บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
เอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์ (อังกฤษ: Edward Teller, มีชีวิตอยู่ระหว่าง 15 มกราคม ค.ศ. 1908 - 9 กันยายน ค.ศ. 2003) เป็นบิดาของระเบิดไฮโดรเจนที่ใช้ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันแทนปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชันในระเบิดนิวเคลียร์แบบดั้งเดิม
เอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์ | |
---|---|
Teller in 1958 as Director of the . | |
เกิด | 15 มกราคม ค.ศ. 1908 บูดาเปสต์, จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี (now ฮังการี) |
เสียชีวิต | กันยายน 9, 2003 (95 ปี) สแตนฟอร์ด, แคลิฟอร์เนีย, สหรัฐอเมริกา |
สัญชาติ | |
ศิษย์เก่า | |
มีชื่อเสียงจาก | |
คู่สมรส | Augusta Maria Harkanyi (1934–2000 (her death); two children) |
รางวัล |
|
อาชีพทางวิทยาศาสตร์ | |
สาขา | Physics (theoretical) |
สถาบันที่ทำงาน | |
อาจารย์ที่ปรึกษาในระดับปริญญาเอก | Werner Heisenberg |
ลูกศิษย์ในระดับปริญญาเอก | |
ลูกศิษย์ที่มีชื่อเสียงอื่น ๆ | |
ลายมือชื่อ | |
ประวัติ
เอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์ เกิดเมื่อวันที่ 15 มกราคม ค.ศ. 1908 ที่เมืองบูดาเปสต์ ในประเทศฮังการี บิดามีฐานะดี และมี ในช่วงเวลานั้นฮังการีกำลังมีความวุ่นวายมาก เพราะถูกยึดครองโดยออสเตรีย และถูกสงครามโลกครั้งที่หนึ่งทำลายจนผู้คนในประเทศแตกแยก แล้วถูกคอมมิวนิสต์คุกคามด้วยการเข้าครอบครอง นอกจากนี้รัฐบาลฮังการียังต่อต้านคนยิวด้วยการออกกฎหมายจำกัดจำนวนนักศึกษา เชื้อชาติยิวที่จะเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย (numerus clausus) ครอบครัวของเทลเลอร์ก็เช่นเดียวกับครอบครัวชาวยิวอื่นๆ ที่ต่างก็พยายามให้การศึกษาที่ดีแก่ลูกๆ เพื่อให้ไปเรียนต่อที่ประเทศเยอรมนี เพราะที่นั่นมีมาตรฐานและคุณภาพการศึกษาสูงกว่า โดยเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์ และภาษาเยอรมัน ขณะนั้น คือ ภาษาที่นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกใช้
เมื่ออายุ 18 ปี เทลเลอร์ได้เดินทางไปเรียนวิชาวิศวกรรมเคมีที่มหาวิทยาลัย Karlsruhe และวิชาฟิสิกส์ที่มหาวิทยาลัยมิวนิก เทลเลอร์ได้รับปริญญาเอกฟิสิกส์จากมหาวิทยาลัย Leipzig ในปี 1930 โดยมี Werner Heisenberg (รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ปี ค.ศ. 1932) เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา ขณะเรียนที่มิวนิก ในปี ค.ศ. 1928 เทลเลอร์ถูกรถรางแล่นทับเท้าขวาทำให้ต้องเข้ารับการผ่าตัด จนต้องมีไม้เท้าช่วยพยุงเวลาเดิน และเทลเลอร์จะใช้ไม้เท้ากระแทกพื้นทุกครั้งที่ต้องการเน้นให้ผู้คนสนใจฟังตนพูด
ชีวิตอาจารย์
หลังสำเร็จการศึกษา เทลเลอร์ได้งานเป็นอาจารย์ที่มหาวิทยาลัย Göttingen ในปี ค.ศ. 1933 เมื่อนาซีเรืองอำนาจในเยอรมนี เทลเลอร์ต้องอพยพออกนอกประเทศเป็นครั้งที่สอง โดยไม่มีจุดหมายในชีวิตที่แน่นอน รัฐบาลอังกฤษซึ่งมีนโยบายโอบอุ้มนักวิทยาศาสตร์ชาวยิวได้ช่วยให้เทลเลอร์เดินทางไป โคเปนเฮเกน เพื่อทำงานร่วมกับนีลส์ บอร์ แล้วไปลอนดอน จากนั้นได้เดินทางต่อไปสหรัฐอเมริกา ในปี ค.ศ. 1935 เพื่อเป็นอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยจอร์จ วอชิงตัน โดยการรับรองของ George Gamow
อพยพ
ในสมัยที่เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 เทลเลอร์ได้รู้จักกับ Leo Szilard ซึ่งเป็นชาวฮังการีอพยพเหมือนกัน สัมพันธภาพนี้ทำให้เทลเลอร์ได้งานทำในโครงการสร้างระเบิดปรมาณูของอเมริกา และความเก่งกล้าสามารถของเทลเลอร์ทำให้เขามีบทบาทสำคัญยิ่งขึ้นๆ ตามลำดับในโครงการแมนฮัตตัน แต่ก็ไม่ถึงระดับหัวหน้า เพราะเทลเลอร์มีนิสัยหลงตัวเอง และคิดว่าตนเองเก่งเหนือคนอื่นๆ อีกทั้งชอบอิจฉาผู้ที่บังคับบัญชาตน ซึ่งในที่นี้คือ J. Robert Oppenheimer
โครงการ Manhattan
การที่เทลเลอร์ได้ทุ่มเททำงานในโครงการแมนฮัตตันอย่างสุดตัวนั้น เพราะเขารู้สึกรักสหรัฐอเมริกา ทั้งๆ ที่ตนเป็นชาวฮังการีอพยพ และรู้ดีว่าการอยู่ใต้การปกครองของ และคอมมิวนิสต์นั้น ความเป็นอยู่ของผู้คนภายใต้การปกครองสองระบบนี้เป็นอย่างไร เทลเลอร์คิดว่าสหรัฐอเมริกาคือประเทศเดียวเท่านั้นที่จะสามารถคุ้มครองโลกให้รอดพ้นจากภัยคอมมิวนิสต์ได้ โดยการมีทั้งระเบิดปรมาณู และระเบิดไฮโดรเจน
ในปี ค.ศ. 1945 เทลเลอร์เป็นนักวิทยาศาสตร์คนหนึ่งที่คัดค้านการทิ้งระเบิดปรมาณูที่ฮิโรชิมา เขาต้องการให้ทิ้งระเบิดปรมาณูเหนือกรุงโตเกียว เพื่อให้คนญี่ปุ่นเห็นพลังงานในการทำลายล้างของระเบิดมหาประลัย และจะได้รู้สึกกลัว แล้วยอมแพ้สงคราม โดยไม่มีการสูญเสียชีวิตมากมาย แต่ Oppenheimer ผู้รับผิดชอบโครงการผลิตระเบิดไม่เห็นด้วย
หลังจากที่โลกประจักษ์ในอำนาจสังหารของระเบิดที่ฮิโรชิมาและนางาซากิ แล้ว Oppenheimer รู้สึกสำนึกผิดในบาปกรรมที่ได้ทำลงไป เขาจึงคัดค้านการสร้างระเบิดไฮโดรเจนที่จะมีอำนาจทำลายยิ่งกว่าระเบิดปรมาณู ดังนั้น Oppenheimer จึงขัดขวางเทลเลอร์ไม่ให้เดินหน้าสร้างระเบิดไฮโดรเจน
ขัดแย้งกับแฮร์รี ทรูแมน
ความขัดแย้งนี้ได้ทำให้ประธานาธิบดีแฮร์รี เอส. ทรูแมนมีความลำบากใจ เพราะไม่มั่นใจว่าควรอนุมัติให้อเมริกาสร้างระเบิดไฮโดรเจนหรือไม่ เพราะไม่รู้ว่าอาวุธมหาประลัยนี้จะมีประสิทธิภาพเพียงใด และมีคุณหรือโทษอย่างไร และตัวประธานาธิบดีเองรู้คณิตศาสตร์เพียงเพื่อใช้ในการซื้อของ สำหรับวิชากลศาสตร์ควอนตัมซึ่งเป็นวิชาจำเป็นในการสร้างระเบิดปรมาณูนั้น ทรูแมนไม่ได้รู้อะไรเกี่ยวกับวิชานี้เลย ถึงกระนั้นทรูแมนก็ตัดสินใจเชื่อเทลเลอร์ และได้อนุมัติให้เทลเลอร์เดินหน้าสร้างระเบิดไฮโดรเจนในฤดูใบไม้ร่วงปี ค.ศ 1949 เพราะรู้ข่าวว่ารัสเซียสามารถสร้างระเบิดปรมาณูได้แล้ว
ในช่วงเวลานั้นเทลเลอร์ได้กลับไปเป็นอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ และได้ลงมือหาเสียงจากบรรดาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของสหรัฐอเมริกาให้สนับสนุนโครงการสร้างระเบิดไฮโดรเจน ท่ามกลางเสียงต่อต้านจาก Oppenheimer เพราะเขาคิดว่าลำพังระเบิดปรมาณูก็สามารถทำให้ผู้คนล้มตายเป็นแสนแล้ว การสร้างระเบิดไฮโดรเจนจะทำลายมนุษยชาติอย่างไม่มีใครคาดฝัน โดยส่วนตัวเทเลอร์รู้สึกกตัญญูต่อ Oppenheimer ที่ให้งานทำในโครงการแมนฮัตตัน ทั้งๆที่เทลเลอร์มีญาติเป็นคอมมิวนิสต์ จึงทำให้เป็นบุคคลที่ไม่น่าไว้ใจ แต่ Oppenheimer ไม่เห็นด้วยกับการสร้างระเบิดไฮโดรเจน ซึ่งเทลเลอร์เห็นว่าเป็นความคิดที่ผิดมาก ข้อขัดแย้งนี้ทำให้กระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกาตั้งข้อกล่าวหา Oppenheimer ว่าเป็นคนทรยศต่อชาติ และในสมัยนั้นใครก็ตามที่คัดค้านแนวคิดของรัฐบาลเขาจะถูกตั้งข้อหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ ยิ่งเมื่อกองสอบสวนเอฟบีไอสืบรู้มาว่า Oppenheimer เป็นคนที่เห็นอกเห็นใจคนเอียงซ้าย และยังติดต่อกับพวกคอมมิวนิสต์ ศาลจึงสั่งสอบสวน Oppenheimer ทันที และศาลได้ถามเทลเลอร์ว่าไว้ใจ Oppenheimer อดีตเจ้านายเก่าเพียงใด หรือไม่ ซึ่งเทลเลอร์ก็ได้ตอบว่า เขาอยากเห็นโครงการระเบิดไฮโดรเจนดำเนินโดยบุคคลที่เขาเข้าใจ และไว้ใจมากกว่า Oppenheimer
การแถลงเช่นนี้ทำให้ Oppenheimer ถูกปลดออกจากตำแหน่งผู้อำนวยโครงการสร้างระเบิดไฮโดรเจน ถูกถอดถอนจากตำแหน่งที่ปรึกษาของ Atomic Energy Commission ของสหรัฐอเมริกา ในฐานะที่เป็นบุรุษอันตรายต่อความมั่นคงของชาติ และศาลสั่งไม่ให้ Oppenheimer ได้รับรู้ข้อมูลใดๆ ในการสร้างระเบิดไฮโดรเจน อีกเลย
การต่อต้าน Oppenheimer เช่นนี้ ทำให้เทลเลอร์มีศัตรูที่เป็นนักวิชาการมากมาย ส่วน Oppenheimer ได้จบชีวิตด้วยโรคมะเร็งในปี ค.ศ. 1967 ขณะอายุ 62 ปี
ในการสนับสนุนโครงการสร้างระเบิดไฮโดรเจนนั้นเทลเลอร์ได้ตอกย้ำว่าประเทศตะวันตกไม่ควรไว้ใจคอมมิวนิสต์ และควรมีระเบิดนิวเคลียร์ที่ทรงพลังยิ่งกว่าระเบิดปรมาณูเพื่อคุ้มครอง ถ้าไว้ใจคอมมิวนิสต์ ก็ไม่ควรมีระเบิดไฮโดรเจน แต่ถ้าไม่ไว้ใจก็ควรมี แต่เรื่องจะมีหรือไม่มีนั้นก็ควรดูตัวอย่างจากกรณีปี ค.ศ. 1939 ที่เทลเลอร์และ Leo Szilard ได้ขอร้องอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ให้เขียนจดหมายถึงประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ให้อนุมัติโครงการแมนฮัตตันเพื่อสร้างระเบิดปรมาณูให้ได้ก่อนเยอรมนี และระเบิดนี้ได้ทำให้ฝ่ายสัมพันธมิตรมีชัยชนะในสงครามโลกครั้งที่สองในที่สุด
หลังจากที่อเมริกาผลิตระเบิดไฮโดรเจนได้ อีก 2 ปีต่อมา รัสเซียก็ผลิตระเบิดไฮโดรเจนได้เช่นกัน และโลกก็ก้าวเข้าสู่ยุคสงครามเย็นระหว่างอเมริกากับรัสเซีย
ได้รับคำชื่นชมจากโรนัลด์ เรแกน
ในช่วงเวลาที่โรนัลด์ เรแกน เป็นประธานาธิบดีของสหรัฐนั้นเรแกนชื่นชมเทลเลอร์มาก และเทลเลอร์ก็ศรัทธาเรแกนมากเช่นกัน เพราะเขาคิดว่าเรแกนคือทูตที่ฟ้าได้ส่งมาปกป้องอารยธรรมตะวันตกให้ปลอดภัยจากพวกคอมมิวนิสต์ ดังนั้นเรแกนจึงเชื่อคำพูด และข้อเสนอแนะของที่ปรึกษาเทลเลอร์มาก เช่น เมื่อเทลเลอร์เอ่ยถึงการใช้เลเซอร์พลังงานสูงในการทำลายของรัสเซียที่บรรทุกระเบิดนิวเคลียร์ เรแกนผู้มีความรู้ทางคณิตศาสตร์น้อยกว่าทรูแมน(แฮร์รี เอส. ทรูแมน)แต่รู้เรื่องภาพยนตร์ด้านอวกาศดีกว่าก็ได้อนุมัติโครงการ Star Wars ทันที แต่ในที่สุดโครงการนี้ก็ต้องล้มไป เพราะอเมริกาต้องใช้เงินมหาศาล และเทคโนโลยีก็ยังไม่ได้รับการพัฒนาดีพอ แต่โครงการนี้ก็ได้ทำให้รัสเซียลงทุนมหาศาลเพื่อพัฒนาสงครามเลเซอร์ และการลงทุนที่มากเกินไป จึงส่งผลให้อาณาจักรรัสเซียต้องล่มสลายในเวลาต่อมา
ดังนั้นในปี ค.ศ. 1987 ที่ประธานาธิบดีเรแกนจัดงานเลี้ยงรับรองนายกรัฐมนตรี Mikhail Gorbachev ที่ทำเนียบขาวเรแกนได้แนะนำ Gorbachev ให้รู้จักเทลเลอร์ว่านี่คือ “The famous Dr. Teller” และ Gorbachev ก็ได้ตอบว่า “There are many Tellers” แล้วปฏิเสธที่จะจับมือกับเทลเลอร์
ผลงานทางฟิสิกส์ที่โดดเด่น
ในส่วนของผลงานฟิสิกส์ที่สำคัญของเทลเลอร์ คือ การศึกษาบทบาทของอิเล็กตรอน 1 ตัวในการเชื่อมโยงโปรตอน 2 ตัว ในโมเลกุลไฮโดรเจนที่แตกตัวเหลืออิเล็กตรอนตัวเดียว ซึ่งการศึกษานี้เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ระดับดุษฎีบัณฑิต หลังจากนั้นเทลเลอร์ได้ทำงานร่วมกับ Emil Jahn ในการอธิบายเส้นสเปกตรัมของ Benzene ในช่วงรังสีอัลตราไวโอเลตว่า เกิดจากการบิดเบี้ยวของโมเลกุล ซึ่งปรากฏการณ์นี้ เรียกว่า ปรากฏการณ์ Jahn-Teller นอกจากนี้ ก็ยังได้ศึกษาของธาตุกัมมันตรังสี โดยได้คำนึงถึงอันตรกริยาระหว่างสปิน (spin) ของ neutrino กับ สปิน (spin) ของนิวเคลียสที่สลายตัว จึงทำให้ทฤษฎีของ Fermi สมบูรณ์ยิ่งขึ้น เป็นต้น
ในด้านเกียรติยศเทลเลอร์ได้รับรางวัล Albert Einstein, รางวัล Enrico Fermi และเหรียญ National Medal of Science ซึ่งเป็นเกียรติสูงสุดที่รัฐบาลสหรัฐอเมริกาจะมอบให้แก่ประชาชน และได้รับ Presidential Medal of Freedom จากประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู. บุช เมื่อ 2 เดือนก่อนจะเสียชีวิต ในวันที่ 9 กันยายน ค.ศ. 2003 ด้วย โรคเส้นเลือดในสมองอุดตัน สิริอายุ 95 ปี ที่ Palo Atto ใน California
ณ วันนี้ วงการดาราศาสตร์ได้ตั้งชื่อ ดาวเคราะห์น้อย 5006 ว่าเทลเลอร์ และระลึกถึงเทลเลอร์ว่าถึงเขาจะเป็นคนที่ดำรงชีวิตอย่างเรียบง่าย ชอบเล่นเปียโน เทนนิส และปิงปอง ซึ่งเป็นกีฬาราคาถูก แต่เขาคือคนที่ชี้นำประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาในการทหาร เช่น ชักจูงให้อเมริกาลงทุนล้านล้านดอลลาร์สร้างอาวุธ สร้าง สนับสนุนโครงการ Strategic Defense Initiative (Star Wars) ที่ล้วนหมดสภาพไปแล้ว แต่เทลเลอร์ก็ไม่เสียใจ เพราะเขารู้ว่าความฟุ่มเฟือยเหล่านี้แหละที่ทำให้รัสเซีย ซึ่งเป็นศัตรูสำคัญของอเมริกาต้องล่มสลาย และนี่คือมรดกสำคัญชิ้นสุดท้ายที่เทลเลอร์ได้มอบให้สหรัฐอเมริกาก่อนจากไป
นิสัยส่วนตัว
ในด้านนิสัยส่วนตัว เทลเลอร์ เป็นคนที่ยึดมั่นในความคิดและความเชื่อของตน อีกทั้งชอบพูดความเชื่อเหล่านั้นอย่างเปิดเผย เขามองเหตุการณ์แทบทุกอย่างในลักษณะขาวหรือดำ และเป็นคนที่เข้าใจคำว่า “อำนาจ” ดี เพราะเขารู้ว่าประธานาธิบดีต่างๆ เชื่อในสิ่งที่เขาพูด ดังนั้น เขาจึงมีศัตรูทางการเมือง และวิชาการพอประมาณ เขาจึงกล่าวว่า คนที่มีศัตรูมาก คือคนที่มีอำนาจมาก ความยึดมั่นในตนเอง และอำนาจเช่นนี้ได้ทำให้ George Keyworth ผู้เป็นที่ปรึกษาของประธานาธิบดีโรนัลด์ เรแกนคิดว่าเทลเอร์เข้าใจเรื่องอำนาจดีจนสามารถเขียนเรื่อง The Prince ที่ Machiavelli เขียนได้ดีพอๆ กัน
การทำงานของระเบิดไฮโดรเจน
ภายในลูกระเบิดมีระเบิดแบบฟิชชั่นอยู่ด้านบน และตัวทำด้วยยูเรเนียม 238 ภายในเทมเปอร์คือ และแท่งแกนกลางทำจากพลูโตเนียม 239 ช่องว่างทั้งหมดอัดโฟม ขั้นตอนการระเบิดเป็นดังนี้
- ระเบิดแบบปฏิกิริยาฟิชชั่น ระเบิดขึ้น ให้รังสีเอกซ์ออกมา
- แรงดันและความร้อนจากรังสีเอกซ์ ทำให้เทมเปอร์หดตัว และไหม้ อัด
- ลิเทียม ดิวเทอเรท ถูกอัดทำให้ยุบตัวลงไป 30 เท่า
- แรงอัดตัวทำให้พลูโตเนียมเกิด ให้รังสีความร้อน และนิวตรอนออกมามากมาย
- นิวตรอนวิ่งไปที่ ลิเทียม ดิวเทอเรท และรวมกับลิเทียม ทำให้เกิดทริเทียม
- อุณภูมิและความดันที่สูงมาก เพียงพอที่จะทำให้ทริเทียมกับดิวทีเรียม หลอมรวมกัน เกิด ให้ความร้อนมหาศาลออกมา รวมทั้งนิวตรอนจำนวนมาก
- นิวตรอนที่ได้จะกระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาฟิวชั่นในเทมเปอร์อย่างต่อเนื่อง
- ระเบิดตูม
การทดลองครั้งแรกของระเบิดไฮโดรเจน
เมื่อเวลา 7 โมงเช้าของวันที่ 1 พฤศจิกายน ของ ค.ศ. 1952 สหรัฐอเมริกาได้ทิ้งระเบิดไฮโดรเจนลูกแรกของโลกบนเกาะ Elugelab ในมหาสมุทรแปซิฟิก ผู้ที่เห็นเหตุการณ์ในครั้งนั้น รายงานว่า พลังระเบิดได้ทำให้เกาะที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 กิโลเมตรจมหายไปในทะเล จึงนับว่าระเบิดลูกนี้รุนแรงยิ่งกว่าระเบิดปรมาณูที่เคยถล่มเมืองฮิโรชิมา เมื่อ ค.ศ. 1945 ถึง 500 เท่า 2 ปีต่อมา สหรัฐอเมริกาก็ประดิษฐ์ระเบิดไฮโดรเจนที่มีอานุภาพในการทำลายสูงยิ่งขึ้นไปอีก คราวนี้ได้ทดสอบที่ และหลังจากนั้นไม่นาน รัสเซีย อังกฤษ และฝรั่งเศส ก็มีระเบิดไฮโดรเจนในครอบครอง
อ้างอิง
- ; Henriksen, Paul W.; Meade, Roger A.; (1993). Critical Assembly: A Technical History of Los Alamos During the Oppenheimer Years, 1943–1945. New York: Cambridge University Press. ISBN . OCLC 26764320.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-08-05. สืบค้นเมื่อ 2014-03-03.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-08-28. สืบค้นเมื่อ 2014-03-03.
- Edward Teller (2451-2546)
แหล่งข้อมูลอื่น
- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ เอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixactxngkartrwcsxbtnchbb indaniwyakrn rupaebbkarekhiyn kareriyberiyng khunphaph hruxkarsakd khunsamarthchwyphthnabthkhwamid exdewird ethlelxr xngkvs Edward Teller michiwitxyurahwang 15 mkrakhm kh s 1908 9 knyayn kh s 2003 epnbidakhxngraebidihodrecnthiichptikiriyaniwekhliyrfiwchnaethnptikiriyaniwekhliyrfichchninraebidniwekhliyraebbdngedimexdewird ethlelxrTeller in 1958 as Director of the ekid15 mkrakhm kh s 1908 1908 01 15 budaepst ckrwrrdixxsetriy hngkari now hngkari esiychiwitknyayn 9 2003 2003 09 09 95 pi saetnfxrd aekhlifxreniy shrthxemrikasychatisisyekaUniversity of LeipzigmichuxesiyngcakkhusmrsAugusta Maria Harkanyi 1934 2000 her death two children rangwl 1975 1958 xachiphthangwithyasastrsakhaPhysics theoretical sthabnthithanganUniversity of GottingenUniversity College LondonUniversity of ChicagoUniversity of California DavisUniversity of California BerkeleyxacarythipruksainradbpriyyaexkWerner Heisenbergluksisyinradbpriyyaexkluksisythimichuxesiyngxun laymuxchuxprawtiexdewird ethlelxr ekidemuxwnthi 15 mkrakhm kh s 1908 thiemuxngbudaepst inpraethshngkari bidamithanadi aelami inchwngewlannhngkarikalngmikhwamwunwaymak ephraathukyudkhrxngodyxxsetriy aelathuksngkhramolkkhrngthihnungthalaycnphukhninpraethsaetkaeyk aelwthukkhxmmiwnistkhukkhamdwykarekhakhrxbkhrxng nxkcaknirthbalhngkariyngtxtankhnyiwdwykarxxkkdhmaycakdcanwnnksuksa echuxchatiyiwthicaekhasuksainmhawithyaly numerus clausus khrxbkhrwkhxngethlelxrkechnediywkbkhrxbkhrwchawyiwxun thitangkphyayamihkarsuksathidiaekluk ephuxihiperiyntxthipraethseyxrmni ephraathinnmimatrthanaelakhunphaphkarsuksasungkwa odyechphaadanwithyasastr aelaphasaeyxrmn khnann khux phasathinkwithyasastrthwolkich emuxxayu 18 pi ethlelxridedinthangiperiynwichawiswkrrmekhmithimhawithyaly Karlsruhe aelawichafisiksthimhawithyalymiwnik ethlelxridrbpriyyaexkfisikscakmhawithyaly Leipzig inpi 1930 odymi Werner Heisenberg rangwloneblsakhafisiks pi kh s 1932 epnxacarythipruksa khnaeriynthimiwnik inpi kh s 1928 ethlelxrthukrthrangaelnthbethakhwathaihtxngekharbkarphatd cntxngmiimethachwyphyungewlaedin aelaethlelxrcaichimethakraaethkphunthukkhrngthitxngkarennihphukhnsnicfngtnphudchiwitxacaryhlngsaerckarsuksa ethlelxridnganepnxacarythimhawithyaly Gottingen inpi kh s 1933 emuxnasieruxngxanacineyxrmni ethlelxrtxngxphyphxxknxkpraethsepnkhrngthisxng odyimmicudhmayinchiwitthiaennxn rthbalxngkvssungminoybayoxbxumnkwithyasastrchawyiwidchwyihethlelxredinthangip okhepnehekn ephuxthanganrwmkbnils bxr aelwiplxndxn caknnidedinthangtxipshrthxemrika inpi kh s 1935 ephuxepnxacarythimhawithyalycxrc wxchingtn odykarrbrxngkhxng George Gamowxphyphinsmythiekidsngkhramolkkhrngthi 2 ethlelxridruckkb Leo Szilard sungepnchawhngkarixphyphehmuxnkn smphnthphaphnithaihethlelxridnganthainokhrngkarsrangraebidprmanukhxngxemrika aelakhwamekngklasamarthkhxngethlelxrthaihekhamibthbathsakhyyingkhun tamladbinokhrngkaraemnhttn aetkimthungradbhwhna ephraaethlelxrminisyhlngtwexng aelakhidwatnexngekngehnuxkhnxun xikthngchxbxicchaphuthibngkhbbychatn sunginthinikhux J Robert Oppenheimerokhrngkar Manhattankarthiethlelxridthumeththanganinokhrngkaraemnhttnxyangsudtwnn ephraaekharusukrkshrthxemrika thng thitnepnchawhngkarixphyph aelarudiwakarxyuitkarpkkhrxngkhxng aelakhxmmiwnistnn khwamepnxyukhxngphukhnphayitkarpkkhrxngsxngrabbniepnxyangir ethlelxrkhidwashrthxemrikakhuxpraethsediywethannthicasamarthkhumkhrxngolkihrxdphncakphykhxmmiwnistid odykarmithngraebidprmanu aelaraebidihodrecn inpi kh s 1945 ethlelxrepnnkwithyasastrkhnhnungthikhdkhankarthingraebidprmanuthihiorchima ekhatxngkarihthingraebidprmanuehnuxkrungotekiyw ephuxihkhnyipunehnphlngnganinkarthalaylangkhxngraebidmhapraly aelacaidrusukklw aelwyxmaephsngkhram odyimmikarsuyesiychiwitmakmay aet Oppenheimer phurbphidchxbokhrngkarphlitraebidimehndwy hlngcakthiolkpracksinxanacsngharkhxngraebidthihiorchimaaelanangasaki aelw Oppenheimer rusuksanukphidinbapkrrmthiidthalngip ekhacungkhdkhankarsrangraebidihodrecnthicamixanacthalayyingkwaraebidprmanu dngnn Oppenheimer cungkhdkhwangethlelxrimihedinhnasrangraebidihodrecnkhdaeyngkbaehrri thruaemnkhwamkhdaeyngniidthaihprathanathibdiaehrri exs thruaemnmikhwamlabakic ephraaimmnicwakhwrxnumtiihxemrikasrangraebidihodrecnhruxim ephraaimruwaxawuthmhapralynicamiprasiththiphaphephiyngid aelamikhunhruxothsxyangir aelatwprathanathibdiexngrukhnitsastrephiyngephuxichinkarsuxkhxng sahrbwichaklsastrkhwxntmsungepnwichacaepninkarsrangraebidprmanunn thruaemnimidruxairekiywkbwichaniely thungkrannthruaemnktdsinicechuxethlelxr aelaidxnumtiihethlelxredinhnasrangraebidihodrecninvduibimrwngpi kh s 1949 ephraarukhawwarsesiysamarthsrangraebidprmanuidaelw inchwngewlannethlelxridklbipepnxacarythimhawithyalymhawithyalyaekhlifxreniy ebirkliy aelaidlngmuxhaesiyngcakbrrdasmachiksphaphuaethnrasdrkhxngshrthxemrikaihsnbsnunokhrngkarsrangraebidihodrecn thamklangesiyngtxtancak Oppenheimer ephraaekhakhidwalaphngraebidprmanuksamarththaihphukhnlmtayepnaesnaelw karsrangraebidihodrecncathalaymnusychatixyangimmiikhrkhadfn odyswntwethelxrrusukktyyutx Oppenheimer thiihnganthainokhrngkaraemnhttn thngthiethlelxrmiyatiepnkhxmmiwnist cungthaihepnbukhkhlthiimnaiwic aet Oppenheimer imehndwykbkarsrangraebidihodrecn sungethlelxrehnwaepnkhwamkhidthiphidmak khxkhdaeyngnithaihkrathrwngklaohmkhxngshrthxemrikatngkhxklawha Oppenheimer waepnkhnthrystxchati aelainsmynnikhrktamthikhdkhanaenwkhidkhxngrthbalekhacathuktngkhxhawaepnkhxmmiwnist yingemuxkxngsxbswnexfbiixsubrumawa Oppenheimer epnkhnthiehnxkehnickhnexiyngsay aelayngtidtxkbphwkkhxmmiwnist salcungsngsxbswn Oppenheimer thnthi aelasalidthamethlelxrwaiwic Oppenheimer xditecanayekaephiyngid hruxim sungethlelxrkidtxbwa ekhaxyakehnokhrngkarraebidihodrecndaeninodybukhkhlthiekhaekhaic aelaiwicmakkwa Oppenheimer karaethlngechnnithaih Oppenheimer thukpldxxkcaktaaehnngphuxanwyokhrngkarsrangraebidihodrecn thukthxdthxncaktaaehnngthipruksakhxng Atomic Energy Commission khxngshrthxemrika inthanathiepnburusxntraytxkhwammnkhngkhxngchati aelasalsngimih Oppenheimer idrbrukhxmulid inkarsrangraebidihodrecn xikely kartxtan Oppenheimer echnni thaihethlelxrmistruthiepnnkwichakarmakmay swn Oppenheimer idcbchiwitdwyorkhmaernginpi kh s 1967 khnaxayu 62 pi inkarsnbsnunokhrngkarsrangraebidihodrecnnnethlelxridtxkyawapraethstawntkimkhwriwickhxmmiwnist aelakhwrmiraebidniwekhliyrthithrngphlngyingkwaraebidprmanuephuxkhumkhrxng thaiwickhxmmiwnist kimkhwrmiraebidihodrecn aetthaimiwickkhwrmi aeteruxngcamihruximminnkkhwrdutwxyangcakkrnipi kh s 1939 thiethlelxraela Leo Szilard idkhxrxngxlebirt ixnsitnihekhiyncdhmaythungprathanathibdiaefrngklin di orsewltihxnumtiokhrngkaraemnhttnephuxsrangraebidprmanuihidkxneyxrmni aelaraebidniidthaihfaysmphnthmitrmichychnainsngkhramolkkhrngthisxnginthisud hlngcakthixemrikaphlitraebidihodrecnid xik 2 pitxma rsesiykphlitraebidihodrecnidechnkn aelaolkkkawekhasuyukhsngkhrameynrahwangxemrikakbrsesiyidrbkhachunchmcakornld eraekninchwngewlathiornld eraekn epnprathanathibdikhxngshrthnneraeknchunchmethlelxrmak aelaethlelxrksrththaeraeknmakechnkn ephraaekhakhidwaeraeknkhuxthutthifaidsngmapkpxngxarythrrmtawntkihplxdphycakphwkkhxmmiwnist dngnneraekncungechuxkhaphud aelakhxesnxaenakhxngthipruksaethlelxrmak echn emuxethlelxrexythungkarichelesxrphlngngansunginkarthalaykhxngrsesiythibrrthukraebidniwekhliyr eraeknphumikhwamruthangkhnitsastrnxykwathruaemn aehrri exs thruaemn aetrueruxngphaphyntrdanxwkasdikwakidxnumtiokhrngkar Star Wars thnthi aetinthisudokhrngkarniktxnglmip ephraaxemrikatxngichenginmhasal aelaethkhonolyikyngimidrbkarphthnadiphx aetokhrngkarnikidthaihrsesiylngthunmhasalephuxphthnasngkhramelesxr aelakarlngthunthimakekinip cungsngphlihxanackrrsesiytxnglmslayinewlatxma dngnninpi kh s 1987 thiprathanathibdieraekncdnganeliyngrbrxngnaykrthmntri Mikhail Gorbachev thithaeniybkhaweraeknidaenana Gorbachev ihruckethlelxrwanikhux The famous Dr Teller aela Gorbachev kidtxbwa There are many Tellers aelwptiesththicacbmuxkbethlelxrphlnganthangfisiksthioddedninswnkhxngphlnganfisiksthisakhykhxngethlelxr khux karsuksabthbathkhxngxielktrxn 1 twinkarechuxmoyngoprtxn 2 tw inomelkulihodrecnthiaetktwehluxxielktrxntwediyw sungkarsuksaniepnswnhnungkhxngwithyaniphnthradbdusdibnthit hlngcaknnethlelxridthanganrwmkb Emil Jahn inkarxthibayesnsepktrmkhxng Benzene inchwngrngsixltraiwoxeltwa ekidcakkarbidebiywkhxngomelkul sungpraktkarnni eriykwa praktkarn Jahn Teller nxkcakni kyngidsuksakhxngthatukmmntrngsi odyidkhanungthungxntrkriyarahwangspin spin khxng neutrino kb spin spin khxngniwekhliysthislaytw cungthaihthvsdikhxng Fermi smburnyingkhun epntn indanekiyrtiysethlelxridrbrangwl Albert Einstein rangwl Enrico Fermi aelaehriyy National Medal of Science sungepnekiyrtisungsudthirthbalshrthxemrikacamxbihaekprachachn aelaidrb Presidential Medal of Freedom cakprathanathibdicxrc dbebilyu buch emux 2 eduxnkxncaesiychiwit inwnthi 9 knyayn kh s 2003 dwy orkhesneluxdinsmxngxudtn sirixayu 95 pi thi Palo Atto in California n wnni wngkardarasastridtngchux dawekhraahnxy 5006 waethlelxr aelaralukthungethlelxrwathungekhacaepnkhnthidarngchiwitxyangeriybngay chxbelnepiyon ethnnis aelapingpxng sungepnkilarakhathuk aetekhakhuxkhnthichinaprathanathibdishrthxemrikainkarthhar echn chkcungihxemrikalngthunlanlandxllarsrangxawuth srang snbsnunokhrngkar Strategic Defense Initiative Star Wars thilwnhmdsphaphipaelw aetethlelxrkimesiyic ephraaekharuwakhwamfumefuxyehlaniaehlathithaihrsesiy sungepnstrusakhykhxngxemrikatxnglmslay aelanikhuxmrdksakhychinsudthaythiethlelxridmxbihshrthxemrikakxncakipnisyswntwindannisyswntw ethlelxr epnkhnthiyudmninkhwamkhidaelakhwamechuxkhxngtn xikthngchxbphudkhwamechuxehlannxyangepidephy ekhamxngehtukarnaethbthukxyanginlksnakhawhruxda aelaepnkhnthiekhaickhawa xanac di ephraaekharuwaprathanathibditang echuxinsingthiekhaphud dngnn ekhacungmistruthangkaremuxng aelawichakarphxpraman ekhacungklawwa khnthimistrumak khuxkhnthimixanacmak khwamyudmnintnexng aelaxanacechnniidthaih George Keyworth phuepnthipruksakhxngprathanathibdiornld eraeknkhidwaethlexrekhaiceruxngxanacdicnsamarthekhiyneruxng The Prince thi Machiavelli ekhiyniddiphx knkarthangankhxngraebidihodrecnphayinlukraebidmiraebidaebbfichchnxyudanbn aelatwthadwyyuereniym 238 phayinethmepxrkhux aelaaethngaeknklangthacakphluoteniym 239 chxngwangthnghmdxdofm khntxnkarraebidepndngni raebidaebbptikiriyafichchn raebidkhun ihrngsiexksxxkma aerngdnaelakhwamrxncakrngsiexks thaihethmepxrhdtw aelaihm xd liethiym diwethxerth thukxdthaihyubtwlngip 30 etha aerngxdtwthaihphluoteniymekid ihrngsikhwamrxn aelaniwtrxnxxkmamakmay niwtrxnwingipthi liethiym diwethxerth aelarwmkbliethiym thaihekidthriethiym xunphumiaelakhwamdnthisungmak ephiyngphxthicathaihthriethiymkbdiwthieriym hlxmrwmkn ekid ihkhwamrxnmhasalxxkma rwmthngniwtrxncanwnmak niwtrxnthiidcakratunihekidptikiriyafiwchninethmepxrxyangtxenuxng raebidtumkarthdlxngkhrngaerkkhxngraebidihodrecnemuxewla 7 omngechakhxngwnthi 1 phvscikayn khxng kh s 1952 shrthxemrikaidthingraebidihodrecnlukaerkkhxngolkbnekaa Elugelab inmhasmuthraepsifik phuthiehnehtukarninkhrngnn raynganwa phlngraebididthaihekaathimiesnphasunyklang 2 kiolemtrcmhayipinthael cungnbwaraebidluknirunaerngyingkwaraebidprmanuthiekhythlmemuxnghiorchima emux kh s 1945 thung 500 etha 2 pitxma shrthxemrikakpradisthraebidihodrecnthimixanuphaphinkarthalaysungyingkhunipxik khrawniidthdsxbthi aelahlngcaknnimnan rsesiy xngkvs aelafrngess kmiraebidihodrecninkhrxbkhrxngxangxing Henriksen Paul W Meade Roger A 1993 Critical Assembly A Technical History of Los Alamos During the Oppenheimer Years 1943 1945 New York Cambridge University Press ISBN 0521441323 OCLC 26764320 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2014 08 05 subkhnemux 2014 03 03 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2012 08 28 subkhnemux 2014 03 03 Edward Teller 2451 2546 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb exdewird ethlelxr