สมองกลีบขมับ (อังกฤษ: Temporal lobe; lobus temporalis) ในทางประสาทกายวิภาคศาสตร์ เป็นส่วนของเปลือกสมองในซีรีบรัม อยู่บริเวณด้านข้างของสมอง ใต้ร่องด้านข้าง (lateral fissure) หรือร่องซิลเวียน (Sylvian fissure) ในซีกสมองทั้งสองข้างของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม หากมองสมองของมนุษย์ให้เหมือนนวมนักมวย สมองกลีบขมับเป็นส่วนของนิ้วโป้ง
สมองกลีบขมับ (Temporal lobe) | |
---|---|
ภาพตัดของสมองแสดงผิวด้านบนของสมองกลีบขมับ | |
รายละเอียด | |
ส่วนหนึ่งของ | ซีรีบรัม |
หลอดเลือดแดง | (Middle cerebral artery) (Posterior cerebral artery) |
ตัวระบุ | |
ภาษาละติน | lobus temporalis |
MeSH | D013702 |
125 | |
นิวโรเล็กซ์ ID | birnlex_1160 |
TA98 | A14.1.09.136 |
TA2 | 5488 |
FMA | 61825 |
[แก้ไขบนวิกิสนเทศ] |
สมองกลีบขมับมีหน้าที่เกี่ยวข้องกับ การประมวลความรู้สึกคือการเห็น การบันทึกความทรงจำใหม่ ๆ อารมณ์ความรู้สึก และการเข้าใจความหมาย: 21
นอกจากนั้นแล้ว สมองกลีบขมับยังมีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการได้ยิน เป็นที่อยู่ของ และสมองส่วนนี้ยังเกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ความหมาย (semantics) ทั้งในการพูดและการมองเห็น
หน้าที่
ความจำทางการเห็น
สมองกลีบขมับมีส่วนประกอบคือฮิปโปแคมปัสที่มีบทบาทสำคัญในการสร้างแบบชัดแจ้ง (explicit long-term memory) โดยมีอะมิกดะลาเป็นตัวควบคุม.: 349
การประมวลสัญญาณความรู้สึก
การได้ยิน
ส่วนที่ติดกันของส่วนบน ส่วนล่าง และส่วนข้างของสมองกลีบขมับมีบทบาทในการประมวลผลของการได้ยินระดับสูง สมองกลีบขมับมีความเกี่ยวข้องในการได้ยินปฐมภูมิ และประกอบด้วย (primary auditory cortex)
คอร์เทกซ์การได้ยินปฐมภูมิรับข้อมูลความรู้สึกมาจากหูทั้งสองข้าง และคอร์เทกซ์การได้ยินทุติยภูมิประมวลข้อมูลต่อไปให้เป็นหน่วยที่เข้าใจได้เช่นคำพูดรอยนูนกลีบขมับบน (superior temporal gyrus) มีเขตภายในร่องด้านข้างที่สัญญาณเสียงจากหูชั้นในรูปหอยโข่ง (cochlea) เดินทางมาถึงเป็นส่วนแรกในเปลือกสมอง แล้วคอร์เทกซ์การได้ยินปฐมภูมิของสมองกลีบขมับซีกซ้ายก็ประมวลสัญญาณนั้นต่อไป[]
การเห็น
เขตต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเห็นในสมองกลีบขมับทำหน้าที่ให้ความหมายกับตัวกระตุ้นทางตา และยังให้เกิดการรู้จำวัตถุ[] ส่วนด้านล่าง (ventral) ของคอร์เทกซ์กลีบขมับมีส่วนร่วมกับการประมวลผลระดับสูงของการเห็นตัวกระตุ้นที่ซับซ้อน เช่นรอยนูนรูปกระสวย (fusiform gyrus) มีส่วนใน และรอยนูนรอบฮิปโปแคมปัสมีส่วนในการรับรู้ทิวทัศน์ ส่วนด้านหน้าของสมองกลีบขมับ ซึ่งเป็นส่วนของทางสัญญาณด้านล่าง (ventral stream) ของระบบประมวลผลทางตา มีส่วนร่วมในการรับรู้ (perception) และการรู้จำ (recognition) วัตถุ
การเข้าใจภาษา
สมองกลีบขมับซีกซ้ายประกอบด้วย (primary auditory cortex) ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการประมวล (semantics) ทั้งในคำพูดและใน ของมนุษย์[]เขตเวอร์นิเกที่แผ่ขยายไปทั้งในสมองกลีบขมับและสมองกลีบข้าง มีบทบาทสำคัญในการเข้าใจคำพูด โดยทำงานร่วมกับ (Broca's area) ในสมองกลีบหน้า
กิจหน้าที่ของสมองกลีบขมับซีกซ้ายไม่จำกัดเพียงแค่การรับรู้ระดับต่ำเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงการรับรู้ระดับที่สูงยิ่งขึ้นไปเช่น การเข้าใจ การเรียกชื่อ และ (verbal memory) []
ความจำใหม่
สมองกลีบขมับส่วนใน (medial temporal lobe) ที่อยู่ใกล้ระนาบแบ่งซ้ายขวา (sagittal plane) ได้รับการสันนิษฐานว่ามีส่วนร่วมในการเข้ารหัสเชิงประกาศ (declarative long term memory): 194–199
สมองกลีบขมับส่วนในประกอบด้วยฮิปโปแคมปัส ซึ่งเป็นส่วนที่ขาดไม่ได้ในการบันทึกความทรงจำ ดังนั้น ความเสียหายที่เกิดขึ้นในบริเวณนี้อาจทำให้เกิดความเสียหายในการสร้างความทรงจำใหม่ ๆ และอาจนำไปสู่ (anterograde amnesia) โดยชั่วคราวหรือโดยถาวร: 194–199
สมองกลีบขมับส่วนใน
สมองกลีบขมับส่วนใน (อังกฤษ: medial temporal lobe) หรือ คอร์เทกซ์กลีบขมับส่วนใน ประกอบด้วยโครงสร้างต่าง ๆ ที่ขาดไม่ได้ใน หรือความจำเชิงประกาศ (Declarative memory) ความจำเชิงประกาศหรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ความจำชัดแจ้ง (Explicit memory) เป็นความทรงจำที่อยู่ใต้อำนาจจิตใจที่แบ่งออกเป็นความจำโดยความหมาย (semantic memory) คือความทรงจำของความจริงต่าง ๆ และความจำอาศัยเหตุการณ์ (episodic memory) คือความทรงจำของเหตุการณ์ต่าง ๆ: 194
โครงสร้างต่าง ๆ ของสมองกลีบขมับส่วนในที่ขาดไม่ได้สำหรับความจำระยะยาว รวมทั้งอะมิกดะลา ก้านสมอง และฮิปโปแคมปัส พร้อมกับเขตสมองรอบ ๆ คือ , Parahippocampal gyrus, และ : 196
ฮิปโปแคมปัสเป็นส่วนที่ขาดไม่ได้ในการสร้างความจำ (memory formation) ส่วนคอร์เทกซ์กลีบขมับส่วนในที่อยู่รอบ ๆ เป็นเขตที่สันนิษฐานว่า ขาดไม่ได้ในการบันทึกความจำ (memory storage): 21 นอกจากนั้นแล้วคอร์เทกซ์กลีบหน้าผากส่วนหน้า (prefrontal cortex) และคอร์เทกซ์สายตา ก็มีส่วนร่วมด้วยเกี่ยวกับความจำชัดแจ้ง: 21
งานวิจัยแสดงว่า รอยโรคในฮิปโปแคมปัสเขตเดียวของลิงนำไปสู่ความพิการที่จำกัด แต่ว่า รอยโรคอย่างกว้างขวางในทั้งฮิปโปแคมปัสและคอร์เทกซ์กลีบขมับส่วนในนำไปสู่ความพิการที่รุนแรง
ภาพอื่น ๆ
- สมองกลีบต่าง ๆ
- สมองมนุษย์มองจากด้านท้อง (ventral)
- ภาพตัดแนวกลางลำตัวแบ่งหน้าหลัง ผ่าน anterior cornua ของโพรงสมองด้านข้าง
- ภาพวาดแสดงความสัมพันธ์ของสมองและกะโหลกศีรษะ
- ทางสัญญาณด้านบน (สีเขียว) และ ทางสัญญาณด้านล่าง (สีม่วง) ในสมองกลีบขมับ
อ้างอิง
- "Temporal Lobe". Langbrain. Rice University. สืบค้นเมื่อ 2 January 2011.
- Smith; Kosslyn (2007). Cognitive Psychology: Mind and Brain. New Jersey: Prentice Hall. pp. 21, 194–199, 349.
- Schacter, Daniel L.; Gilbert, Daniel T.; Wegner, Daniel M. (2010). Psychology (2nd ed.). New York: Worth Publishers. ISBN .[]
- Sergent J, Ohta S, MacDonald B (Feb 1992). "Functional neuroanatomy of face and object processing. A positron emission tomography study". Brain. 115 (1): 15–36. doi:10.1093/brain/115.1.15. PMID 1559150.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - "A cortical representation of the local visual environment : Abstract : Nature". สืบค้นเมื่อ 2009-11-03.
- Poeppel D, Idsardi WJ, van Wassenhove V (March 2008). "Speech perception at the interface of neurobiology and linguistics". Philos. Trans. R. Soc. Lond., B, Biol. Sci. 363 (1493): 1071–86. doi:10.1098/rstb.2007.2160. PMC 2606797. PMID 17890189.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - การเข้ารหัสโดยรวม ๆ ก็คือ การแปลงข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบหนึ่ง ไปเป็นข้อมูลในอีกรูปแบบหนึ่ง ตัวอย่างเช่น เข้ารหัสเสียงดนตรีไปเป็นหลุมเล็ก ๆ บนซีดีที่ใช้เล่นเพลงนั้นได้
- ความจำเชิงประกาศ (Declarative memory) ซึ่งบางครั้งเรียกว่าความจำชัดแจ้ง (explicit memory) เป็นประเภทหนึ่งในสองประเภทของความจำระยะยาวของมนุษย์ เป็นความทรงจำที่สามารถระลึกได้ใต้อำนาจจิตใจเช่นเรื่องราวและความรู้ต่าง ๆ ส่วนความจำระยะยาวอีกอย่างหนึ่งเรียกว่า ความจำไม่ประกาศ (non-declarative memory) ซึ่งเป็นความทรงจำที่ไม่ได้อยู่ใต้อำนาจจิตใจเช่นทักษะต่าง ๆ มีการขี่จักรยานเป็นต้น
- ภาวะเสียความจำภายหน้า (anterograde amnesia) คือการสูญเสียความสามารถการสร้างความทรงจำใหม่ ๆ หลังจากเหตุการณ์ที่เป็นเหตุของภาวะเสียความจำ ซึ่งนำไปสู่ความไม่สามารถระลึกถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นบางส่วนหรือทั้งหมด ในขณะที่ความจำระยะยาวก่อนเหตุการณ์ที่เป็นเหตุของภาวะเสียความจำไม่มีความเสียหายอะไร
- Squire, LR; Stark, CE; Clark, RE (2004). "The medial temporal lobe" (PDF). Annual Review of Neuroscience. 27: 279–306. doi:10.1146/annurev.neuro.27.070203.144130. PMID 15217334.
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
- สมองกลีบขมับที่มหาวิทยาลัยไอดาโฮ
- The medial temporal lobe memory system 2008-05-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- H. M.’s Medial Temporal Lobe Lesion: Findings from Magnetic Resonance Imaging
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
smxngklibkhmb xngkvs Temporal lobe lobus temporalis inthangprasathkaywiphakhsastr epnswnkhxngepluxksmxnginsiribrm xyubriewndankhangkhxngsmxng itrxngdankhang lateral fissure hruxrxngsilewiyn Sylvian fissure insiksmxngthngsxngkhangkhxngstweliynglukdwynm hakmxngsmxngkhxngmnusyihehmuxnnwmnkmwy smxngklibkhmbepnswnkhxngniwopngsmxngklibkhmb Temporal lobe phaphtdkhxngsmxngaesdngphiwdanbnkhxngsmxngklibkhmbraylaexiydswnhnungkhxngsiribrmhlxdeluxdaedng Middle cerebral artery Posterior cerebral artery twrabuphasalatinlobus temporalisMeSHD013702125niworelks IDbirnlex 1160TA98A14 1 09 136TA25488FMA61825 aekikhbnwikisneths smxngklibkhmbmihnathiekiywkhxngkb karpramwlkhwamrusukkhuxkarehn karbnthukkhwamthrngcaihm xarmnkhwamrusuk aelakarekhaickhwamhmay 21 nxkcaknnaelw smxngklibkhmbyngmihnathiekiywkhxngkbkaridyin epnthixyukhxng aelasmxngswnniyngekiywkhxngkbkareriynrukhwamhmay semantics thnginkarphudaelakarmxngehnhnathikhwamcathangkarehn smxngklibkhmbmiswnprakxbkhuxhipopaekhmpsthimibthbathsakhyinkarsrangaebbchdaecng explicit long term memory odymixamikdalaepntwkhwbkhum 349 karpramwlsyyankhwamrusuk karidyin swnthitidknkhxngswnbn swnlang aelaswnkhangkhxngsmxngklibkhmbmibthbathinkarpramwlphlkhxngkaridyinradbsung smxngklibkhmbmikhwamekiywkhxnginkaridyinpthmphumi aelaprakxbdwy primary auditory cortex khxrethkskaridyinpthmphumirbkhxmulkhwamrusukmacakhuthngsxngkhang aelakhxrethkskaridyinthutiyphumipramwlkhxmultxipihepnhnwythiekhaicidechnkhaphudrxynunklibkhmbbn superior temporal gyrus miekhtphayinrxngdankhangthisyyanesiyngcakhuchninruphxyokhng cochlea edinthangmathungepnswnaerkinepluxksmxng aelwkhxrethkskaridyinpthmphumikhxngsmxngklibkhmbsiksaykpramwlsyyannntxip txngkarxangxing karehn ekhttang thiekiywkhxngkbkarehninsmxngklibkhmbthahnathiihkhwamhmaykbtwkratunthangta aelayngihekidkarrucawtthu txngkarxangxing swndanlang ventral khxngkhxrethksklibkhmbmiswnrwmkbkarpramwlphlradbsungkhxngkarehntwkratunthisbsxn echnrxynunrupkraswy fusiform gyrus miswnin aelarxynunrxbhipopaekhmpsmiswninkarrbruthiwthsn swndanhnakhxngsmxngklibkhmb sungepnswnkhxngthangsyyandanlang ventral stream khxngrabbpramwlphlthangta miswnrwminkarrbru perception aelakarruca recognition wtthu phaphekhluxnthikhxngsmxngklibkhmbsiksaykhxngmnusykarekhaicphasa smxngklibkhmbsiksayprakxbdwy primary auditory cortex sungepnswnsakhyinkarpramwl semantics thnginkhaphudaelain khxngmnusy txngkarxangxing ekhtewxrniekthiaephkhyayipthnginsmxngklibkhmbaelasmxngklibkhang mibthbathsakhyinkarekhaickhaphud odythanganrwmkb Broca s area insmxngklibhna kichnathikhxngsmxngklibkhmbsiksayimcakdephiyngaekhkarrbruradbtaethann aetyngrwmipthungkarrbruradbthisungyingkhunipechn karekhaic kareriykchux aela verbal memory txngkarxangxing khwamcaihm smxngklibkhmbswnin medial temporal lobe thixyuiklranabaebngsaykhwa sagittal plane idrbkarsnnisthanwamiswnrwminkarekharhsechingprakas declarative long term memory 194 199 smxngklibkhmbswninprakxbdwyhipopaekhmps sungepnswnthikhadimidinkarbnthukkhwamthrngca dngnn khwamesiyhaythiekidkhuninbriewnnixacthaihekidkhwamesiyhayinkarsrangkhwamthrngcaihm aelaxacnaipsu anterograde amnesia odychwkhrawhruxodythawr 194 199 smxngklibkhmbswninsmxngklibkhmbswnin xngkvs medial temporal lobe hrux khxrethksklibkhmbswnin prakxbdwyokhrngsrangtang thikhadimidin hruxkhwamcaechingprakas Declarative memory khwamcaechingprakashruxthieriykxikxyanghnungwa khwamcachdaecng Explicit memory epnkhwamthrngcathixyuitxanacciticthiaebngxxkepnkhwamcaodykhwamhmay semantic memory khuxkhwamthrngcakhxngkhwamcringtang aelakhwamcaxasyehtukarn episodic memory khuxkhwamthrngcakhxngehtukarntang 194 okhrngsrangtang khxngsmxngklibkhmbswninthikhadimidsahrbkhwamcarayayaw rwmthngxamikdala kansmxng aelahipopaekhmps phrxmkbekhtsmxngrxb khux Parahippocampal gyrus aela 196 hipopaekhmpsepnswnthikhadimidinkarsrangkhwamca memory formation swnkhxrethksklibkhmbswninthixyurxb epnekhtthisnnisthanwa khadimidinkarbnthukkhwamca memory storage 21 nxkcaknnaelwkhxrethksklibhnaphakswnhna prefrontal cortex aelakhxrethkssayta kmiswnrwmdwyekiywkbkhwamcachdaecng 21 nganwicyaesdngwa rxyorkhinhipopaekhmpsekhtediywkhxnglingnaipsukhwamphikarthicakd aetwa rxyorkhxyangkwangkhwanginthnghipopaekhmpsaelakhxrethksklibkhmbswninnaipsukhwamphikarthirunaerngphaphxun smxngklibtang smxngmnusymxngcakdanthxng ventral phaphtdaenwklanglatwaebnghnahlng phan anterior cornua khxngophrngsmxngdankhang phaphwadaesdngkhwamsmphnthkhxngsmxngaelakaohlksirsa thangsyyandanbn siekhiyw aela thangsyyandanlang simwng insmxngklibkhmbxangxing Temporal Lobe Langbrain Rice University subkhnemux 2 January 2011 Smith Kosslyn 2007 Cognitive Psychology Mind and Brain New Jersey Prentice Hall pp 21 194 199 349 Schacter Daniel L Gilbert Daniel T Wegner Daniel M 2010 Psychology 2nd ed New York Worth Publishers ISBN 9781429237192 txngkarelkhhna Sergent J Ohta S MacDonald B Feb 1992 Functional neuroanatomy of face and object processing A positron emission tomography study Brain 115 1 15 36 doi 10 1093 brain 115 1 15 PMID 1559150 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk A cortical representation of the local visual environment Abstract Nature subkhnemux 2009 11 03 Poeppel D Idsardi WJ van Wassenhove V March 2008 Speech perception at the interface of neurobiology and linguistics Philos Trans R Soc Lond B Biol Sci 363 1493 1071 86 doi 10 1098 rstb 2007 2160 PMC 2606797 PMID 17890189 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk karekharhsodyrwm kkhux karaeplngkhxmulthixyuinrupaebbhnung ipepnkhxmulinxikrupaebbhnung twxyangechn ekharhsesiyngdntriipepnhlumelk bnsidithiichelnephlngnnid khwamcaechingprakas Declarative memory sungbangkhrngeriykwakhwamcachdaecng explicit memory epnpraephthhnunginsxngpraephthkhxngkhwamcarayayawkhxngmnusy epnkhwamthrngcathisamarthralukiditxanacciticechneruxngrawaelakhwamrutang swnkhwamcarayayawxikxyanghnungeriykwa khwamcaimprakas non declarative memory sungepnkhwamthrngcathiimidxyuitxanacciticechnthksatang mikarkhickryanepntn phawaesiykhwamcaphayhna anterograde amnesia khuxkarsuyesiykhwamsamarthkarsrangkhwamthrngcaihm hlngcakehtukarnthiepnehtukhxngphawaesiykhwamca sungnaipsukhwamimsamarthralukthungehtukarnthiekidkhunepnbangswnhruxthnghmd inkhnathikhwamcarayayawkxnehtukarnthiepnehtukhxngphawaesiykhwamcaimmikhwamesiyhayxair Squire LR Stark CE Clark RE 2004 The medial temporal lobe PDF Annual Review of Neuroscience 27 279 306 doi 10 1146 annurev neuro 27 070203 144130 PMID 15217334 duephimklibsmxng smxng rxynunsmxngklibkhmbdanlang hipopaekhmpsaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb klibkhmb smxngklibkhmbthimhawithyalyixdaoh The medial temporal lobe memory system 2008 05 26 thi ewyaebkaemchchin H M s Medial Temporal Lobe Lesion Findings from Magnetic Resonance Imaging