื่อจับหนู เช่นเดียวกับแมวชอฟรัว (Geoffroy's Cat) ในอเมริกาใต้ อาหารหลักของแมวดาวคือสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมขนาดเล็ก โดยเฉพาะสัตว์ฟันแทะ นอกจากนี้ยังกิน นก สัตว์เลื้อยคลาน ปลา สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ และแมลง และเคยมีผู้พบเห็นแมวดาวกินซากสัตว์ด้วย
แมวดาวปีนต้นไม้ได้เก่ง ในประเทศไทย เคยพบแมวดาวพักผ่อนอยู่บนต้นไม้สูงถึงกว่า 20 เมตร มีเรื่องเล่าว่าแมวดาวจับนกโดยการทิ้งตัวลงมาจับจากข้างบน
แมวดาวหากินเวลากลางคืนเป็นส่วนใหญ่ แต่ก็พบตอนกลางวันได้บ่อย จากการติดตามแมวดาวด้วยปลอกคอวิทยุในประเทศไทย 4 ตัว พบว่ามีการออกหากินเวลากลางวันบ่อยครั้ง และแต่ละตัวมีช่วงเวลาหากินประจำต่างกันไป
ชีววิทยา
แม่แมวดาวตั้งท้องนานประมาณ 56-70 วัน ส่วนใหญ่ออกลูก 2-3 ตัว แต่เคยพบกรณีที่มีถึง 8 ตัว เลี้ยงลูกในโพรงไม้ หลืบหินหรือถ้ำ น้ำหนักแรกเกิด 80 กรัม ตาเปิดเมื่ออายุได้ 5-15 วัน แมวดาวที่อาศัยอยู่ทางตอนเหนือมีฤดูผสมพันธุ์ปีละครั้งระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนมีนาคมและออกลูกในเดือนพฤษภาคม แต่แมวดาวในเขตใต้จะออกลูกได้ตลอดปี เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 8-18 เดือน แมวดาวในธรรมชาติมีอายุขัยประมาณ 10-15 ปี ส่วนแมวดาวในสถานที่เพาะเลี้ยงมีอายุกว่า 15 ปี แต่ฟันจะหักหายไปหมดเมื่ออายุ 8-10 ปี
ภัยที่คุกคาม
แมวดาวเป็นแมวป่าที่ปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมและการเสื่อมโทรมของป่าได้ดี หากเทียบกับแมวและเสือชนิดอื่น ๆ ในเอเชียแล้วก็เป็นรองเพียงแมวป่า (เสือกระต่าย) เท่านั้น แต่ถึงอย่างนั้นก็ไม่ได้หมายความว่าแมวดาวจะไม่ถูกคุกคามเลย ดังจะเห็นได้ว่าจำนวนประชากรลดลงในหลายพื้นที่โดยเฉพาะตามเกาะต่าง ๆ จนต้องมีศูนย์เพาะพันธุ์เกิดขึ้นหลายแห่ง เช่นที่เกาะสึชิมะในญี่ปุ่น และที่เกาะ Negros ในฟิลิปปินส์
ในประเทศจีน ซึ่งเป็นศูนย์กลางเขตกระจายพันธุ์ของแมวดาว มีล่าและค้าขายอวัยวะสัตว์ป่ากันอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะทางตะวันตกเฉียงใต้ ก่อนหน้าปี 2527 มีการส่งออกหนังแมวดาวเฉลี่ยปีละประมาณ 200,000 ผืน แต่หลังจากนั้นจนถึงปี 2532 ได้เพิ่มจำนวนขึ้นมาก จากการสำรวจคลังเก็บขนสัตว์ของบริษัทขนสัตว์ยักษ์ใหญ่ของจีนในปี 2532 พบว่ามีมากกว่า 800,000 ผืน ในช่วงปี 2498-2524 มีการล่าเฉลี่ย 150,000 ตัวต่อปี ส่วนในปี 2528-2531 คาดว่ามีมากถึง 400,000 ตัวต่อปี
เดิมยุโรปเคยเป็นตลาดหลักของจีนในการส่งออกหนังแมวดาว แต่หลังจากมีการห้ามการนำเข้าในปี 2531 ตลาดหลักของจีนก็เปลี่ยนมาเป็นญี่ปุ่นแทน เฉพาะปี 2532 มีการส่งออกหนังแมวดาวจากจีนไปญี่ปุ่น 50,000 ผืน นอกจากนี้ญี่ปุ่นยังมีการนำเขาเนื้อแมวดาวเพื่อทำเป็นอาหารด้วย เพราะที่ญี่ปุ่นมีคนนิยมกินเนื้อแมวดาวมาก
เมื่อไม่นานมานี้[] เคราะห์กรรมของแมวดาวสัญชาติจีนก็ยิ่งแย่ขึ้นไปอีก เมื่อรัฐสภาจีนได้มีการเสนอให้เพิ่มโควตาส่งออกหนังแมวดาวมากขึ้น 500% เพื่อเพิ่มผลกำไรให้ประเทศ
มีภัยที่คุกคามแมวดาวอีกอย่างหนึ่งเพิ่งเกิดขึ้นมาไม่นาน เป็นภัยจากคนที่บอกว่าเป็นคนรักแมว ความต้องการแมวบ้านพันธุ์ใหม่ ๆ ของคนนิยมเลี้ยงแมว ทำให้นักผสมพันธุ์แมวบางกลุ่มลองนำแมวดาวมาผสมกับแมวบ้านหลายพันธุ์เพื่อให้เกิดลูกผสมพันธุ์ใหม่ที่สวยงามและราคาดี เช่น แมวเบงกอล และแมวซาฟารี การกระทำเช่นนี้เป็นการทำให้พันธุกรรมของแมวดาวอ่อนแอลง และตัดโอกาสแมวดาววัยเจริญพันธุ์ที่จะผสมพันธุ์ให้กำเนิดลูกแมวดาวทายาทเผ่าพันธุ์ตนเองลงไป
ในไทยมีรายงานว่าเป็นหนึ่งในอาหารป่าโดยนำเนื้อมาผัดกับเครื่องแกงทำคั่วกลิ้ง[]
สถานภาพ
ปัจจุบันสถานภาพของแมวดาวยังถือว่าปลอดภัยหากเทียบกับแมวและเสือชนิดอื่น ๆ แต่พวกที่อาศัยอยู่ในเกาะต่าง ๆ กำลังลำบาก แมวดาวในประเทศฟิลิปปินส์ซึ่งสถานการณ์ป่าไม้จัดว่าย่ำแย่ที่สุดในเอเชียเขตร้อนอาจเป็นกลุ่มที่เผชิญเคราะห์กรรมหนักที่สุด เกาะเกือบทั้งหมดในประเทศนี้ที่เคยมีแมวดาวอยู่ได้สูญพันธุ์ไปแล้ว ส่วนที่เกาะสึชิมะซึ่งเคยมีแมวดาวอยู่ 200-300 ตัวในช่วงทศวรรษ 1960-1970 ปัจจุบันเหลืออยู่ไม่ถึงหนึ่งร้อยตัว
แม้จำนวนประชากรลดลง ไอยูซีเอ็นยังจัดสถานภาพของแมวดาวไว้ในระดับมีความเสี่ยงน้อย (LC) ไซเตสจัดให้แมวดาวอยู่ในบัญชีหมายเลข 2 ยกเว้นพันธุ์ F.b. bengalensis อยู่ในบัญชีหมายเลข 1
ประเทศที่ห้ามล่า
บังกลาเทศ ฮ่องกง อินเดีย อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น มาเลเซีย (ยกเว้นซาบะฮ์) พม่า เนปาล ปากีสถาน รัสเซีย ไทย ไต้หวัน(ไม่ควรมีการล่าเกิดขึ้น)
ประเทศที่ควบคุมการล่าและการซื้อขาย
เกาหลีใต้ ลาว สิงคโปร์
ประเทศที่ไม่มีการคุ้มครองนอกเขตอนุรักษ์
ภูฏาน บรูไนดารุสซาราม จีน ฟิลิปปินส์ เวียดนาม
ไม่มีข้อมูล
อัฟกานิสถาน กัมพูชา เกาหลีเหนือ
หมายเหตุ
- Prionailurus bengalensis bengalensis จัดอยู่ใน Appendix I.
อ้างอิง
- Ghimirey, Y.; Petersen, W.; Jahed, N.; Akash, M.; Lynam, A.J.; Kun, S.; Din, J.; Nawaz, M.A.; Singh, P.; Dhendup, T.; Marcus, C.; Gray, T.N.E. & Phyoe Kyaw, P. (2022). "Prionailurus bengalensis". IUCN Red List of Threatened Species. 2022: e.T18146A212958253. doi:10.2305/IUCN.UK.2022-1.RLTS.T18146A212958253.en. สืบค้นเมื่อ 22 July 2022.
- Kitchener, A. C.; Breitenmoser-Würsten, C.; Eizirik, E.; Gentry, A.; Werdelin, L.; Wilting, A.; Yamaguchi, N.; Abramov, A. V.; Christiansen, P.; Driscoll, C.; Duckworth, J. W.; Johnson, W.; Luo, S.-J.; Meijaard, E.; O’Donoghue, P.; Sanderson, J.; Seymour, K.; Bruford, M.; Groves, C.; Hoffmann, M.; Nowell, K.; Timmons, Z.; Tobe, S. (2017). "A revised taxonomy of the Felidae: The final report of the Cat Classification Task Force of the IUCN Cat Specialist Group" (PDF). Cat News. Special Issue 11: 26–29.
- Groves, C. P. (1997). "Leopard-cats, Prionailurus bengalensis (Carnivora: Felidae) from Indonesia and the Philippines, with the description of two new subspecies". Zeitschrift für Säugetierkunde. 62: 330–338. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "groves97" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน - Vigne, J.D.; Evin, A.; Cucchi, T.; Dai, L.; Yu, C.; Hu, S.; Soulages, N.; Wang, W.; Sun, Z.; Gao, J.; Dobney, K.; Yuan, J. (2016). "Earliest "Domestic" Cats in China Identified as Leopard Cat (Prionailurus bengalensis)". PLOS ONE. 11 (1): e0147295. Bibcode:2016PLoSO..1147295V. doi:10.1371/journal.pone.0147295. PMC 4723238. PMID 26799955.
- Wilson, D. E., Mittermeier, R. A. (eds.) (2009). Handbook of the Mammals of the World. Volume 1: Carnivores. Lynx Edicions.
- Ellerman, J. R., Morrison-Scott, T. C. S. (1966). Checklist of Palaearctic and Indian mammals 1758 to 1946. Second edition. British Museum of Natural History, London. Pp. 312–313
- Tamada, T., Siriaroonrat, B., Subramaniam, V., Hamachi, M., Lin, L.-K., Oshida, T., Rerkamnuaychoke, W., Masuda, R. (2006). "Molecular Diversity and Phylogeography of the Asian Leopard Cat, Felis bengalensis, Inferred from Mitochondrial and Y-Chromosomal DNA Sequences" (PDF). Zoological Science. 25: 154–163. doi:10.2108/zsj.25.154. PMID 18533746.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Imaizumi, Y. (1967). A new genus and species of cat from Iriomote, Ryukyu Islands. Journal of Mammalian Society Japan 3(4): 74.
- Masuda, R.; Yoshida, M. C. (1995). "Two Japanese wildcats, the Tsushima cat and the Iriomote cat, show the same mitochondrial DNA lineage as the leopard cat Felis bengalensis". Zoological Science. 12: 655–659. doi:10.2108/zsj.12.655.
แหล่งข้อมูลอื่น
- "Leopard Cat Prionailurus bengalensis". Cat Specialist Group.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
aemwdaw xngkvs leopard cat chuxwithyasastr Prionailurus bengalensis epnaemwpakhnadelkthixasyxyuinexechiyit tawnxxkechiyngit aelatawnxxk bychiaedngixyusiexncdihxyuinklumsingmichiwitthimikhwamesiyngtatxkarsuyphnthumatngaet kh s 2002 enuxngcakmikarkracayxyangkwangkhwangaemwacathukkhukkhamcakkarsuyesiyaehlngthixyuxasyaelakarlastwinbangphunthiaemwdawaemwdawxinediy P b bengalensis aemwdawxamur P b euptilura thngsxngtwxyuinsthanakarxnurkskhwamesiyngta IUCN 3 1 CITES Appendix II CITES karcaaenkchnthangwithyasastrodemn yuaekhrioxtxanackr stwiflm stwmiaeknsnhlngchn stweliynglukdwynmxndb xndbstwkinenuxxndbyxy wngs esuxaelaaemwwngsyxy wngsyxyaemwskul skulaemwdaw 1792 spichis Prionailurus bengalensischuxthwinamPrionailurus bengalensis 1792 aephnthiaesdngthixyuxasykhxngaemwdawin kh s 2015 inxdit aemwdawinexechiyphakhphunthwipthuxepnstwchnidediywknkb txmain kh s 2017 aemwpasundaidrbkarcdepnchnidtanghaakphayitchuxxnukrmwithan Prionailurus javanensis chnidyxykhxngaemwdawmisikhn khwamyawhang ruprangkaohlk aelakhnadthihlakhlay hlkthanthangobrankhdirabuwaaemwdawepnaemwchnidaerkthithukprbepnstweliyngincinyukhhinihmpraman 5 000 pithiaelwinmnthlchansiaelamnthlehxhnanlksnathwipaemwdawepnaemwpathiphbidngaythisudinemuxngithyaelainexechiytawnxxkechiyngit mikhnadelkiklekhiyngaemwban aetkhayawkwaelknxy milaycudthwthngtw silatwtangknipinaetlaphunthi mitngaetsiethasid natal ehluxngthxng cnthungsiaedng danitlatwsikhaw cudkhanglatwepncudthubhruxepndxk swnbriewnkhaaelahangepncudthub miesndahlayesnphadkhnankntngaethnaphakcnthungthaythxyaelaerimkhadthxnklayepncudri thibriewnhwihl bangtwmiesnyawniphadyawtlxdaenwsnhlng miaethbsikhaw 2 aethbaelaaethbda 4 aethbphadcakhwtaipthihu khnmikhwamyawtangkntamekhtthixyu phnthuthixasyxyuthangehnuxcamikhnyawaelaaennkwaphnthuthixyuthangit hwkhxnkhangelk krwypakaekhbaelasn khangsikhaw miaetmsikhawthimiaethbsidaaekhb lxmrxbthibriewnaekm mantaluk huyawaelamn khxbhudaaelaklanghlnghusikhaw hangdanbnmilaycud playhangsienux swniklplayhangepnplxngthiimchdnk aemwdawtwphuihykwatwemiykarcaaenkinpi kh s 2009 mikarcaaenkchnidyxykhxngaemwdawiwdngni P b bengalensis Kerr 1792 phbinxinediy bngklaeths phma ithy khabsmuthrmlayu xinodniesiy aelamnthlyunnaninpraethscin P b javanensis 1816 phbbnekaachwa aelaekaabahli P b sumatranus 1821 phbbnekaasumatra aela P b chinensis 1837 phbbnekaaithwn aelacinaephndinihy ykewnmnthlyunnan P b horsfieldi Gray 1842 phbinrthchmmuaelaksmir rthpycab enpal rthsikkhim aelaphutan aemwdawxamur P b euptilurus euptilura 1871 phbinphakhtawnxxkkhxngisbieriy aemncueriy khabsmuthrekahli aelabnekaasuchima P b borneoensis Brongersma 1936 phbbnekaabxreniyw P b trevelyani 1939 phbintxnehnuxkhxngaekhchemiyr aelapycab aelathangtxnitkhxng P b alleni 1949 phbbnekaaihhla aemwxirioxaomaeta P b iriomotensis Imaizumi 1967 phbechphaabnekaaxirioxaomaeta sungepnekaahnungkhxnghmuekaariwkiw inhmuekaayipun P b heaneyi Groves 1997 phbbninhmuekaafilippin aemwdawwisayn P b rabori Groves 1997 phbbnekaa sibu aelaphaenyinhmuekaafilippin aemwxirioxometannekhythukcdepnaemwchnidhnungsungimekiywkhxngkbaemwdaw nbtngaetpi kh s 1967 aetcakkarwiekhraahimotkhxnedriydiexnexinchwngthswrrsthi 1990 phbwaepnchnidyxyhnungkhxngaemwdawthinthixyuxasyaemwdawepnaemwpainexechiythimiekhtkracayphnthukwangkhwangthisudchnidhnung phbin 21 praethstngaettawntkkhxngpakisthan thwexechiytawnxxkechiyngit cnthungtawnxxkkhxngekaachwa bxreniyw aelaklanghmuekaafilippins aelaehnuxsudthungaemncueriy aemwdawxasyidinphunthihlaychnid echnpalaemaa thirabkungthaelthray pachnsxng pathub aelaphunthiephaapluk inaethbexechiytawnxxkechiyngehnuxmkphbtampasn odyechphaapaepidthimiimlmcanwnmak aemwdawkhxnkhangchxbpachnsxngmakkwapadukdabrrph thnkarrbkwncakmnusyiddi cungphbidaeminpathimikarthaim briewniklhmuban aelaphunthikarekstrxyangswnyang swnpalm hruxirkaaef chxbxyuiklaehlngna imchxbxasyinphunthithimihimapkkhlumhnaekinkwa 10 esntiemtr aelaimphbinthunghyasetppthihnaweyn aelaimchxbthi aehngaelngmak xyuidtngaetthirabtacnthungbnethuxkekhahimalythiradbkhwamsungthung 3 000 emtr aemwdawphbidaeminekaathixyuhangikl echnthiekaaechcu aelaekaaelk khxngekahliit ekaasuchimakhxngyipun aelaekaaelk khxngsumatra ithy ewiydnam cin aelaxinediy aemwdawthixasyxyuinekaaehlanimkmisikhlakwathixun inekaasuchimakhxngyipun aemwdawmiphunthihakin 0 83 tarangkiolemtr swninpathiaehngaelnginemuxngithy miphunthihakinrahwang 1 5 7 5 tarangkiolemtr aetcaichphunthihakinhlkxyurahwang 0 7 2 tarangkiolemtrxupnisyaemwdawhakinidthngbndinaelabntnim waynaekngmak imkhxyklwmnusy cungphbidbxyiklhmuban chawbaninbangphunthikeliyngaemwdawiwephuxcbhnu echnediywkbaemwchxfrw Geoffroy s Cat inxemrikait xaharhlkkhxngaemwdawkhuxstweliynglukdwynanmkhnadelk odyechphaastwfnaetha nxkcakniyngkin nk stweluxykhlan pla stwkhrungbkkhrungna aelaaemlng aelaekhymiphuphbehnaemwdawkinsakstwdwy aemwdawpintnimidekng inpraethsithy ekhyphbaemwdawphkphxnxyubntnimsungthungkwa 20 emtr mieruxngelawaaemwdawcbnkodykarthingtwlngmacbcakkhangbn aemwdawhakinewlaklangkhunepnswnihy aetkphbtxnklangwnidbxy cakkartidtamaemwdawdwyplxkkhxwithyuinpraethsithy 4 tw phbwamikarxxkhakinewlaklangwnbxykhrng aelaaetlatwmichwngewlahakinpracatangknipchiwwithyaaemaemwdawtngthxngnanpraman 56 70 wn swnihyxxkluk 2 3 tw aetekhyphbkrnithimithung 8 tw eliynglukinophrngim hlubhinhruxtha nahnkaerkekid 80 krm taepidemuxxayuid 5 15 wn aemwdawthixasyxyuthangtxnehnuxmivduphsmphnthupilakhrngrahwangeduxnkumphaphnththungeduxnminakhmaelaxxklukineduxnphvsphakhm aetaemwdawinekhtitcaxxklukidtlxdpi ekhasuwyecriyphnthuemuxxayuid 8 18 eduxn aemwdawinthrrmchatimixayukhypraman 10 15 pi swnaemwdawinsthanthiephaaeliyngmixayukwa 15 pi aetfncahkhayiphmdemuxxayu 8 10 piphythikhukkhamaemwdawepnaemwpathiprbtwihekhakbkarepliynaeplngsphaphaewdlxmaelakaresuxmothrmkhxngpaiddi hakethiybkbaemwaelaesuxchnidxun inexechiyaelwkepnrxngephiyngaemwpa esuxkratay ethann aetthungxyangnnkimidhmaykhwamwaaemwdawcaimthukkhukkhamely dngcaehnidwacanwnprachakrldlnginhlayphunthiodyechphaatamekaatang cntxngmisunyephaaphnthuekidkhunhlayaehng echnthiekaasuchimainyipun aelathiekaa Negros infilippins inpraethscin sungepnsunyklangekhtkracayphnthukhxngaemwdaw milaaelakhakhayxwywastwpaknxyangkwangkhwang odyechphaathangtawntkechiyngit kxnhnapi 2527 mikarsngxxkhnngaemwdawechliypilapraman 200 000 phun aethlngcaknncnthungpi 2532 idephimcanwnkhunmak cakkarsarwckhlngekbkhnstwkhxngbristhkhnstwyksihykhxngcininpi 2532 phbwamimakkwa 800 000 phun inchwngpi 2498 2524 mikarlaechliy 150 000 twtxpi swninpi 2528 2531 khadwamimakthung 400 000 twtxpi edimyuorpekhyepntladhlkkhxngcininkarsngxxkhnngaemwdaw aethlngcakmikarhamkarnaekhainpi 2531 tladhlkkhxngcinkepliynmaepnyipunaethn echphaapi 2532 mikarsngxxkhnngaemwdawcakcinipyipun 50 000 phun nxkcakniyipunyngmikarnaekhaenuxaemwdawephuxthaepnxahardwy ephraathiyipunmikhnniymkinenuxaemwdawmak emuximnanmani ekhraahkrrmkhxngaemwdawsychaticinkyingaeykhunipxik emuxrthsphacinidmikaresnxihephimokhwtasngxxkhnngaemwdawmakkhun 500 ephuxephimphlkairihpraeths miphythikhukkhamaemwdawxikxyanghnungephingekidkhunmaimnan epnphycakkhnthibxkwaepnkhnrkaemw khwamtxngkaraemwbanphnthuihm khxngkhnniymeliyngaemw thaihnkphsmphnthuaemwbangklumlxngnaaemwdawmaphsmkbaemwbanhlayphnthuephuxihekidlukphsmphnthuihmthiswyngamaelarakhadi echn aemwebngkxl aelaaemwsafari karkrathaechnniepnkarthaihphnthukrrmkhxngaemwdawxxnaexlng aelatdoxkasaemwdawwyecriyphnthuthicaphsmphnthuihkaenidlukaemwdawthayathephaphnthutnexnglngip inithymiraynganwaepnhnunginxaharpaodynaenuxmaphdkbekhruxngaekngthakhwkling txngkarxangxing sthanphaphpccubnsthanphaphkhxngaemwdawyngthuxwaplxdphyhakethiybkbaemwaelaesuxchnidxun aetphwkthixasyxyuinekaatang kalnglabak aemwdawinpraethsfilippinssungsthankarnpaimcdwayaaeythisudinexechiyekhtrxnxacepnklumthiephchiyekhraahkrrmhnkthisud ekaaekuxbthnghmdinpraethsnithiekhymiaemwdawxyuidsuyphnthuipaelw swnthiekaasuchimasungekhymiaemwdawxyu 200 300 twinchwngthswrrs 1960 1970 pccubnehluxxyuimthunghnungrxytw aemcanwnprachakrldlng ixyusiexnyngcdsthanphaphkhxngaemwdawiwinradbmikhwamesiyngnxy LC isetscdihaemwdawxyuinbychihmayelkh 2 ykewnphnthu F b bengalensis xyuinbychihmayelkh 1 praethsthihamla bngklaeths hxngkng xinediy xinodniesiy yipun maelesiy ykewnsabah phma enpal pakisthan rsesiy ithy ithwn imkhwrmikarlaekidkhun praethsthikhwbkhumkarlaaelakarsuxkhay ekahliit law singkhopr praethsthiimmikarkhumkhrxngnxkekhtxnurks phutan bruindarussaram cin filippins ewiydnam immikhxmul xfkanisthan kmphucha ekahliehnuxhmayehtuPrionailurus bengalensis bengalensis cdxyuin Appendix I xangxingGhimirey Y Petersen W Jahed N Akash M Lynam A J Kun S Din J Nawaz M A Singh P Dhendup T Marcus C Gray T N E amp Phyoe Kyaw P 2022 Prionailurus bengalensis IUCN Red List of Threatened Species 2022 e T18146A212958253 doi 10 2305 IUCN UK 2022 1 RLTS T18146A212958253 en subkhnemux 22 July 2022 Kitchener A C Breitenmoser Wursten C Eizirik E Gentry A Werdelin L Wilting A Yamaguchi N Abramov A V Christiansen P Driscoll C Duckworth J W Johnson W Luo S J Meijaard E O Donoghue P Sanderson J Seymour K Bruford M Groves C Hoffmann M Nowell K Timmons Z Tobe S 2017 A revised taxonomy of the Felidae The final report of the Cat Classification Task Force of the IUCN Cat Specialist Group PDF Cat News Special Issue 11 26 29 Groves C P 1997 Leopard cats Prionailurus bengalensis Carnivora Felidae from Indonesia and the Philippines with the description of two new subspecies Zeitschrift fur Saugetierkunde 62 330 338 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imsmehtusmphl miniyamchux groves97 hlaykhrngdwyenuxhatangkn Vigne J D Evin A Cucchi T Dai L Yu C Hu S Soulages N Wang W Sun Z Gao J Dobney K Yuan J 2016 Earliest Domestic Cats in China Identified as Leopard Cat Prionailurus bengalensis PLOS ONE 11 1 e0147295 Bibcode 2016PLoSO 1147295V doi 10 1371 journal pone 0147295 PMC 4723238 PMID 26799955 Wilson D E Mittermeier R A eds 2009 Handbook of the Mammals of the World Volume 1 Carnivores Lynx Edicions ISBN 978 84 96553 49 1 Ellerman J R Morrison Scott T C S 1966 Checklist of Palaearctic and Indian mammals 1758 to 1946 Second edition British Museum of Natural History London Pp 312 313 Tamada T Siriaroonrat B Subramaniam V Hamachi M Lin L K Oshida T Rerkamnuaychoke W Masuda R 2006 Molecular Diversity and Phylogeography of the Asian Leopard Cat Felis bengalensis Inferred from Mitochondrial and Y Chromosomal DNA Sequences PDF Zoological Science 25 154 163 doi 10 2108 zsj 25 154 PMID 18533746 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Imaizumi Y 1967 A new genus and species of cat from Iriomote Ryukyu Islands Journal of Mammalian Society Japan 3 4 74 Masuda R Yoshida M C 1995 Two Japanese wildcats the Tsushima cat and the Iriomote cat show the same mitochondrial DNA lineage as the leopard cat Felis bengalensis Zoological Science 12 655 659 doi 10 2108 zsj 12 655 aehlngkhxmulxunwikispichismikhxmulphasaxngkvsekiywkb Prionailurus bengalensis wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb aemwdaw Leopard Cat Prionailurus bengalensis Cat Specialist Group