แมนิโธ (/ˈmænɪθoʊ/; กรีกคอยนี: Μανέθων Manéthōn, gen.: Μανέθωνος) เชื่อกันว่าเป็นนักบวชชาวอียิปต์จากเซเบนนีทอส (คอปติก: Ϫⲉⲙⲛⲟⲩϯ, อักษรโรมัน: Čemnouti) ซึ่งมีชีวิตอยู่ในสมัยราชอาณาจักรทอเลมีในช่วงต้นศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสต์ศักราช ซึ่งอยู่ในช่วงสมัยเฮเลนิสติก
มาเนโธได้เขียนหนังสือ แอกิปเทียกา (ประวัติศาสตร์แห่งอียิปต์) ในภาษากรีก ซึ่งเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับลำดับเหตุการณ์สำคัญของรัชสมัยของฟาโรห์แห่งอียิปต์โบราณ ไม่แน่ชัดว่ามาเนโธจะเขียนประวัติและรายพระนามฟาโรห์ในช่วงรัชสมัยของฟาโรห์ปโตเลมีที่ 1 โซเตอร์ หรือฟาโรห์ปโตเลมีที่ 2 ฟิลาเดลฟอส แต่น่าจะเขียนเสร็จไม่เกินรัชสมัยของฟาโรห์ปโตเลมีที่ 3 ยูเออร์เกเตส
นาม
ไม่ปรากฏชื่อของแมนิโธในภาษาอียิปต์โบราณเดิม แต่บางคนสันนิษฐานว่าหมายถึง "ความจริงของเทพ", "ของขวัญของเทพธอธ", "ผู้เป็นที่รักของเทพธอธ", "ผู้เป็นที่รักของเทพี" หรือ "ผู้เป็นที่รักของเทพีนิธ" แต่มีข้อเสนอที่ได้รับการยอมรับน้อยกว่า ได้แก่ Myinyu-heter (แปลว่า "ผู้เลี้ยงม้า" หรือ "เจ้าบ่าว") และ Ma'ani-Djehuti (แปลว่า "ข้าได้เห็นเทพธอธ")
ในภาษากรีก ชิ้นส่วนบันทึกที่เก่าแก่ที่สุด (เป็นจารึกที่ไม่ได้ระบุช่วงเวลาบนฐานของรูปสลักครึ่งตัวหินอ่อนจากวิหารของที่คาร์เทจ และฟลาวิอุส โจเซฟุส ซึ่งเป็นนักประวัติศาสตร์ชาวยิวในฃ่วงคริสต์ศตวรรษที่หนึ่ง) ไดเขียนชื่อของแมนิโธว่า Μανέθων Manethōn ดังนั้น การแปลงชื่อของแมนิโธในภาษาละตินจึงเรียกว่า Manetho มีการเขียนในภาษากรีกแบบอื่นๆ ได้แก่ Manethōs, Manethō, Manethos, Manēthōs, Manēthōn, and Manethōth และ Manethōth ในภาษาละตินเขียนว่า Manethon, Manethos, Manethonus, และ Manetos[]
แอกิปเทียกา
แอกิปเทียกา (Αἰγυπτιακά, Aigyptiaka), "ประวัติศาสตร์แห่งอียิปต์" อาจจะเป็นผลงานชิ้นใหญ่ที่สุดของแมนิโธ และแน่นอนว่าเป็นงานที่สำคัญที่สุดเช่นกัน ซึ่งถูกแบ่งลำดับเวลาและแบ่งออกเป็นสามเล่ม การแบ่งผู้ปกครองออกเป็นราชวงศ์นั้นเป็นวิธีการจัดกลุ่มใหม่ อย่างไรก็ตาม แต่ไม่ได้ใช้คำนี้ในความหมายสมัยใหม่ แต่โดยสายเลือด แต่มักจะเสนอราชวงศ์ใหม่เมื่อใดก็ตามที่ตรวจพบความไม่ต่อเนื่องบางอย่าง ไม่ว่าจะเป็นทางภูมิศาสตร์ (ราชวงศ์ที่สี่จากเมมฟิส ราชวงศ์ที่ห้าจากเอเลแฟนไทน์) หรือลำดับของราชวงศ์ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งในราชวงศ์ที่หนึ่ง โดยที่แมนิโธได้จะสื่อว่าฟาโรห์ที่สืบต่อกันมาแต่ละพระองค์ถือว่าเป็น "พระราชโอรส" ของฟาโรห์พระองค์ก่อน เพื่อนิยามความหมายของคำว่า "ความต่อเนื่อง") ในส่วนบนของตารางลำดับราชวงศ์ แมนิโธเติมช่องว่างด้วยเรื่องเล่ามากมายของฟาโรห์
บางคนเสนอ[]ว่า แอกิปเทียกา ถูกเขียนขึ้นเพื่อแข่งขันกับหนังสือ Histories ของเฮโรโดตัส เพื่อบันทึกหลักฐานประวัติศาสตร์ของชาติอียิปต์ ซึ่งไม่เคยปรากฏมาก่อน จากมุมมองนี้ Against Herodotus อาจจะเป็นเอกสารฉบับย่อหรือเป็นเพียงส่วนหนึ่งของ แอกิปเทียกา ที่เผยแพร่อย่างอิสระ แต่่น่าเสียดายที่ในปัจจุบันทั้งเอกสารสองไม่หลงเหลือในรูปแบบดั้งเดิม
เอกสารทั้งสองฉบับของชิ้นส่วนของ แอกิปเทียกา ของแมนิโธได้ถูกแปลเป็นภาษาอังกฤษ ซึ่งได้รับการตีพิมพ์โดย ในปี ค.ศ. 1940 และโดย เจอรัลด์ พี. เวอร์บรูกก์ และจอห์น มัวร์ วิกเกอร์สแฮมในปี ค.ศ. 2001
อ้างอิง
- "أسماء بعض البلاد المصرية بالقبطية - كتاب لغتنا القبطية المصرية | St-Takla.org". st-takla.org.
- Waddell (1940), p. ix, n. 1.
- viii. 1007: "ΜΑΝΕΘΩΝ"
- The same way that Platōn is rendered "Plato"; see Greek and Latin .
- Verbrugghe, Gerald P.; Wickersham, John Moore (2001). Berossos and Manetho, Introduced and Translated: Native Traditions in Ancient Mesopotamia and Egypt. University of Michigan Press. pp. 207–. ISBN .
Waddell's Manetho is the only other English translation of Manetho. It was originally published in the Loeb Classical Library in 1940, together with the Tetrabiblos (Treatise in Four Books) of the astronomer Ptolemy.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
aemnioth ˈ m ae n ɪ 8 oʊ krikkhxyni Mane8wn Manethōn gen Mane8wnos echuxknwaepnnkbwchchawxiyiptcakesebnnithxs khxptik Ϫⲉⲙⲛⲟⲩϯ xksrormn Cemnouti sungmichiwitxyuinsmyrachxanackrthxelmiinchwngtnstwrrsthi 3 kxnkhristskrach sungxyuinchwngsmyehelnistikphlutharkhidechuxmoyngaemniothkblththipotelmiaehng rupslkdngklawepnhwhnankbwchnirnamaehng sungcdaesdngthi krungebxrlin maenothidekhiynhnngsux aexkipethiyka prawtisastraehngxiyipt inphasakrik sungepnaehlngkhxmulsahrbladbehtukarnsakhykhxngrchsmykhxngfaorhaehngxiyiptobran imaenchdwamaenothcaekhiynprawtiaelarayphranamfaorhinchwngrchsmykhxngfaorhpotelmithi 1 osetxr hruxfaorhpotelmithi 2 filaedlfxs aetnacaekhiynesrcimekinrchsmykhxngfaorhpotelmithi 3 yuexxreketsnamimpraktchuxkhxngaemniothinphasaxiyiptobranedim aetbangkhnsnnisthanwahmaythung khwamcringkhxngethph khxngkhwykhxngethphthxth phuepnthirkkhxngethphthxth phuepnthirkkhxngethphi hrux phuepnthirkkhxngethphinith aetmikhxesnxthiidrbkaryxmrbnxykwa idaek Myinyu heter aeplwa phueliyngma hrux ecabaw aela Ma ani Djehuti aeplwa khaidehnethphthxth inphasakrik chinswnbnthukthiekaaekthisud epncarukthiimidrabuchwngewlabnthankhxngrupslkkhrungtwhinxxncakwiharkhxngthikharethc aelaflawixus ocesfus sungepnnkprawtisastrchawyiwinkhwngkhriststwrrsthihnung idekhiynchuxkhxngaemniothwa Mane8wn Manethōn dngnn karaeplngchuxkhxngaemniothinphasalatincungeriykwa Manetho mikarekhiyninphasakrikaebbxun idaek Manethōs Manethō Manethos Manethōs Manethōn and Manethōth aela Manethōth inphasalatinekhiynwa Manethon Manethos Manethonus aela Manetos txngkarxangxing aexkipethiykaaexkipethiyka Aἰgyptiaka Aigyptiaka prawtisastraehngxiyipt xaccaepnphlnganchinihythisudkhxngaemnioth aelaaennxnwaepnnganthisakhythisudechnkn sungthukaebngladbewlaaelaaebngxxkepnsamelm karaebngphupkkhrxngxxkepnrachwngsnnepnwithikarcdklumihm xyangirktam aetimidichkhaniinkhwamhmaysmyihm aetodysayeluxd aetmkcaesnxrachwngsihmemuxidktamthitrwcphbkhwamimtxenuxngbangxyang imwacaepnthangphumisastr rachwngsthisicakemmfis rachwngsthihacakexelaefnithn hruxladbkhxngrachwngs odyechphaaxyangyinginrachwngsthihnung odythiaemniothidcasuxwafaorhthisubtxknmaaetlaphraxngkhthuxwaepn phrarachoxrs khxngfaorhphraxngkhkxn ephuxniyamkhwamhmaykhxngkhawa khwamtxenuxng inswnbnkhxngtarangladbrachwngs aemniothetimchxngwangdwyeruxngelamakmaykhxngfaorh bangkhnesnx txngkarxangxing wa aexkipethiyka thukekhiynkhunephuxaekhngkhnkbhnngsux Histories khxngehorodts ephuxbnthukhlkthanprawtisastrkhxngchatixiyipt sungimekhypraktmakxn cakmummxngni Against Herodotus xaccaepnexksarchbbyxhruxepnephiyngswnhnungkhxng aexkipethiyka thiephyaephrxyangxisra aetnaesiydaythiinpccubnthngexksarsxngimhlngehluxinrupaebbdngedim exksarthngsxngchbbkhxngchinswnkhxng aexkipethiyka khxngaemniothidthukaeplepnphasaxngkvs sungidrbkartiphimphody inpi kh s 1940 aelaody ecxrld phi ewxrbrukk aelacxhn mwr wikekxrsaehminpi kh s 2001xangxing أسماء بعض البلاد المصرية بالقبطية كتاب لغتنا القبطية المصرية St Takla org st takla org Waddell 1940 p ix n 1 viii 1007 MANE8WN The same way that Platōn is rendered Plato see Greek and Latin Verbrugghe Gerald P Wickersham John Moore 2001 Berossos and Manetho Introduced and Translated Native Traditions in Ancient Mesopotamia and Egypt University of Michigan Press pp 207 ISBN 0 472 08687 1 Waddell s Manetho is the only other English translation of Manetho It was originally published in the Loeb Classical Library in 1940 together with the Tetrabiblos Treatise in Four Books of the astronomer Ptolemy