นาย เฮนรี กุสตาฟ โมไลสัน (อังกฤษ: Henry Gustav Molaison, 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1926-2 ธันวาคม ค.ศ. 2008) หรือที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางว่า "H.M." เป็นคนไข้ความจำเสื่อมชาวอเมริกันผู้ได้รับการตัดสมองกลีบขมับด้านในออกทั้งสองข้าง คือในส่วน 2/3 ด้านหน้าของฮิปโปแคมปัส, parahippocampal cortex, entorhinal cortex, piriform cortex, และอะมิกดะลา เพื่อที่จะบำบัดโรคลมชัก (epilepsy) มีการศึกษาเกี่ยวกับลักษณะอาการของเขาอย่างกว้างขวางตั้งแต่ปลายปี ค.ศ. 1957 จนกระทั่งถึงเขาเสียชีวิต กรณีของเขามีบทบาสำคัญในการพัฒนาทฤษฎีต่าง ๆ ที่อธิบายความสัมพันธ์กันของการทำงานในสมองและความจำ และในการพัฒนาของประสาทจิตวิทยาเชิงประชาน (cognitive neuropsychology) ซึ่งเป็นสาขาของจิตวิทยาที่มุ่งหมายเพื่อจะเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างและหน้าที่ของสมองกับกระบวนการทางจิตวิทยาเฉพาะอย่าง ๆ เขาได้อาศัยอยู่ในสถานพยาบาลในเมืองวินด์เซอร์ล็อกส์ ซึ่งเป็นที่ที่มีการศึกษาประเด็นเรื่องของเขาอย่างมากมาย
เฮนรี กุสตาฟ โมไลสัน (Henry Gustav Molaison) | |
---|---|
เกิด | 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2469 (ค.ศ. 1926) ฮาร์ตเฟิร์ด รัฐคอนเนทิคัต |
เสียชีวิต | 2 ธันวาคม ค.ศ. 2008 วินด์เซอร์ล็อกส์ รัฐคอนเนทิคัต | (82 ปี)
มีชื่อเสียงจาก | คนไข้ความจำเสื่อมที่ให้ข้อมูลเป็นจำนวนมากเกี่ยวกับระบบความจำของมนุษย์ รู้จักกันก่อนเสียชีวิตว่า คนไข้ "H.M." |
สมองของนายโมไลสันได้รับเก็บรักษาไว้ที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย แซนดีเอโก ซึ่งมีการตัดเป็นส่วน ๆ เพื่อการศึกษาทางมิญชวิทยาในวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 2009 ข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับสมองของเขามีการเปิดให้กับนักวิจัยอื่น ๆ แล้ว
ประวัติ
นายเฮนรี โมไลสันเกิดวันที่ 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1926 (พ.ศ. 2469) และมีโรคลมชักที่แก้ไม่ได้ (intractable epilepsy) ที่บางครั้งโทษว่า เกิดขึ้นเพราะอุบัติเหตุจักรยานเมื่อเขาอายุ 7 ขวบ (ตอนแรก ๆ อุบัติเหตุนี้บอกว่าเกิดขึ้นที่อายุ 9 ขวบ แต่ต่อมาภายหลังได้รับการแก้โดยมารดาของคนไข้) เขาประสบปัญหาการชักเฉพาะส่วน (focal seizures) เป็นเวลาหลายปี และได้เกิด tonic-clonic seizure หลายครั้งหลายคราวหลังจากครบอายุ 16 ปี ในปี ค.ศ. 1953 หมอได้ส่งให้เขาไปหาประสาทแพทย์ วิลเลียมส์ บีชเชอร์ สโกวิลล์ ที่โรงพยาบาลฮาร์ตเฟิร์ดเพื่อการรักษา
น.พ. สโกวิลล์ได้กำหนดส่วนเฉพาะของสมองที่เป็นแหล่งกำเนิดของการชักคือสมองกลีบขมับด้านใน (medial temporal lobe ตัวย่อ MTL) ในสมองทั้งสองซีก และเสนอว่าให้ตัด MTL ออกเป็นการรักษา ในวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ. 1953 มีการผ่าตัดสมองกลีบขมับด้านในในซีกสมองทั้งสองรวมทั้งส่วนของฮิปโปแคมปัสและส่วนที่อยู่ใกล้ ๆ รวมทั้งอะมิกดะลาและ entorhinal cortex ส่วนที่เหลือในฮิปโปแคมปัสต่อมาปรากฏว่าไม่ทำงานเพราะว่าเนื้อเยื่อที่เหลือประมาณ 2 ซ.ม. เกิดการฝ่อ และเพราะว่า entorhinal cortex ทั้งหมดซึ่งเป็นส่วนสำคัญที่ส่งข้อมูลไปยังฮิปโปแคมปัส ถูกทำลายเสียหมด นอกจากนั้นแล้ว บางส่วนของสมองกลีบขมับส่วนหน้าด้านข้าง (anterolateral) ก็ถูกทำลายด้วย
หลังจากการผ่าตัด แม้ว่าจะจัดว่าสำเร็จตามแผนเพื่อระงับอาการชัก เขาได้เกิดภาวะเสียความจำส่วนอนาคต (anterograde amnesia) อย่างรุนแรง และแม้ว่าความจำใช้งาน (working memory) และความจำเชิงกระบวนวิธี (procedural memory) ของเขาไม่เกิดความเสียหาย เขาไม่สามารถจำเหตุการณ์ใหม่ ๆ ซึ่งเป็นหน้าที่ส่วนหนึ่งของความจำชัดแจ้ง (explicit memory) ได้ ตามนักวิทยาศาสตร์บางท่าน นายโมไลสันไม่สามารถเกิดความรู้โดยความหมาย (semantic knowledge) ใหม่ ๆ แต่ก็มีนักวิจัยอื่น ๆ ที่ถกเถียงกันถึงขนาดขอบเขตของความพิการนี้ เขายังประสบปัญหาภาวะเสียความจำส่วนอดีต (retrograde amnesia) แบบเบา ๆ อีกด้วย คือเขาไม่สามารถจำเหตุการณ์โดยมากในช่วง 1-2 ปีก่อนการผ่าตัด และไม่สามารจำเหตุการณ์บางอย่างไปจนถึง 11 ปีก่อนการผ่าตัด ซึ่งแสดงว่าภาวะเสียความจำย้อนหลังของเขาเป็นไปตามลำดับเวลา แต่ว่า ความจำเชิงกระบวนวิธีระยะยาว (long-term procedural memory) ไม่เกิดความเสียหาย ดังนั้น เขาจึงสามารถเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว (motor skill) ใหม่ ๆ ได้ แม้ว่าจะจำไม่ได้ว่าได้เรียนมาเมื่อไรที่ไหน
ในปี ค.ศ. 1957 น.พ. สโกวิลล์และเบร็นดา มิลเนอร์ได้รายงานถึงกรณีนี้เป็นครั้งแรก ในระยะสุดท้ายของชีวิตของเขา นายโมไลสันเล่นเกมปริศนาอักษรไขว้เป็นประจำ เขาสามารถที่จะให้คำตอบต่อคำถามต่าง ๆ ที่อ้างอิงความรู้ของเขาที่เกิดขึ้นก่อนปี ค.ศ. 1953 ส่วนข้อมูลหลังปี ค.ศ. 1953 เขาสามารถเติมเปลี่ยนข้อมูลเก่า ๆ ด้วยข้อมูลใหม่ เช่น เขาสามารถสร้างความจำเกี่ยวกับ น.พ. โจนาส์ ซอลก์ (ผู้ค้นพบวัคซีนโปลิโอ) โดยเติมเปลี่ยนความจำของเขาเกี่ยวกับโรคโปลิโอ
นายโมไลสันได้เสียชีวิตไปในวันที่ 2 ธันวาคม ค.ศ. 2008 (พ.ศ. 2551)
ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างความจำ
นายโมไลสันมีอิทธิพลอย่างยิ่งไม่ใช่เพียงแค่ความรู้ที่เขาให้เกี่ยวกับความเสียหายต่อความจำและภาวะเสียความจำ แต่เพราะว่า มีการพิจารณาว่า การผ่าตัดทางสมองโดยเฉพาะของเขาได้เปิดโอกาสให้สร้างความเข้าใจว่า เขตต่าง ๆ โดยเฉพาะในสมองมีความสัมพันธ์กับกระบวนการเฉพาะต่าง ๆ ที่สมมติว่าเกิดขึ้นในการสร้างความจำอย่างไร เพราะเหตุนี้ กรณีของเขาเชื่อกันว่า ได้ให้ข้อมูลทางพยาธิวิทยาเกี่ยวกับสมอง และมีส่วนช่วยในการพัฒนาทฤษฎีเกี่ยวกับการสร้างความจำที่เป็นปกติ
คือโดยเฉพาะเรื่องแล้ว ความสามารถที่ปรากฏของเขาในการทำงานที่ต้องระลึกถึงความจำระยะสั้นและความจำเชิงกระบวนวิธี (procedural memory) และความไม่สามารถจะทำงานที่ต้องระลึกถึงความจำอาศัยเหตุการณ์ (episodic memory) บอกเป็นนัยว่า การระลึกถึงความจำต่าง ๆ กันเช่นนี้อาจจะมีการสื่อ อย่างน้อยก็โดยบางส่วน โดยเขตที่ต่าง ๆ กันในสมอง และโดยนัยเดียวกัน ความสามารถในการระลึกถึงความจำระยะยาวที่มีมาก่อนการผ่าตัด กับความไม่สามารถในการสร้างความจำระยะยาวใหม่ ๆ บอกเป็นนัยว่า การเข้ารหัสและการค้นคืนข้อมูลในความจำระยะยาวอาจจะมีการสื่อโดยระบบต่าง ๆ กันในสมอง
อย่างไรก็ดี การสร้างภาพในสมองของโมไลสันในปลายคริสต์ทศวรรษ 1990 แสดงความเสียหายที่กว้างขวางเกินกว่าที่ทฤษฎีก่อน ๆ ได้กล่าวพาดพิง ทำให้ยากมากที่จะระบุเขตใดเขตหนึ่งโดยเฉพาะ หรือกลุ่มของเขตต่าง ๆ โดยเฉพาะ ที่สามารถอธิบายถึงความบกพร่องของนายโมไลสัน
ของขวัญที่ให้กับวิทยาศาสตร์
งานศึกษาเกี่ยวกับนายโมไลสันเป็นการปฏิวัติความเข้าใจเกี่ยวกับระเบียบแบบแผนของระบบความจำในมนุษย์ คือได้ให้หลักฐานที่กว้างขวางในการปฏิเสธทฤษฎีเก่า ๆ และในการสร้างทฤษฎีใหม่ ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับกระบวนการและโครงสร้างทางประสาทที่เป็นฐาน ในบทความต่อไปนี้ จะกล่าวถึงความเข้าใจสำคัญที่เกิดขึ้นพอเป็นโครง
สมองที่รักษาของนายโมไลสันได้กลายเป็นเป้าหมายการศึกษาทางกายวิภาคอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อนโดยได้รับทุนมาจากมูลนิธิดานาและจากมูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติสหรัฐอเมริกา โปรเจ็กต์ที่มี ดร. จาโคโป แอนนีส (ซึ่งเป็นผู้อำนวยการของ The Brain Observatory 2009-04-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ซานดิเอโก) เป็นหัวหน้านี้ จะทำการสำรวจในระดับจุลทรรศน์ของสมองนายโมไลสันทั้งหมด เพื่อที่จะแสดงมูลฐานทางประสาทของความเสียหายทางความทรงจำที่ปรากฏในประวัติของนายโมไลสันในระดับเซลล์ ในวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 2009 คณะของ ดร. แอนนีสได้ผ่าตัดสมองของนายโมไลสันออกเป็น 2,401 แผ่นเป็นแผ่นบาง ๆ โดยมีแผ่นที่เสียหายเพียงแค่สองแผ่น และแผ่นที่อาจจะมีปัญหาอีก 16 แผ่น และการสร้างสมองจำลอง 3-มิติ ก็ได้เสร็จสิ้นแล้วในต้นปี ค.ศ. 2014 ในปัจจุบันกลุ่มงานวิจัยกำลังทำงานระยะที่สองต่อ
ภาวะเสียความจำ
อาการทั่ว ๆ ไปของนายโมไลสันสามารถกำหนดได้ว่า เป็นภาวะเสียความจำส่วนอนาคต (anterograde amnesia) ที่รุนแรง และมีภาวะเสียความจำส่วนอดีตที่มีระดับต่าง ๆ กันตามกาลเวลา (temporally graded retrograde amnesia) นายโมไลสันไม่สามารถสร้างความจำระยะยาวสำหรับเหตุการณ์หรือความรู้โดยความหมาย (semantic knowledge) ใหม่ ๆ คือเขาได้แต่ใช้ชีวิตที่เป็นไปในปัจจุบันเท่านั้น
เนื่องจากว่า นายโมไลสันไม่มีความบกพร่องทางความจำก่อนการผ่าตัด ดังนั้น การตัดสมองกลีบขมับส่วนในของเขาออกจึงใช้เป็นคำอธิบายความบกพร่องทางความจำของเขา ดังนั้น จึงเชื่อกันว่า สมองกลีบขมับส่วนใน (medial temporal lobe) เป็นส่วนที่มีบทบาทสำคัญในการสร้างทั้ง (semantic memory) และความจำอาศัยเหตุการณ์ (episodic memory) ระยะยาว (คือ สมองกลีบขมับด้านในได้รับการกำหนดว่าเป็นศูนย์ของการเข้ารหัสความจำอาศัยเหตุการณ์) หลักฐานอื่น ๆ ที่สนับสนุความคิดนี้เกิดในงานวิจัยคนไข้อื่น ๆ ที่มีรอยโรคในส่วนต่าง ๆ ของสมองกลีบขมับส่วนใน
แม้ว่าจะมีภาวะเสียความจำ นายโมไลสันสามารถผ่านการทดสอบทางเชาวน์ปัญญาได้ในระดับปกติ ซึ่งแสดงว่า หน้าที่เกี่ยวกับความจำบางอย่าง (เป็นต้นว่าความจำระยะสั้น ความจำเกี่ยวกับคำศัพท์ และความจำเกี่ยวกับพยางค์) ไม่เกิดความเสียหายเพราะการผ่าตัด แต่ว่า ในการทำความเข้าใจและการใช้ภาษาในระดับประโยค นายโมไลสันมีความบกพร่องโดยความสามารถที่คงเหลือมีความบกพร่องคล้ายกับในระบบความจำ นายโมไลสันสามารถที่จะจำข้อมูลต่าง ๆ เป็นระยะเวลาสั้น ๆ ตรวจสอบได้โดยการทดสอบความจำใช้งานที่จะต้องระลึกถึงตัวเลขที่แสดงให้ดูมาแล้ว ซึ่งคะแนนของเขาก็ไม่ได้แย่กว่ากลุ่มควบคุม ผลงานวิจัยนี้ให้หลักฐานว่า ความจำใช้งานไม่ต้องอาศัยโครงสร้างในสมองกลีบขมับด้านใน ซึ่งก็สนับสนุนความแตกต่างโดยทั่ว ๆ ไปของที่เก็บความจำระยะสั้นและความจำระยะยาว การระลึกถึงศัพท์ต่าง ๆ ได้ของนายโมไลสันอย่างไม่มีปัญหาแสดงหลักฐานว่า ความจำเกี่ยวกับศัพท์ (lexical memory) ไม่ต้องอาศัยโครงสร้างในสมองกลีบขมับด้านใน
การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว
นอกจากความจำใช้งานและเชาวน์ปัญญาที่ไม่เสียหายของเขาแล้ว งานวิจัยเกี่ยวกับความสามารถในการได้มาซึ่งทักษะการเคลื่อนไหวใหม่ ๆ แสดงว่าการเรียนรู้ทักษะใหม่ ๆ นั้นไม่เสียหาย ในงานวิจัยหนึ่งของมิลเนอร์ในต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 นายโมไลสันเรียนรู้ทักษะการวาดรูปโดยมองเงาสะท้อนในกระจก งานวิจัยของคอร์กินในปี ค.ศ. 1968 เพิ่มพูนหลักฐานที่แสดงความไม่เสียหายของการเรียนรู้ทักษะใหม่ ๆ ในงานวิจัยนี้ มีการทดสอบนายโมไลสันในงานเกี่ยวกับการเรียนรู้ทักษะ 3 อย่าง ผู้แสดงความสามารถในการเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหวอย่างสมบูรณ์ในงานทั้ง 3 อย่าง
งานวิจัยที่ใช้เทคนิค repetition priming แสดงความสามารถในการสร้างความจำโดยปริยาย (implicit memory) ซึ่งไม่ได้อยู่ใต้อำนาจจิตใจของนายโมไลสัน เปรียบเทียบกับการที่เขาไม่สามารถสร้าง (semantic memory) และความจำอาศัยเหตุการณ์ (episodic memory) ใหม่ซึ่งเป็นประเภทต่าง ๆ ของความจำชัดแจ้ง (explicit memory). ผลงานวิจัยเหล่านี้ให้หลักฐานว่า ความจำเกี่ยวกับทักษะและ repetition priming อาศัยโครงสร้างทางประสาทที่ต่างจากความจำเกี่ยวกับเหตุการณ์และความจริงต่าง ๆ คือ แม้ว่า ความจำเชิงกระบวนวิธีและ repetition priming จะไม่อาศัยสมองกลีบขมับด้านในที่ถูกตัดออกไปในกรณีของนายโมไลสัน แต่ว่า และความจำอาศัยเหตุการณ์ยังต้องอาศัย
ความไม่สัมพันธ์กันระหว่างความจำโดยปริยายและความจำชัดแจ้งเพราะมีโครงสร้างประสาทที่ไม่สัมพันธ์กันที่เห็นได้ในกรณีของนายโมไลสัน ได้เป็นข้อมูลที่ช่วยให้เราเข้าใจระบบความจำในมนุษย์ ยกตัวอย่างเช่น ความจำระยะยาวไม่ใช่มีส่วนเดียวแต่สามารถแยกออกเป็นความจำเชิงประกาศและความจำแบบไม่ประกาศ (ความจำโดยปริยาย)
ความจำเชิงพื้นที่
ตามคำของคอร์กิน งานวิจัยเกี่ยวกับสมรรถภาพความจำของโมไลสันได้ให้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างทางประสาทของความจำทางพื้นที่ (spatial memory) และการประมวลข้อมูลเกี่ยวกับพื้นที่ แม้เขาไม่สามารถที่จะสร้างความจำอาศัยเหตุการณ์หรือความจำเกี่ยวกับความจริงใหม่ ๆ โดยระยะยาว และปรากฏความบกพร่องในการทดสอบความจำทางพื้นที่บางอย่าง นายโมไลสันก็ยังสามารถที่จะวาดแผนผังที่ละเอียดของที่อยู่ของเขา สิ่งที่พบนี้น่าสนใจเพราะว่าโมไลสันได้ย้ายเข้าไปอยู่ในบ้านนั้น 5 ปีหลังจากการผ่าตัด และดังนั้น เพราะเหตุภาวะเสียความจำส่วนอนาคต (anterograde amnesia) ที่รุนแรงของเขา และเพราะความเข้าใจของระบบความจำที่ได้ในกรณีอื่น ๆ สิ่งที่คาดหมายก็คือว่า การสร้างความจำเชิงแผนที่ภูมิลักษณ์ของนายโมไลสันควรจจะเกิดความเสียหายไปด้วย คอร์กินได้คาดว่า โมไลสัน "สามารถสร้างแผนที่เชิงประชานของแผนใช้พื้นที่ของบ้านของเขาเพราะมีการไปจากห้องสู่ห้องทุก ๆ วัน": 156 ส่วนในประเด็นเรื่องโครงสร้างทางประสาท คอร์กิน อ้างว่า ความสามารถของนายโมไลสันในการสร้างแผนใช้พื้นที่ เป็นไปได้เพราะว่า โครงสร้างของเครือข่ายประสาทในการประมวลพื้นที่โดยส่วนหนึ่งของเขาไม่มีความเสียหาย (เช่น ส่วนหลังของ parahippocampal gyrus)
นอกจากความจำเกี่ยวกับแผนที่ภูมิลักษณ์แล้ว โมไลสันยังสามารถเรียนรู้งานในการจำและรู้จำภาพต่าง ๆ และงานรู้จำใบหน้าของคนมีชื่อเสียง แต่งานหลังเป็นไปได้ก็ต่อเมื่อมีการให้เสียงช่วยโดยพยางค์ ความสามารถของนายโมไลสันเกี่ยวกับการรู้จำภาพอาจเป็นเพราะส่วนที่ไม่เสียหายของ perirhinal cortex ด้านล่าง
นอกจากนั้นแล้ว คอร์กิน ยังยืนยันอีกด้วยว่า แม้ว่าโมไลสันจะไม่สามารถสร้างความจำเชิงประกาศใหม่โดยทั่ว ๆ ไป แต่เขายังดูเหมือนกับสามารถสร้างข้อมูลบางอย่างบ้างเล็กน้อยที่ไม่สมบูรณ์เกี่ยวกับบุคคลสาธารณะ (เช่นสามารถค้นคืนชื่อของคนมีชื่อเสียงเมื่อให้ตัวช่วย) ผลงานวิจัยเหล่านี้แสดงถึงความสำคัญของสมองส่วนรอบ ๆ ฮิปโปแคมปัส (extrahippocampal) ที่ไม่เสียหายต่อความจำเชิงความหมาย (semantic) และความจำเพื่อการรู้จำ (recognition) และช่วยเสริมความเข้าใจเกี่ยวกับความปฏิสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างต่าง ๆ ในสมองกลีบขมับด้านใน ส่วนความเสียหายอย่างรุนแรงของโมไลสันเกี่ยวกับงานทางพื้นที่บางอย่างให้หลักฐานที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างฮิปโปแคมปัสกับความจำโดยพื้นที่ (spatial memory)
การทำความจำให้มั่นคง
ความรู้อีกอย่างหนึ่งที่นายโมไลสันได้ช่วยก็คือโครงสร้างทางประสาทของกระบวนการทำความจำให้มั่นคง (memory consolidation) ในมนุษย์ ซึ่งมีหน้าที่ในการสร้างความจำระยะยาวที่มีเสถียรภาพ คือนายโมไลสันมีภาวะเสียความจำส่วนอดีต (retrograde amnesia) ที่เป็นไปตามลำดับกาลเวลา ที่เขา “ยังสามารถระลึกถึงความจำในวัยเด็กได้ แต่มีปัญหาในการระลึกถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงปีก่อน ๆ การผ่าตัด”: 214 คือ ความจำเก่า ๆ ของเขาไม่มีความเสียหาย แต่ว่า ความจำของปีใกล้ ๆ ก่อนการผ่าตัดมีความเสียหาย นี้เป็นหลักฐานที่แสดงว่า ความจำเก่า ๆ ในวัยเด็กไม่ได้อาศัยสมองกลีบขมับส่วนใน (medial temporal lobe) เปรียบเทียบกับความจำหลังจากนั้นที่ปรากฏว่าต้องอาศัย โครงสร้างต่าง ๆ ในสมองกลีบขมับส่วนในที่ถูกตัดออก ได้รับสมมติว่ามีบทบาทในการทำความจำให้มั่นคงโดยวิธีที่ “การปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมองกลีบขมับส่วนในและเขตเปลือกสมองด้านข้างต่าง ๆ ได้รับการพิจารณาว่า เป็นการบันทึกความจำนอกสมองกลีบขมับส่วนใน โดยการสร้างอย่างช้า ๆ ซึ่งการเชื่อมต่อโดยตรง (โดยไม่ผ่านฮิปโปแคมปัส) ระหว่างเขตเปลือกสมองต่าง ๆ ที่เป็นตัวแทน (คือเป็นที่บันทึก) ของประสบการณ์”: 214
ดูเพิ่ม
- ฟิเนียส์ พี. เกจ, หัวหน้ากรรมกรสร้างทางรถไฟในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ที่มีบุคคลิกภาพเปลี่ยนไปอย่างสำคัญหลังจากเกิดการบาดเจ็บในกะโหลกศีรษะ
เชิงอรรถและอ้างอิง
- เฮนรี กุสตาฟ โมไลสัน หรือที่รู้จักเกือบตลอดทั้งชีวิตของเขาว่า H.M. เพื่อพิทักษ์ความส่วนตัวของเขา กลายเป็นคนไข้ที่ได้รับการศึกษามากที่สุดในประวัติวิทยาศาสตร์สมองหลังจากปี ค.ศ. 1953 เมื่อการผ่าตัดสมองเชิงทดลองได้ทำให้เขาไม่สามารถสร้างความจำเชิงประกาศใหม่ ๆ ในเวลาที่เขามีอายุ 27 ปี ... หลังจากทำการทดลองเล่นเกมแก้ปัญหาซ้ำ ๆ กัน ชายผู้สูญเสียความจำผู้นี้ก็ได้เรียนรู้ที่จะให้คำตอบที่ถูกต้อง คุณหมอสก็อตโกได้กล่าวว่า "เราพบว่าเขาสามารถเรียนรู้ข้อมูลความจริงใหม่ ๆ ถ้าเขามีอะไรในความจำอยู่แล้วที่จะใช้เป็นตัวช่วยยึดความจำใหม่" --- จาก Benedict Carey (December 6, 2010). "No Memory, but He Filled In the Blanks". New York Times. สืบค้นเมื่อ 2008-12-05.
- ในปี ค.ศ. 1953 เขาได้รับการผ่าตัดสมองเชิงทดลองในเมืองฮาร์ตเฟิร์ดเพื่อแก้ปัญหาเกี่ยวกับการชัก แต่กลับฟื้นขึ้นมามีความเปลี่ยนแปลงไปอย่างสิ้นเชิงโดยแก้ไขอะไรไม่ได้ คือ เขาเกิดอาการที่ประสาทแพทย์เรียกว่าภาวะเสียความจำ (amnesia) อย่างลึกซึ้ง กล่าวคือ เขาได้สูญเสียสมรรถภาพในการสร้างความจำเชิงประกาศใหม่ ๆ ---จาก Benedict Carey (December 4, 2008). "H. M., an Unforgettable Amnesiac, Dies at 82". New York Times. สืบค้นเมื่อ 2008-12-05.
- tonic-clonic seizure หรือ grand mal seizure เป็นการชักทั่วสมองอย่างหนึ่ง ที่เกิดขึ้นกับคนไข้โรคลมชักและโรคที่ทำให้เกิดการชักอื่น ๆ โดยมาก แต่ไม่ใช่เป็นการชักประเภทเดียวที่มีอยู่ เป็นการชักที่อาจทำให้เกิดขึ้นโดยจงใจในการรักษาโดยใช้ electroconvulsion therapy
- ภายใต้ปัญหาชีวิตต่าง ๆ เหล่านี้ เขาเล่นเกมปริศนาต่าง ๆ (เต็มหนังสือ) เล่มแล้วเล่มเล่า ซึ่งเป็นนิสัยที่เขามีตั้งแต่เป็นเด็กวัยรุ่น ในเบื้องปลายชีวิตของเขา เขาได้เก็บสมุดปริศนาอักษรไขว้พร้อมกับปากกาไว้ใกล้ ๆ ตัวตลอดเวลา ในตะกร้าที่ติดอยู่ที่อุปกรณ์ช่วยเดินของเขา ---จาก "The Man Who Couldn't Remember". NOVA scienceNOW. June 1, 2009. สืบค้นเมื่อ 2010-12-09.
อ้างอิง
- Schaffhausen, Joanna. "Henry Right Now". The Day His World Stood Still. BrainConnection.com. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-02-09. สืบค้นเมื่อ 2008-08-05.
- Arielle Levin Becker (November 29, 2009). . The Hartford Courant. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-01-06. สืบค้นเมื่อ 2014-08-06.
- Scientists Digitize Psychology’s Most Famous Brain, Wired.com
- Corkin, Suzanne (1984). "Lasting consequences of bilateral medial temporal lobectomy: Clinical course and experimental findings in H.M.". Seminars in Neurology. New York, NY: Thieme-Stratton Inc. 4 (4): 249–259. doi:10.1055/s-2008-1041556.
- H. Schmolck, E.A. Kensinger, S. Corkin, & L. Squire (2002). "Semantic knowledge in Patient H.M. and other patients with bilateral medial and lateral temporal lobe lesions" (PDF). Hippocampus. 12 (4): 520–533. doi:10.1002/hipo.10039. PMID 12201637.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - William Beecher Scoville and Brenda Milner (1957). "Loss of recent memory after bilateral hippocampal lesions". Journal of Neurology, Neurosurgery and Psychiatry. 20 (1): 11–21. doi:10.1136/jnnp.20.1.11. PMC 497229. PMID 13406589.
- Corkin, Susanna; Amaral, David G.; González, R. Gilberto; Johnson, Keith A.; Hyman, Bradley T. (15 May 1997). "H. M.'s Medial Temporal Lobe Lesion: Findings from Magnetic Resonance Imaging". The Journal of Neuroscience. 17 (10): 3, 964–3, 979.
- B. Kolb and I. Q. Whishaw, I. Q. (1996). Fundamentals of human neuropsychology (4th ed.). New York, NY: W. H. Freeman.
- Moll, Maryanne (2014-01-29). "Henry Molaison's (or HM) brain digitized to show how amnesia affects the brain". TechTimes. สืบค้นเมื่อ 2014-02-08.
- Annese, Jacopo. . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-04-20. สืบค้นเมื่อ 2009-03-16.
- E. E. Smith and S. M. Kosslyn (2007). Cognitive Psychology: Mind and Brain (1st ed.). Upper Saddle River, NJ: Pearson/Prentice Hall. ISBN .
- S. Corkin (2002). (PDF). Nature Reviews Neuroscience. 3 (2): 153–160. doi:10.1038/nrn726. PMID 11836523. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2004-09-12. สืบค้นเมื่อ 2014-08-06.
- D.G. MacKay, James, L.E., J. K. Taylor & Marian, D.E. (2007). "Amnesic H.M. exhibits parallel deficits and sparing in language and memory: Systems versus binding theory accounts". Language and Cognitive Processes. 22 (3): 377–452. doi:10.1080/01690960600652596.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - S. Corkin (1968). "Acquisition of motor skill after bilateral medial temporal-lobe excision". Neuropsychologia. 6 (6): 255–265. doi:10.1016/0028-3932(68)90024-9.
- M. W. Eysenck, and M. T. Keane (2005). Cognitive Psychology: A Student’s Handbook (5th ed.). Hove, UK: Psychology Press. ISBN .
แหล่งข้อมูลอื่น
- Philip J. Hilts (1996). Memory's Ghost. New York: Simon & Schuster. ISBN . Provides further discussion of the author's meetings with HM.
- The Day His World Stood Still 2012-08-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน – Article on HM from Brain Connection
- H.M.'s Brain and the History of Memory – NPR Piece on HM
- H. M., an Unforgettable Amnesiac, Dies at 82 New York Times obituary
- The Brain Observatory, H. M. Blog 2010-08-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน – Live stream of the microtome slicing HM's brain
- HM – The Man Who Couldn't Remember – BBC Radio 4 documentary, broadcast on 11 August 2010 and available soon on BBC iPlayer. Features interviews with HM himself, Dr Brenda Milner, Professor Suzanne Corkin, Dr Jacopo Annese and HM's carers
[[วิกิพีเดีย:|ข้อมูลบุคคล]] | |
---|---|
ชื่อ | Hm} |
ชื่ออื่น | เฮนรี กุสตาฟ โมไลสัน |
รายละเอียดโดยย่อ | |
วันเกิด | 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1926 |
สถานที่เกิด | เมืองฮาร์ตเฟิร์ด รัฐคอนเนทิคัต |
วันตาย | 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551 |
สถานที่ตาย | เมืองวินด์เซอร์ล็อกส์ รัฐคอนเนทิคัต |
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
nay ehnri kustaf omilsn xngkvs Henry Gustav Molaison 26 kumphaphnth kh s 1926 2 thnwakhm kh s 2008 hruxthiruckknxyangkwangkhwangwa H M epnkhnikhkhwamcaesuxmchawxemriknphuidrbkartdsmxngklibkhmbdaninxxkthngsxngkhang khuxinswn 2 3 danhnakhxnghipopaekhmps parahippocampal cortex entorhinal cortex piriform cortex aelaxamikdala ephuxthicababdorkhlmchk epilepsy mikarsuksaekiywkblksnaxakarkhxngekhaxyangkwangkhwangtngaetplaypi kh s 1957 cnkrathngthungekhaesiychiwit krnikhxngekhamibthbasakhyinkarphthnathvsditang thixthibaykhwamsmphnthknkhxngkarthanganinsmxngaelakhwamca aelainkarphthnakhxngprasathcitwithyaechingprachan cognitive neuropsychology sungepnsakhakhxngcitwithyathimunghmayephuxcaekhaickhwamsmphnthrahwangokhrngsrangaelahnathikhxngsmxngkbkrabwnkarthangcitwithyaechphaaxyang ekhaidxasyxyuinsthanphyabalinemuxngwindesxrlxks sungepnthithimikarsuksapraedneruxngkhxngekhaxyangmakmayehnri kustaf omilsn Henry Gustav Molaison ekid26 kumphaphnth ph s 2469 kh s 1926 hartefird rthkhxnenthikhtesiychiwit2 thnwakhm kh s 2008 2008 12 02 82 pi windesxrlxks rthkhxnenthikhtmichuxesiyngcakkhnikhkhwamcaesuxmthiihkhxmulepncanwnmakekiywkbrabbkhwamcakhxngmnusy ruckknkxnesiychiwitwa khnikh H M smxngkhxngnayomilsnidrbekbrksaiwthimhawithyalyaekhlifxreniy aesndiexok sungmikartdepnswn ephuxkarsuksathangmiychwithyainwnthi 4 thnwakhm kh s 2009 khxmultang ekiywkbsmxngkhxngekhamikarepidihkbnkwicyxun aelwprawtihipopaekhmps hippocampus payxyudankhwa swnmakinsmxngthngsxngsikkhxngnayomilsnidrbkartdxxk nayehnri omilsnekidwnthi 26 kumphaphnth kh s 1926 ph s 2469 aelamiorkhlmchkthiaekimid intractable epilepsy thibangkhrngothswa ekidkhunephraaxubtiehtuckryanemuxekhaxayu 7 khwb txnaerk xubtiehtunibxkwaekidkhunthixayu 9 khwb aettxmaphayhlngidrbkaraekodymardakhxngkhnikh ekhaprasbpyhakarchkechphaaswn focal seizures epnewlahlaypi aelaidekid tonic clonic seizure hlaykhrnghlaykhrawhlngcakkhrbxayu 16 pi inpi kh s 1953 hmxidsngihekhaiphaprasathaephthy wileliyms bichechxr sokwill thiorngphyabalhartefirdephuxkarrksa n ph sokwillidkahndswnechphaakhxngsmxngthiepnaehlngkaenidkhxngkarchkkhuxsmxngklibkhmbdanin medial temporal lobe twyx MTL insmxngthngsxngsik aelaesnxwaihtd MTL xxkepnkarrksa inwnthi 25 singhakhm kh s 1953 mikarphatdsmxngklibkhmbdanininsiksmxngthngsxngrwmthngswnkhxnghipopaekhmpsaelaswnthixyuikl rwmthngxamikdalaaela entorhinal cortex swnthiehluxinhipopaekhmpstxmapraktwaimthanganephraawaenuxeyuxthiehluxpraman 2 s m ekidkarfx aelaephraawa entorhinal cortex thnghmdsungepnswnsakhythisngkhxmulipynghipopaekhmps thukthalayesiyhmd nxkcaknnaelw bangswnkhxngsmxngklibkhmbswnhnadankhang anterolateral kthukthalaydwy hlngcakkarphatd aemwacacdwasaerctamaephnephuxrangbxakarchk ekhaidekidphawaesiykhwamcaswnxnakht anterograde amnesia xyangrunaerng aelaaemwakhwamcaichngan working memory aelakhwamcaechingkrabwnwithi procedural memory khxngekhaimekidkhwamesiyhay ekhaimsamarthcaehtukarnihm sungepnhnathiswnhnungkhxngkhwamcachdaecng explicit memory id tamnkwithyasastrbangthan nayomilsnimsamarthekidkhwamruodykhwamhmay semantic knowledge ihm aetkminkwicyxun thithkethiyngknthungkhnadkhxbekhtkhxngkhwamphikarni ekhayngprasbpyhaphawaesiykhwamcaswnxdit retrograde amnesia aebbeba xikdwy khuxekhaimsamarthcaehtukarnodymakinchwng 1 2 pikxnkarphatd aelaimsamarcaehtukarnbangxyangipcnthung 11 pikxnkarphatd sungaesdngwaphawaesiykhwamcayxnhlngkhxngekhaepniptamladbewla aetwa khwamcaechingkrabwnwithirayayaw long term procedural memory imekidkhwamesiyhay dngnn ekhacungsamartheriynruthksakarekhluxnihw motor skill ihm id aemwacacaimidwaideriynmaemuxirthiihn inpi kh s 1957 n ph sokwillaelaebrnda milenxridraynganthungkrniniepnkhrngaerk inrayasudthaykhxngchiwitkhxngekha nayomilsnelnekmprisnaxksrikhwepnpraca ekhasamarththicaihkhatxbtxkhathamtang thixangxingkhwamrukhxngekhathiekidkhunkxnpi kh s 1953 swnkhxmulhlngpi kh s 1953 ekhasamarthetimepliynkhxmuleka dwykhxmulihm echn ekhasamarthsrangkhwamcaekiywkb n ph ocnas sxlk phukhnphbwkhsinopliox odyetimepliynkhwamcakhxngekhaekiywkborkhopliox nayomilsnidesiychiwitipinwnthi 2 thnwakhm kh s 2008 ph s 2551 khwamekhaicekiywkbkarsrangkhwamcanayomilsnmixiththiphlxyangyingimichephiyngaekhkhwamruthiekhaihekiywkbkhwamesiyhaytxkhwamcaaelaphawaesiykhwamca aetephraawa mikarphicarnawa karphatdthangsmxngodyechphaakhxngekhaidepidoxkasihsrangkhwamekhaicwa ekhttang odyechphaainsmxngmikhwamsmphnthkbkrabwnkarechphaatang thismmtiwaekidkhuninkarsrangkhwamcaxyangir ephraaehtuni krnikhxngekhaechuxknwa idihkhxmulthangphyathiwithyaekiywkbsmxng aelamiswnchwyinkarphthnathvsdiekiywkbkarsrangkhwamcathiepnpkti khuxodyechphaaeruxngaelw khwamsamarththipraktkhxngekhainkarthanganthitxngralukthungkhwamcarayasnaelakhwamcaechingkrabwnwithi procedural memory aelakhwamimsamarthcathanganthitxngralukthungkhwamcaxasyehtukarn episodic memory bxkepnnywa karralukthungkhwamcatang knechnnixaccamikarsux xyangnxykodybangswn odyekhtthitang kninsmxng aelaodynyediywkn khwamsamarthinkarralukthungkhwamcarayayawthimimakxnkarphatd kbkhwamimsamarthinkarsrangkhwamcarayayawihm bxkepnnywa karekharhsaelakarkhnkhunkhxmulinkhwamcarayayawxaccamikarsuxodyrabbtang kninsmxng xyangirkdi karsrangphaphinsmxngkhxngomilsninplaykhristthswrrs 1990 aesdngkhwamesiyhaythikwangkhwangekinkwathithvsdikxn idklawphadphing thaihyakmakthicarabuekhtidekhthnungodyechphaa hruxklumkhxngekhttang odyechphaa thisamarthxthibaythungkhwambkphrxngkhxngnayomilsnkhxngkhwythiihkbwithyasastrngansuksaekiywkbnayomilsnepnkarptiwtikhwamekhaicekiywkbraebiybaebbaephnkhxngrabbkhwamcainmnusy khuxidihhlkthanthikwangkhwanginkarptiesththvsdieka aelainkarsrangthvsdiihm odyechphaaxyangying ekiywkbkrabwnkaraelaokhrngsrangthangprasaththiepnthan inbthkhwamtxipni caklawthungkhwamekhaicsakhythiekidkhunphxepnokhrng smxngthirksakhxngnayomilsnidklayepnepahmaykarsuksathangkaywiphakhxyangthiimekhymimakxnodyidrbthunmacakmulnithidanaaelacakmulnithiwithyasastraehngchatishrthxemrika oprecktthimi dr caokhop aexnnis sungepnphuxanwykarkhxng The Brain Observatory 2009 04 20 thi ewyaebkaemchchin thimhawithyalyaekhlifxreniy sandiexok epnhwhnani cathakarsarwcinradbculthrrsnkhxngsmxngnayomilsnthnghmd ephuxthicaaesdngmulthanthangprasathkhxngkhwamesiyhaythangkhwamthrngcathipraktinprawtikhxngnayomilsninradbesll inwnthi 4 thnwakhm kh s 2009 khnakhxng dr aexnnisidphatdsmxngkhxngnayomilsnxxkepn 2 401 aephnepnaephnbang odymiaephnthiesiyhayephiyngaekhsxngaephn aelaaephnthixaccamipyhaxik 16 aephn aelakarsrangsmxngcalxng 3 miti kidesrcsinaelwintnpi kh s 2014 inpccubnklumnganwicykalngthanganrayathisxngtx phawaesiykhwamca xakarthw ipkhxngnayomilsnsamarthkahndidwa epnphawaesiykhwamcaswnxnakht anterograde amnesia thirunaerng aelamiphawaesiykhwamcaswnxditthimiradbtang kntamkalewla temporally graded retrograde amnesia nayomilsnimsamarthsrangkhwamcarayayawsahrbehtukarnhruxkhwamruodykhwamhmay semantic knowledge ihm khuxekhaidaetichchiwitthiepnipinpccubnethann enuxngcakwa nayomilsnimmikhwambkphrxngthangkhwamcakxnkarphatd dngnn kartdsmxngklibkhmbswninkhxngekhaxxkcungichepnkhaxthibaykhwambkphrxngthangkhwamcakhxngekha dngnn cungechuxknwa smxngklibkhmbswnin medial temporal lobe epnswnthimibthbathsakhyinkarsrangthng semantic memory aelakhwamcaxasyehtukarn episodic memory rayayaw khux smxngklibkhmbdaninidrbkarkahndwaepnsunykhxngkarekharhskhwamcaxasyehtukarn hlkthanxun thisnbsnukhwamkhidniekidinnganwicykhnikhxun thimirxyorkhinswntang khxngsmxngklibkhmbswnin aemwacamiphawaesiykhwamca nayomilsnsamarthphankarthdsxbthangechawnpyyaidinradbpkti sungaesdngwa hnathiekiywkbkhwamcabangxyang epntnwakhwamcarayasn khwamcaekiywkbkhasphth aelakhwamcaekiywkbphyangkh imekidkhwamesiyhayephraakarphatd aetwa inkarthakhwamekhaicaelakarichphasainradbpraoykh nayomilsnmikhwambkphrxngodykhwamsamarththikhngehluxmikhwambkphrxngkhlaykbinrabbkhwamca nayomilsnsamarththicacakhxmultang epnrayaewlasn trwcsxbidodykarthdsxbkhwamcaichnganthicatxngralukthungtwelkhthiaesdngihdumaaelw sungkhaaennkhxngekhakimidaeykwaklumkhwbkhum phlnganwicyniihhlkthanwa khwamcaichnganimtxngxasyokhrngsranginsmxngklibkhmbdanin sungksnbsnunkhwamaetktangodythw ipkhxngthiekbkhwamcarayasnaelakhwamcarayayaw karralukthungsphthtang idkhxngnayomilsnxyangimmipyhaaesdnghlkthanwa khwamcaekiywkbsphth lexical memory imtxngxasyokhrngsranginsmxngklibkhmbdanin kareriynruthksakarekhluxnihw nxkcakkhwamcaichnganaelaechawnpyyathiimesiyhaykhxngekhaaelw nganwicyekiywkbkhwamsamarthinkaridmasungthksakarekhluxnihwihm aesdngwakareriynruthksaihm nnimesiyhay innganwicyhnungkhxngmilenxrintnkhristthswrrs 1960 nayomilsneriynruthksakarwadrupodymxngengasathxninkrack nganwicykhxngkhxrkininpi kh s 1968 ephimphunhlkthanthiaesdngkhwamimesiyhaykhxngkareriynruthksaihm innganwicyni mikarthdsxbnayomilsninnganekiywkbkareriynruthksa 3 xyang phuaesdngkhwamsamarthinkareriynruthksakarekhluxnihwxyangsmburninnganthng 3 xyang nganwicythiichethkhnikh repetition priming aesdngkhwamsamarthinkarsrangkhwamcaodypriyay implicit memory sungimidxyuitxanaccitickhxngnayomilsn epriybethiybkbkarthiekhaimsamarthsrang semantic memory aelakhwamcaxasyehtukarn episodic memory ihmsungepnpraephthtang khxngkhwamcachdaecng explicit memory phlnganwicyehlaniihhlkthanwa khwamcaekiywkbthksaaela repetition priming xasyokhrngsrangthangprasaththitangcakkhwamcaekiywkbehtukarnaelakhwamcringtang khux aemwa khwamcaechingkrabwnwithiaela repetition priming caimxasysmxngklibkhmbdaninthithuktdxxkipinkrnikhxngnayomilsn aetwa aelakhwamcaxasyehtukarnyngtxngxasy khwamimsmphnthknrahwangkhwamcaodypriyayaelakhwamcachdaecngephraamiokhrngsrangprasaththiimsmphnthknthiehnidinkrnikhxngnayomilsn idepnkhxmulthichwyiheraekhaicrabbkhwamcainmnusy yktwxyangechn khwamcarayayawimichmiswnediywaetsamarthaeykxxkepnkhwamcaechingprakasaelakhwamcaaebbimprakas khwamcaodypriyay khwamcaechingphunthi tamkhakhxngkhxrkin nganwicyekiywkbsmrrthphaphkhwamcakhxngomilsnidihkhwamekhaicekiywkbokhrngsrangthangprasathkhxngkhwamcathangphunthi spatial memory aelakarpramwlkhxmulekiywkbphunthi aemekhaimsamarththicasrangkhwamcaxasyehtukarnhruxkhwamcaekiywkbkhwamcringihm odyrayayaw aelapraktkhwambkphrxnginkarthdsxbkhwamcathangphunthibangxyang nayomilsnkyngsamarththicawadaephnphngthilaexiydkhxngthixyukhxngekha singthiphbninasnicephraawaomilsnidyayekhaipxyuinbannn 5 pihlngcakkarphatd aeladngnn ephraaehtuphawaesiykhwamcaswnxnakht anterograde amnesia thirunaerngkhxngekha aelaephraakhwamekhaickhxngrabbkhwamcathiidinkrnixun singthikhadhmaykkhuxwa karsrangkhwamcaechingaephnthiphumilksnkhxngnayomilsnkhwrccaekidkhwamesiyhayipdwy khxrkinidkhadwa omilsn samarthsrangaephnthiechingprachankhxngaephnichphunthikhxngbankhxngekhaephraamikaripcakhxngsuhxngthuk wn 156 swninpraedneruxngokhrngsrangthangprasath khxrkin xangwa khwamsamarthkhxngnayomilsninkarsrangaephnichphunthi epnipidephraawa okhrngsrangkhxngekhruxkhayprasathinkarpramwlphunthiodyswnhnungkhxngekhaimmikhwamesiyhay echn swnhlngkhxng parahippocampal gyrus nxkcakkhwamcaekiywkbaephnthiphumilksnaelw omilsnyngsamartheriynrunganinkarcaaelarucaphaphtang aelanganrucaibhnakhxngkhnmichuxesiyng aetnganhlngepnipidktxemuxmikarihesiyngchwyodyphyangkh khwamsamarthkhxngnayomilsnekiywkbkarrucaphaphxacepnephraaswnthiimesiyhaykhxng perirhinal cortex danlang nxkcaknnaelw khxrkin yngyunynxikdwywa aemwaomilsncaimsamarthsrangkhwamcaechingprakasihmodythw ip aetekhayngduehmuxnkbsamarthsrangkhxmulbangxyangbangelknxythiimsmburnekiywkbbukhkhlsatharna echnsamarthkhnkhunchuxkhxngkhnmichuxesiyngemuxihtwchwy phlnganwicyehlaniaesdngthungkhwamsakhykhxngsmxngswnrxb hipopaekhmps extrahippocampal thiimesiyhaytxkhwamcaechingkhwamhmay semantic aelakhwamcaephuxkarruca recognition aelachwyesrimkhwamekhaicekiywkbkhwamptismphnthrahwangokhrngsrangtang insmxngklibkhmbdanin swnkhwamesiyhayxyangrunaerngkhxngomilsnekiywkbnganthangphunthibangxyangihhlkthanthiaesdngthungkhwamsmphnthrahwanghipopaekhmpskbkhwamcaodyphunthi spatial memory karthakhwamcaihmnkhng khwamruxikxyanghnungthinayomilsnidchwykkhuxokhrngsrangthangprasathkhxngkrabwnkarthakhwamcaihmnkhng memory consolidation inmnusy sungmihnathiinkarsrangkhwamcarayayawthimiesthiyrphaph khuxnayomilsnmiphawaesiykhwamcaswnxdit retrograde amnesia thiepniptamladbkalewla thiekha yngsamarthralukthungkhwamcainwyedkid aetmipyhainkarralukthungehtukarnthiekidkhuninchwngpikxn karphatd 214 khux khwamcaeka khxngekhaimmikhwamesiyhay aetwa khwamcakhxngpiikl kxnkarphatdmikhwamesiyhay niepnhlkthanthiaesdngwa khwamcaeka inwyedkimidxasysmxngklibkhmbswnin medial temporal lobe epriybethiybkbkhwamcahlngcaknnthipraktwatxngxasy okhrngsrangtang insmxngklibkhmbswninthithuktdxxk idrbsmmtiwamibthbathinkarthakhwamcaihmnkhngodywithithi karptismphnthrahwangsmxngklibkhmbswninaelaekhtepluxksmxngdankhangtang idrbkarphicarnawa epnkarbnthukkhwamcanxksmxngklibkhmbswnin odykarsrangxyangcha sungkarechuxmtxodytrng odyimphanhipopaekhmps rahwangekhtepluxksmxngtang thiepntwaethn khuxepnthibnthuk khxngprasbkarn 214 duephimfieniys phi ekc hwhnakrrmkrsrangthangrthifinkhriststwrrsthi 19 thimibukhkhlikphaphepliynipxyangsakhyhlngcakekidkarbadecbinkaohlksirsaechingxrrthaelaxangxingehnri kustaf omilsn hruxthiruckekuxbtlxdthngchiwitkhxngekhawa H M ephuxphithkskhwamswntwkhxngekha klayepnkhnikhthiidrbkarsuksamakthisudinprawtiwithyasastrsmxnghlngcakpi kh s 1953 emuxkarphatdsmxngechingthdlxngidthaihekhaimsamarthsrangkhwamcaechingprakasihm inewlathiekhamixayu 27 pi hlngcakthakarthdlxngelnekmaekpyhasa kn chayphusuyesiykhwamcaphunikideriynruthicaihkhatxbthithuktxng khunhmxskxtokidklawwa eraphbwaekhasamartheriynrukhxmulkhwamcringihm thaekhamixairinkhwamcaxyuaelwthicaichepntwchwyyudkhwamcaihm cak Benedict Carey December 6 2010 No Memory but He Filled In the Blanks New York Times subkhnemux 2008 12 05 inpi kh s 1953 ekhaidrbkarphatdsmxngechingthdlxnginemuxnghartefirdephuxaekpyhaekiywkbkarchk aetklbfunkhunmamikhwamepliynaeplngipxyangsinechingodyaekikhxairimid khux ekhaekidxakarthiprasathaephthyeriykwaphawaesiykhwamca amnesia xyangluksung klawkhux ekhaidsuyesiysmrrthphaphinkarsrangkhwamcaechingprakasihm cak Benedict Carey December 4 2008 H M an Unforgettable Amnesiac Dies at 82 New York Times subkhnemux 2008 12 05 tonic clonic seizure hrux grand mal seizure epnkarchkthwsmxngxyanghnung thiekidkhunkbkhnikhorkhlmchkaelaorkhthithaihekidkarchkxun odymak aetimichepnkarchkpraephthediywthimixyu epnkarchkthixacthaihekidkhunodycngicinkarrksaodyich electroconvulsion therapy phayitpyhachiwittang ehlani ekhaelnekmprisnatang etmhnngsux elmaelwelmela sungepnnisythiekhamitngaetepnedkwyrun inebuxngplaychiwitkhxngekha ekhaidekbsmudprisnaxksrikhwphrxmkbpakkaiwikl twtlxdewla intakrathitidxyuthixupkrnchwyedinkhxngekha cak The Man Who Couldn t Remember NOVA scienceNOW June 1 2009 subkhnemux 2010 12 09 xangxingSchaffhausen Joanna Henry Right Now The Day His World Stood Still BrainConnection com cakaehlngedimemux 2008 02 09 subkhnemux 2008 08 05 Arielle Levin Becker November 29 2009 The Hartford Courant khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 01 06 subkhnemux 2014 08 06 Scientists Digitize Psychology s Most Famous Brain Wired com Corkin Suzanne 1984 Lasting consequences of bilateral medial temporal lobectomy Clinical course and experimental findings in H M Seminars in Neurology New York NY Thieme Stratton Inc 4 4 249 259 doi 10 1055 s 2008 1041556 H Schmolck E A Kensinger S Corkin amp L Squire 2002 Semantic knowledge in Patient H M and other patients with bilateral medial and lateral temporal lobe lesions PDF Hippocampus 12 4 520 533 doi 10 1002 hipo 10039 PMID 12201637 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk William Beecher Scoville and Brenda Milner 1957 Loss of recent memory after bilateral hippocampal lesions Journal of Neurology Neurosurgery and Psychiatry 20 1 11 21 doi 10 1136 jnnp 20 1 11 PMC 497229 PMID 13406589 Corkin Susanna Amaral David G Gonzalez R Gilberto Johnson Keith A Hyman Bradley T 15 May 1997 H M s Medial Temporal Lobe Lesion Findings from Magnetic Resonance Imaging The Journal of Neuroscience 17 10 3 964 3 979 B Kolb and I Q Whishaw I Q 1996 Fundamentals of human neuropsychology 4th ed New York NY W H Freeman Moll Maryanne 2014 01 29 Henry Molaison s or HM brain digitized to show how amnesia affects the brain TechTimes subkhnemux 2014 02 08 Annese Jacopo khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2009 04 20 subkhnemux 2009 03 16 E E Smith and S M Kosslyn 2007 Cognitive Psychology Mind and Brain 1st ed Upper Saddle River NJ Pearson Prentice Hall ISBN 0 13 182508 9 S Corkin 2002 PDF Nature Reviews Neuroscience 3 2 153 160 doi 10 1038 nrn726 PMID 11836523 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2004 09 12 subkhnemux 2014 08 06 D G MacKay James L E J K Taylor amp Marian D E 2007 Amnesic H M exhibits parallel deficits and sparing in language and memory Systems versus binding theory accounts Language and Cognitive Processes 22 3 377 452 doi 10 1080 01690960600652596 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk S Corkin 1968 Acquisition of motor skill after bilateral medial temporal lobe excision Neuropsychologia 6 6 255 265 doi 10 1016 0028 3932 68 90024 9 M W Eysenck and M T Keane 2005 Cognitive Psychology A Student s Handbook 5th ed Hove UK Psychology Press ISBN 0 86377 375 3 aehlngkhxmulxunPhilip J Hilts 1996 Memory s Ghost New York Simon amp Schuster ISBN 0 684 82356 X Provides further discussion of the author s meetings with HM The Day His World Stood Still 2012 08 26 thi ewyaebkaemchchin Article on HM from Brain Connection H M s Brain and the History of Memory NPR Piece on HM H M an Unforgettable Amnesiac Dies at 82 New York Times obituary The Brain Observatory H M Blog 2010 08 26 thi ewyaebkaemchchin Live stream of the microtome slicing HM s brain HM The Man Who Couldn t Remember BBC Radio 4 documentary broadcast on 11 August 2010 and available soon on BBC iPlayer Features interviews with HM himself Dr Brenda Milner Professor Suzanne Corkin Dr Jacopo Annese and HM s carers wikiphiediy khxmulbukhkhl chux Hm chuxxun ehnri kustaf omilsnraylaexiydodyyxwnekid 26 kumphaphnth kh s 1926sthanthiekid emuxnghartefird rthkhxnenthikhtwntay 2 thnwakhm ph s 2551sthanthitay emuxngwindesxrlxks rthkhxnenthikht