เลนส์ความโน้มถ่วง (อังกฤษ: gravitational lens) เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นกับแสงอันเดินทางมาจากแหล่งกำเนิดส่องสว่างไกลโพ้น (เช่น เควซาร์) แล้วเกิดการ "บิดโค้ง" เนื่องจากแรงดึงดูดของวัตถุมวลมาก (เช่น กระจุกดาราจักร) ที่อยู่ระหว่างแหล่งกำเนิดแสงกับผู้สังเกต เป็นปรากฏการณ์ที่หนึ่งที่ไอน์สไตน์ทำนายเอาไว้จากทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของเขา
โอเรสต์ ควอลสัน (Orest Chwolson) เป็นผู้แรกที่นำเสนอบทความวิชาการว่าด้วยปรากฏการณ์นี้ (ในปี ค.ศ. 1924) แต่ชื่อของไอน์สไตน์มักเป็นที่รู้จักเกี่ยวเนื่องกับปรากฏการณ์นี้มากกว่า เพราะได้ตีพิมพ์บทความอันมีชื่อเสียงที่อธิบายสาเหตุของปรากฏการณ์นี้ในปี ค.ศ. 1936
ฟริตซ์ ชวิกกี้ (Fritz Zwicky) ทำนายไว้เมื่อปี ค.ศ. 1937 ว่า ปรากฏการณ์นี้สามารถเกิดขึ้นได้โดยมีกระจุกดาราจักรทำตัวเป็นเสมือนเลนส์ความโน้มถ่วง แต่มีการค้นพบหลักฐานสนับสนุนเป็นครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1979 จากผลการสังเกตการณ์ "เควซาร์แฝด"
ภาพรวม
แรงโน้มถ่วงที่เกิดจากวัตถุมวลมาก (เช่น กระจุกดาราจักร หรือหลุมดำ) สามารถดึงดูดกาล-อวกาศ หรือทุกสิ่งที่อยู่ภายในได้ รวมถึงเส้นทางเดินของแสงที่มาจากแหล่งกำเนิดพื้นหลัง ทำให้เวลาที่แสงเดินทางมาถึงผู้สังเกตการณ์ผิดเพี้ยนไป ทั้งยังสามารถขยายหรือย่อภาพปรากฏของแหล่งกำเนิดพื้นหลังนั้นได้อีกด้วย
ลักษณะการย่อขยายจะแตกต่างจากเลนส์แสงตามปกติ กล่าวคือการบิดโค้งจะมีมากที่สุดเมื่อวัตถุเข้าใกล้ศูนย์กลางเลนส์ความโน้มถ่วง และบิดโค้งน้อยที่สุดเมื่ออยู่ห่างจากศูนย์กลางเลนส์ความโน้มถ่วง ผลสืบเนื่องจากคุณลักษณะนี้ ทำให้เลนส์ความโน้มถ่วงไม่มีจุดโฟกัสที่แน่ชัด แต่จะมีเส้นโฟกัสแทนที่ ถ้าหากว่าแหล่งกำเนิด วัตถุมวลมากที่ทำตัวเป็นเลนส์ กับผู้สังเกตการณ์ เรียงตัวกันอยู่เป็นเส้นตรง ผู้สังเกตจะมองเห็นแหล่งกำเนิดนั้นปรากฏเป็นภาพวงแหวนอยู่ด้านหลังวัตถุมวลมาก ปรากฏการณ์นี้มีการเอ่ยถึงเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1924 โดยนักฟิสิกส์ชาวเมืองเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ชื่อ ต่อมาได้รับการขยายความเพิ่มเติมโดยอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ในปี ค.ศ. 1936 ในการอ้างอิงวิชาการมักเรียกลักษณะปรากฏของภาพวงแหวนนี้ว่า "" (Einstein ring) เพราะควอลสันไม่ได้คาดการณ์ถึงผลลัพธ์จากการเกิดภาพรัศมีวงแหวน สำหรับแนวสังเกตการณ์อื่นที่ไม่เป็นเส้นตรง แหล่งกำเนิดแสงอาจกลายเป็นภาพเส้นโค้งอยู่รอบๆ เลนส์ ผู้สังเกตอาจมองเห็นภาพแหล่งกำเนิดแห่งเดียวนั้นกลายเป็นหลายๆ ภาพ จำนวนและรูปร่างของภาพที่ปรากฏขึ้นอยู่กับตำแหน่งระหว่างแหล่งกำเนิด เลนส์ และผู้สังเกต
ประวัติ
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ดูเพิ่ม
- เควซาร์แฝด[]
อ้างอิง
- "Accidental Astrophysicists" 2012-02-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Science News, 13 มิถุนายน 2008.
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
elnskhwamonmthwng xngkvs gravitational lens epnpraktkarnthiekidkhunkbaesngxnedinthangmacakaehlngkaenidsxngswangiklophn echn ekhwsar aelwekidkar bidokhng enuxngcakaerngdungdudkhxngwtthumwlmak echn kracukdarackr thixyurahwangaehlngkaenidaesngkbphusngekt epnpraktkarnthihnungthiixnsitnthanayexaiwcakthvsdismphththphaphthwipkhxngekha oxerst khwxlsn Orest Chwolson epnphuaerkthinaesnxbthkhwamwichakarwadwypraktkarnni inpi kh s 1924 aetchuxkhxngixnsitnmkepnthiruckekiywenuxngkbpraktkarnnimakkwa ephraaidtiphimphbthkhwamxnmichuxesiyngthixthibaysaehtukhxngpraktkarnniinpi kh s 1936 frits chwikki Fritz Zwicky thanayiwemuxpi kh s 1937 wa praktkarnnisamarthekidkhunidodymikracukdarackrthatwepnesmuxnelnskhwamonmthwng aetmikarkhnphbhlkthansnbsnunepnkhrngaerkemux kh s 1979 cakphlkarsngektkarn ekhwsaraefd phaphrwmkarbidokhngkhxngaesngcakaehlngkaenidthiiklmak aelaphanwtthumwlmak luksrsismaesdngthungtaaehnngpraktkhxngaehlngkaenidinsaytakhxngphusngekt esnsikhawaesdngthisthangkaredinthangkhxngaesngcakaehlngkaenidmayngphusngekt aerngonmthwngthiekidcakwtthumwlmak echn kracukdarackr hruxhlumda samarthdungdudkal xwkas hruxthuksingthixyuphayinid rwmthungesnthangedinkhxngaesngthimacakaehlngkaenidphunhlng thaihewlathiaesngedinthangmathungphusngektkarnphidephiynip thngyngsamarthkhyayhruxyxphaphpraktkhxngaehlngkaenidphunhlngnnidxikdwy lksnakaryxkhyaycaaetktangcakelnsaesngtampkti klawkhuxkarbidokhngcamimakthisudemuxwtthuekhaiklsunyklangelnskhwamonmthwng aelabidokhngnxythisudemuxxyuhangcaksunyklangelnskhwamonmthwng phlsubenuxngcakkhunlksnani thaihelnskhwamonmthwngimmicudofksthiaenchd aetcamiesnofksaethnthi thahakwaaehlngkaenid wtthumwlmakthithatwepnelns kbphusngektkarn eriyngtwknxyuepnesntrng phusngektcamxngehnaehlngkaenidnnpraktepnphaphwngaehwnxyudanhlngwtthumwlmak praktkarnnimikarexythungepnkhrngaerkinpi kh s 1924 odynkfisikschawemuxngesntpietxrsebirk chux txmaidrbkarkhyaykhwamephimetimodyxlebirt ixnsitn inpi kh s 1936 inkarxangxingwichakarmkeriyklksnapraktkhxngphaphwngaehwnniwa Einstein ring ephraakhwxlsnimidkhadkarnthungphllphthcakkarekidphaphrsmiwngaehwn sahrbaenwsngektkarnxunthiimepnesntrng aehlngkaenidaesngxacklayepnphaphesnokhngxyurxb elns phusngektxacmxngehnphaphaehlngkaenidaehngediywnnklayepnhlay phaph canwnaelaruprangkhxngphaphthipraktkhunxyukbtaaehnngrahwangaehlngkaenid elns aelaphusngektprawtiswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidduephimekhwsaraefd lingkesiy xangxing Accidental Astrophysicists 2012 02 16 thi ewyaebkaemchchin Science News 13 mithunayn 2008 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb elnskhwamonmthwng bthkhwamfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk