บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
เหตุการณ์จราจลในพนมเปญ พ.ศ. 2546 หรือชื่อทางการทหารว่า ปฏิบัติการโปเชนตง เริ่มต้นขึ้นเมื่อบทความในหนังสือพิมพ์กัมพูชาฉบับหนึ่งกล่าวหาอย่างผิด ๆ ว่านักการเมืองไทยคนหนึ่งอ้างว่าตนไปงานศพพ่อตัวเอาไม่ทันเพราะติดด่านตรวจคนเข้าเมืองกัมพูชาเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2546 สื่อสิ่งพิมพ์และสื่อวิทยุกัมพูชาอื่น ๆ ได้หยิบยกเอารายงานดังกล่าวและปลุกความรู้สึกชาตินิยมเพิ่มขึ้นไปอีกจนทำให้เกิดการจลาจลในพนมเปญเมื่อวันที่ 29 มกราคม ซึ่งสถานทูตไทยถูกเผาและมีการปล้นสะดมทรัพย์สินของธุรกิจไทยในกัมพูชา เหตุจลาจลดังกล่าวสะท้อนถึงความสัมพันธ์ในประวัติศาสตร์ที่ไม่แน่นอนระหว่างประเทศไทยและกัมพูชา ตลอดจนปัจจัยทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการเมืองที่พัวพันกับทั้งสองประเทศ
เหตุจลาจลในพนมเปญ พ.ศ. 2546 ปฏิบัติการโปเชนตง 1 | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
ไทย รัฐบาลกัมพูชา | ผู้ประท้วงชาวกัมพูชา | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
ทักษิณ ชินวัตร | “พิธา ลิ้มเจริญรัตน์” | ||||||
กำลัง | |||||||
หน่วยเสริม: เรือหลวงจักรีนฤเบศร4 ลำ | ผู้ประท้วง 1 |
เบื้องหลัง
ทางประวัติศาสตร์
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยและกัมพูชามีความไม่แน่นอนอย่างมาก สะท้อนภาพของการแบ่งการปกครองเป็นนครรัฐมากกว่ารัฐชาติ โดยนครรัฐเหล่านี้ผูกรวมเข้าด้วยกันโดยจักรวรรดิที่มีความสัมพันธ์ทางการเมือง การทหารและรัฐบรรณาการที่เข้มแข็งกว่า ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14 ศูนย์กลางอำนาจของไทยย้ายจากอาณาจักรสุโขทัย มายังอาณาจักรอยุธยาที่อยู่ทางตอนใต้ ในพื้นที่ซึ่งในอดีตเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิขะแมร์ ภัยคุกคามของอยุธยาที่มีต่อนครธมได้เพิ่มมากขึ้นเมื่ออำนาจของอยุธยาเริ่มแข็งแกร่ง และในคริสต์ศตวรรษที่ 15 นครธมก็ถูกตีแตกโดยกองทัพอยุธยา
ในหลายศตวรรษถัดมา กองทัพอยุธยาได้รุกล้ำเข้าไปในกัมพูชาอยู่หลายครั้ง ตลอดช่วงเวลาส่วนใหญ่ของคริสต์ศตวรรษที่ 19 กัมพูชาตอนเหนือ ซึ่งรวมไปถึงนครธม ได้เป็นรัฐบรรณาการที่ขึ้นตรงกับไทย ระดับความมีเอกราชของรัฐเหล่านี้ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์กับชนชั้นปกครองของไทย, กัมพูชาและผู้ล่าอาณานิคมฝรั่งเศส
พ.ศ. 2450 ไทยได้เสียดินแดนกัมพูชาตอนเหนือให้กับฝรั่งเศสเป็นครั้งแรก ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930 เหตุการณ์ดังกล่าวได้กลายมาเป็นพื้นฐานของคำกล่าวอ้างของรัฐบาลชาตินิยมว่าดินแดนดังกล่าวเป็น "ดินแดนที่สูญเสียไป" อันเป็นของประเทศไทยโดยชอบธรรม คำกล่าวอ้างดังกล่าวยังมีต่อไปจนกระทั่งคริสต์ทศวรรษ 1950
ทางเศรษฐกิจ
อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยที่สูงระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1980 และ 1990 ทำให้เศรษฐกิจไทยถือเป็นหนึ่งในเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตรงกันข้ามกับการปกครองภายใต้รัฐบาลเขมรแดงและสงครามกลางเมืองกัมพูชา ซึ่งยังทำให้กัมพูชายังอ่อนแอทางเศรษฐกิจ ผลที่ตามมาคือ ชาวไทยได้เข้าควบคุมเศรษฐกิจกัมพูชา ซึ่งก่อให้เกิดความไม่พอใจในหมู่ชาวกัมพูชา
ทางวัฒนธรรม
เมื่อเทียบกับกัมพูชาแล้ว ประเทศไทยมีประชากรสูงกว่ามากและเปิดรับเอาอิทธิพลตะวันตกเข้ามามากกว่าด้วย ปัจจัยดังกล่าวได้ทำให้ประเทศไทยมีอิทธิพลทางวัฒนธรรมต่อดนตรีและโทรทัศน์ของกัมพูชา ซึ่งทำให้ชาวกัมพูชาจำนวนมากเข้าใจว่าคนไทยเป็นพวกหยิ่งยโสและเหยียดเชื้อชาติต่อประเทศเพื่อนบ้านของตน
สาเหตุของการจลาจล
บทความในหนังสือพิมพ์กัมพูชา รัศมี อังกอร์ วันที่ 18 มกราคม มีเนื้อหากล่าวหาว่านักแสดงหญิงชาวไทย สุวนันท์ คงยิ่ง ได้กล่าวว่ากัมพูชาได้ขโมยนครวัดไปจากไทย และกล่าวว่าเธอจะไม่เดินทางมากัมพูชาจนกว่านครวัดจะกลับคืนเป็นของไทย บรรณาธิการของหนังสือพิมพ์ดังกล่าวได้อ้างแหล่งข้อมูลว่ามาจากเรื่องที่เขียนขึ้นโดยกลุ่มชาตินิยมเขมรผู้ซึ่งระบุว่าพวกเขามองเห็นสุวนันท์ทางโทรทัศน์ ไม่มีหลักฐานสนับสนุนการกล่าวอ้างของหนังสือพิมพ์ดังกล่าว และดูเหมือนว่ารายงานดังกล่าวเป็นข้อเท็จจริงที่ถูกแต่งขึ้นหรือเกิดขึ้นจากความเข้าใจผิดในสิ่งที่ตัวละครของสุวนันท์ได้กล่าวออกมา นอกจากนี้ ยังมีการระบุอีกว่า รายงานดังกล่าวมาจากกลุ่มคู่แข่งที่ต้องการสร้างความเสื่อมเสียแก่สุวนันท์ ผู้ซึ่ง "เป็นหน้าเป็นตา" ของบริษัทเครื่องสำอางแห่งหนึ่ง
รายงานดังกล่าวได้รับการหยิบยกขึ้นโดยวิทยุและสื่อตีพิมพ์เขมร ตลอดจนบทความของหนังสือพิมพ์รัศมี อังกอร์ได้รับการแจกจ่ายในโรงเรียน วันที่ 27 มกราคม นายกรัฐมนตรีกัมพูชา ฮุน เซน ได้ย้ำการกล่าวหานี้ และกล่าวว่าสุวนันท์ "ไม่มีค่าเทียบได้กับใบหญ้าใกล้กับเทวสถาน" วันที่ 28 มกราคม รัฐบาลกัมพูชาสั่งห้ามรายการโทรทัศน์ไทยทั้งหมดในประเทศ
เหตุจลาจล
วันที่ 29 มกราคม ผู้ก่อการจลาจลได้โจมตีสถานทูตไทยในพนมเปญ ซึ่งได้ส่งผลให้อาคารดังกล่าวถูกทำลาย ม็อบยังได้โจมตีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างของธุรกิจของคนไทย รวมทั้งการบินไทยและชินคอร์ป ซึ่งครอบครัวของทักษิณ ชินวัตรเป็นเจ้าของ ภาพถ่ายของชายชาวกัมพูชากำลังเผาพระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้สร้างความโกรธแค้นให้กับคนไทยจำนวนมาก มีการชุมนุมประท้วงนอกสถานทูตกัมพูชาในกรุงเทพมหานคร
ผู้รับผิดชอบสำหรับเหตุจลาจลดังกล่าวไม่แน่ชัด ฮุน เซ็น ถือว่าความล้มเหลวของรัฐบาลในการป้องกันเหตุจลาจลดังกล่าวเป็นเพราะ "ไร้สมรรถภาพ" และกล่าวว่าเหตุจลาจลดังกล่าวมีการปลุกปั่นยุยงโดย "กลุ่มหัวรุนแรง" ประธานสมัชชาแห่งชาติ เจ้านโรดม รณฤทธิ์ กล่าวอ้างว่า สม รังสี ผู้นำฝ่ายค้านได้อยู่เบื้องหลังเหตุโจมตีดังกล่าว ในขณะที่สม รังสี กล่าวว่าเขาพยายามป้องกันมิให้เกิดความรุนแรง
ในบริบทที่มีการข่มขู่และความรุนแรงที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องซึ่งได้รับการกระตุ้นจากฮุน เซ็น ในช่วงก่อนหน้าการเลือกตั้งใน พ.ศ. 2546 หลายคนจึงเชื่อว่าเหตุจลาจลดังกล่าวเป็นเพียงหนึ่งในกลยุทธ์เหล่านี้ที่ไม่อยู่ภายใต้การควบคุม
เหตุการณ์สืบเนื่อง
หลังจากเกิดการจลาจลขึ้น รัฐบาลไทยได้ส่งเครื่องบินทหารไปอพยพชาวไทย รวมไปถึงนักการทูตทั้งหมดออกจากกัมพูชา และขับนักการทูตกัมพูชาออกนอกประเทศเพื่อเป็นการตอบโต้ พร้อมกับสั่งปิดพรมแดนของประเทศที่ติดกับกัมพูชา แต่ก็ห้ามไม่ให้ผ่านเฉพาะชาวไทยและชาวกัมพูชาเท่านั้น ได้มีการเปิดพรมแดนอีกครั้งหนึ่งเมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2546 หลังจากรัฐบาลกัมพูชาจ่ายเงิน 6 ล้านเหรียญสหรัฐเป็นค่าชดเชยสำหรับสถานทูตไทยที่ถูกทำลายไป ในช่วงการชุมนุมประท้วงต่อต้านนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร ใน พ.ศ. 2549 นักการทูตไทยที่มีอิทธิพลหลายคน รวมทั้งอดีตเอกอัครราชทูตประจำสหประชาชาติ และอดีตเอกอัครราชทูตประจำเวียดนาม สุรพงษ์ ชัยนาม ได้กล่าวหาว่ามีการจ่ายค่าชดเชยจริงเพียงครึ่งเดียว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศได้ปฏิเสธข้อกล่าวหาดังกล่าว รัฐบาลกัมพูชายังได้ตกลงว่าจะชดเชยธุรกิจไทยที่ได้รับความเสียหายด้วย โดยจะมีการเจรจาแยกต่างหาก
ไม่นานหลังเกิดเหตุจลาจล มีการจับกุมครั้งใหญ่มากกว่า 150 คน ซึ่งได้รับการวิพากษ์วิจารณ์โดยกลุ่มสิทธิมนุษยชน โดยชี้ให้เห็นถึงความไม่ชอบมาพากลในกระบวนการและการปฏิเสธของทางการมิให้ดูสภาพที่คุมขังนักโทษ เจ้าของสถานีวิทยุบีไฮฟฟ์ มอม สุนันโธ และบรรณาธิการของรัศมี อังกอร์ ถูกจับกุมโดยไม่มีหมายศาล ถูกแจ้งข้อหายั่วยุให้ก่ออาชญากรรม ยั่วยุให้เกิดการแบ่งแยกและเผยแพร่ข้อมูลเท็จ ในภายหลัง ทั้งสองได้มีการประกันตัวออกไปและไม่มีการพิจารณาคดีหลังจากนั้น
อ้างอิง
- https://www.matichonweekly.com/column/article_644332
- "ย้อนอดีต! ปฏิบัติการโปเชนตง เมื่อกองทัพไทย เปิดปฏิบัติการช่วยคนไทยจากกัมพูชา". thaiarmedforce. 2021-01-29.
- Hun Sen blames radicals for anti-Thai riot[] Asian Tribune, 2003-01-30
- Thais cut links with Cambodia after riots The Guardian, 31 January 2003
- . Bangkok Post. March 30, 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-04-20. สืบค้นเมื่อ 2011-01-03.
- "Cambodian League for the Promotion and Defense of Human Rights". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-06-24. สืบค้นเมื่อ 2011-01-03.
- Attacks on the Press in 2003 - Cambodia UNHCR reports
- Human Rights Watch
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul ehtuclaclinphnmepy ph s 2546 khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir ehtukarncraclinphnmepy ph s 2546 hruxchuxthangkarthharwa ptibtikaropechntng erimtnkhunemuxbthkhwaminhnngsuxphimphkmphuchachbbhnungklawhaxyangphid wankkaremuxngithykhnhnungxangwatnipngansphphxtwexaimthnephraatiddantrwckhnekhaemuxngkmphuchaemuxeduxnmkrakhm ph s 2546 suxsingphimphaelasuxwithyukmphuchaxun idhyibykexarayngandngklawaelaplukkhwamrusukchatiniymephimkhunipxikcnthaihekidkarclaclinphnmepyemuxwnthi 29 mkrakhm sungsthanthutithythukephaaelamikarplnsadmthrphysinkhxngthurkicithyinkmphucha ehtuclacldngklawsathxnthungkhwamsmphnthinprawtisastrthiimaennxnrahwangpraethsithyaelakmphucha tlxdcnpccythangesrsthkic wthnthrrm aelakaremuxngthiphwphnkbthngsxngpraethsehtuclaclinphnmepy ph s 2546 ptibtikaropechntng 1wnthi29 30 mkrakhm ph s 2546sthanthithaxakasyannanachatiphnmepyphlnayphitha limecriyrtn esiychiwitcaksmenaniwekhliyrkhusngkhram ithy rthbalkmphuchaphuprathwngchawkmphuchaphubngkhbbychaaelaphunathksin chinwtr suryuthth culannth smtht xttannthn khngskdi wnthna thwiskdi osmapha faykmphucha etiy by phitha limecriyrtn kalngsi 130 ehxrkhiwlis 5 ekhruxng xlieniy ci 222 tarwckmphucha 600 nay hnwyesrim eruxhlwngckrinvebsr 4 laphuprathwng 1ebuxnghlngthangprawtisastr khwamsmphnthrahwangithyaelakmphuchamikhwamimaennxnxyangmak sathxnphaphkhxngkaraebngkarpkkhrxngepnnkhrrthmakkwarthchati odynkhrrthehlaniphukrwmekhadwyknodyckrwrrdithimikhwamsmphnththangkaremuxng karthharaelarthbrrnakarthiekhmaekhngkwa inchwngkhriststwrrsthi 14 sunyklangxanackhxngithyyaycakxanackrsuokhthy mayngxanackrxyuthyathixyuthangtxnit inphunthisunginxditekhyepnswnhnungkhxngckrwrrdikhaaemr phykhukkhamkhxngxyuthyathimitxnkhrthmidephimmakkhunemuxxanackhxngxyuthyaerimaekhngaekrng aelainkhriststwrrsthi 15 nkhrthmkthuktiaetkodykxngthphxyuthya inhlaystwrrsthdma kxngthphxyuthyaidruklaekhaipinkmphuchaxyuhlaykhrng tlxdchwngewlaswnihykhxngkhriststwrrsthi 19 kmphuchatxnehnux sungrwmipthungnkhrthm idepnrthbrrnakarthikhuntrngkbithy radbkhwammiexkrachkhxngrthehlaniimaennxnkhunxyukbkhwamsmphnthkbchnchnpkkhrxngkhxngithy kmphuchaaelaphulaxananikhmfrngess ph s 2450 ithyidesiydinaednkmphuchatxnehnuxihkbfrngessepnkhrngaerk inchwngkhristthswrrs 1930 ehtukarndngklawidklaymaepnphunthankhxngkhaklawxangkhxngrthbalchatiniymwadinaedndngklawepn dinaednthisuyesiyip xnepnkhxngpraethsithyodychxbthrrm khaklawxangdngklawyngmitxipcnkrathngkhristthswrrs 1950 thangesrsthkic xtrakaretibotthangesrsthkickhxngithythisungrahwangkhristthswrrs 1980 aela 1990 thaihesrsthkicithythuxepnhnunginesrsthkicthiaekhngaekrngthisudinexechiytawnxxkechiyngit trngknkhamkbkarpkkhrxngphayitrthbalekhmraedngaelasngkhramklangemuxngkmphucha sungyngthaihkmphuchayngxxnaexthangesrsthkic phlthitammakhux chawithyidekhakhwbkhumesrsthkickmphucha sungkxihekidkhwamimphxicinhmuchawkmphucha thangwthnthrrm emuxethiybkbkmphuchaaelw praethsithymiprachakrsungkwamakaelaepidrbexaxiththiphltawntkekhamamakkwadwy pccydngklawidthaihpraethsithymixiththiphlthangwthnthrrmtxdntriaelaothrthsnkhxngkmphucha sungthaihchawkmphuchacanwnmakekhaicwakhnithyepnphwkhyingyosaelaehyiydechuxchatitxpraethsephuxnbankhxngtnsaehtukhxngkarclaclbthkhwaminhnngsuxphimphkmphucha rsmi xngkxr wnthi 18 mkrakhm mienuxhaklawhawankaesdnghyingchawithy suwnnth khngying idklawwakmphuchaidkhomynkhrwdipcakithy aelaklawwaethxcaimedinthangmakmphuchacnkwankhrwdcaklbkhunepnkhxngithy brrnathikarkhxnghnngsuxphimphdngklawidxangaehlngkhxmulwamacakeruxngthiekhiynkhunodyklumchatiniymekhmrphusungrabuwaphwkekhamxngehnsuwnnththangothrthsn immihlkthansnbsnunkarklawxangkhxnghnngsuxphimphdngklaw aeladuehmuxnwarayngandngklawepnkhxethccringthithukaetngkhunhruxekidkhuncakkhwamekhaicphidinsingthitwlakhrkhxngsuwnnthidklawxxkma nxkcakni yngmikarrabuxikwa rayngandngklawmacakklumkhuaekhngthitxngkarsrangkhwamesuxmesiyaeksuwnnth phusung epnhnaepnta khxngbristhekhruxngsaxangaehnghnung rayngandngklawidrbkarhyibykkhunodywithyuaelasuxtiphimphekhmr tlxdcnbthkhwamkhxnghnngsuxphimphrsmi xngkxridrbkaraeckcayinorngeriyn wnthi 27 mkrakhm naykrthmntrikmphucha hun esn idyakarklawhani aelaklawwasuwnnth immikhaethiybidkbibhyaiklkbethwsthan wnthi 28 mkrakhm rthbalkmphuchasnghamraykarothrthsnithythnghmdinpraethsehtuclaclwnthi 29 mkrakhm phukxkarclaclidocmtisthanthutithyinphnmepy sungidsngphlihxakhardngklawthukthalay mxbyngidocmtithidinaelasingpluksrangkhxngthurkickhxngkhnithy rwmthngkarbinithyaelachinkhxrp sungkhrxbkhrwkhxngthksin chinwtrepnecakhxng phaphthaykhxngchaychawkmphuchakalngephaphrabrmchayalksnkhxngphrabathsmedcphraprminthrmhaphumiphlxdulyedch idsrangkhwamokrthaekhnihkbkhnithycanwnmak mikarchumnumprathwngnxksthanthutkmphuchainkrungethphmhankhr phurbphidchxbsahrbehtuclacldngklawimaenchd hun esn thuxwakhwamlmehlwkhxngrthbalinkarpxngknehtuclacldngklawepnephraa irsmrrthphaph aelaklawwaehtuclacldngklawmikarplukpnyuyngody klumhwrunaerng prathansmchchaaehngchati ecanordm rnvththi klawxangwa sm rngsi phunafaykhanidxyuebuxnghlngehtuocmtidngklaw inkhnathism rngsi klawwaekhaphyayampxngknmiihekidkhwamrunaerng inbribththimikarkhmkhuaelakhwamrunaerngthiekidkhunxyangtxenuxngsungidrbkarkratuncakhun esn inchwngkxnhnakareluxktngin ph s 2546 hlaykhncungechuxwaehtuclacldngklawepnephiynghnunginklyuththehlanithiimxyuphayitkarkhwbkhumehtukarnsubenuxnghlngcakekidkarclaclkhun rthbalithyidsngekhruxngbinthharipxphyphchawithy rwmipthungnkkarthutthnghmdxxkcakkmphucha aelakhbnkkarthutkmphuchaxxknxkpraethsephuxepnkartxbot phrxmkbsngpidphrmaednkhxngpraethsthitidkbkmphucha aetkhamimihphanechphaachawithyaelachawkmphuchaethann idmikarepidphrmaednxikkhrnghnungemuxwnthi 21 minakhm ph s 2546 hlngcakrthbalkmphuchacayengin 6 lanehriyyshrthepnkhachdechysahrbsthanthutithythithukthalayip inchwngkarchumnumprathwngtxtannaykrthmntrithksin chinwtr in ph s 2549 nkkarthutithythimixiththiphlhlaykhn rwmthngxditexkxkhrrachthutpracashprachachati aelaxditexkxkhrrachthutpracaewiydnam surphngs chynam idklawhawamikarcaykhachdechycringephiyngkhrungediyw rthmntriwakarkrathrwngkartangpraethsidptiesthkhxklawhadngklaw rthbalkmphuchayngidtklngwacachdechythurkicithythiidrbkhwamesiyhaydwy odycamikarecrcaaeyktanghak imnanhlngekidehtuclacl mikarcbkumkhrngihymakkwa 150 khn sungidrbkarwiphakswicarnodyklumsiththimnusychn odychiihehnthungkhwamimchxbmaphaklinkrabwnkaraelakarptiesthkhxngthangkarmiihdusphaphthikhumkhngnkoths ecakhxngsthaniwithyubiihff mxm sunnoth aelabrrnathikarkhxngrsmi xngkxr thukcbkumodyimmihmaysal thukaecngkhxhaywyuihkxxachyakrrm ywyuihekidkaraebngaeykaelaephyaephrkhxmulethc inphayhlng thngsxngidmikarprakntwxxkipaelaimmikarphicarnakhdihlngcaknnxangxinghttps www matichonweekly com column article 644332 yxnxdit ptibtikaropechntng emuxkxngthphithy epidptibtikarchwykhnithycakkmphucha thaiarmedforce 2021 01 29 Hun Sen blames radicals for anti Thai riot lingkesiy Asian Tribune 2003 01 30 Thais cut links with Cambodia after riots The Guardian 31 January 2003 Bangkok Post March 30 2006 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2006 04 20 subkhnemux 2011 01 03 Cambodian League for the Promotion and Defense of Human Rights khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 06 24 subkhnemux 2011 01 03 Attacks on the Press in 2003 Cambodia UNHCR reports Human Rights Watch