เนเมียวสีหตู (พม่า: နေမျိုးစည်သူ, ออกเสียง: [nè mjó sìθù]) นับเป็นผู้ชำนาญการรบแบบจรยุทธที่เก่งกาจที่สุดผู้หนึ่งของพม่า โดยพระเจ้ามังระเห็นถึงความสามารถในด้านนี้ของเขา และเลือกใช้งานเขาเพื่อก่อกวนแนวหลังของต้าชิง ซึ่งเนเมียวสีหตูก็สามารถทำผลงานได้เป็นอย่างดี จนทำให้กองทัพต้าชิงต้องลำบากทุกครั้งที่เจอเขา เนเมียวสีหตูนับเป็นอีกหนึ่งหัวใจสำคัญที่อยู่เบื้องหลังชัยชนะทุกครั้งของพม่า และทุกความพ่ายของต้าชิงจะต้องมีเขาอยู่ด้วยตลอด
เนเมียวสีหตู နေမျိုးစည်သူ | |
---|---|
เกิด | หุบเขามู, อาณาจักรตองอู |
รับใช้ | ราชวงศ์โก้นบอง |
แผนก/ | กองทัพอาณาจักรพม่า |
ประจำการ | พ.ศ. 2308–2312 |
ชั้นยศ | แม่ทัพ |
การยุทธ์ | สงครามก่อตั้งราชวงศ์โก้นบอง (พ.ศ. 2295–2302) สงครามจีน-พม่า (พ.ศ. 2308–2312) |
ปกป้องกรุงอังวะ
พระเจ้ามังระได้แต่งตั้งเขาให้เป็นผู้รับศึกกับต้าชิง จากการรุกรานในครั้งที่หนึ่งปี (พ.ศ. 2308–09) และครั้งที่สองระหว่างปี (พ.ศ. 2309–10) ซึ่งเนเมียวสีหตูได้แสดงความสามารถด้านจรยุทธของเขาให้เป็นที่ประจักษ์ สามารถคำนวณเวลาการซุ่มโจมตีได้อย่างแม่นยำ ประกอบความชำนาญในภูมิประเทศ ทำให้การโจมตีในเวลากลางคืนของเขามีประสิทธิภาพ จนกองทัพต้าชิงต้องคอยพะวงหลังทุกครั้งที่เจอเขา อีกทั้งยังสามารถประสานงานกับบาลามินดินได้เป็นอย่างดี ทำให้กองทัพต้าชิงที่บุกมาในครั้งที่หนึ่งและสองนั้นพ่ายแพ้กลับไป
ผู้อยู่เบื้องหลังชัยชนะ
ส่วนในการบุกครั้งที่ 3 และ 4 ของต้าชิงนั้น เขาอยู่ภายใต้สังกัดของอะแซหวุ่นกี้แม่ทัพใหญ่ของพระเจ้ามังระ โดยอะแซหวุ่นกี้มักจะให้เขาทำหน้าที่หาเสบียงฝ่ายตรงข้ามเพื่อทำลาย และหายเข้าป่าซึ่งเป็นการรบแบบที่เขาถนัด เนเมียวสีหตูนับเป็นแม่ทัพฝีมือดีอีกคนของราชวงศ์โก้นบองที่มีบทบาทสำคัญต่อชัยชนะในการศึกทุกครั้งของพม่า
กองกำลังพิเศษแห่งอังวะ
โดยเฉพาะการบุกครั้งที่ 3 ของจีนนั้นสร้างความลำบากให้แก่กองทัพพม่าเป็นอย่างมาก เนื่องจากหมิงรุ่ยเป็นผู้เจนจบในพิชัยสงครามเขาเคลื่อนกองทัพอย่างระมัดระวังตลอดการทำศึก นั้นทำให้แม้แต่อะแซหวุ่นกี้เองก็ยากที่จะใช้กลอุบายเอาชนะเขาได้ ในขณะนั้นเองพระเจ้ามังระได้ตัดสินใจ ส่งกองกำลังพิเศษของพระองค์ออกไปทัพหนึ่ง นำโดยเนเมียวสีหตู, เต็งจามินกองมีจุดประสงค์เพื่อทำสงครามกองโจรกับหมิงรุ่ย ซึ่งทั้ง2 ก็สามารถทำผลงานได้อย่างน่าทึ่ง แม้เขาจะมีกองทัพไม่ถึง1พันนาย แต่ก็สามารถปั่นป่วนกองทัพนับหมื่นของหมิ่งรุ่ยจนไม่สามารถเคลื่อนที่ได้สะดวก อีกทั้งยังสามารถตัดกำลังบำรุงของฝ่ายจีนที่ส่งมากจากแสนหวีได้อย่างมีประสิทธิภาพ จนกองทัพของหมิงรุ่ยที่บุกลึกเข้ามาเริ่มอดอาหาร นั้นทำให้ผลของสงครามเริ่มเปลี่ยนไป ชื่อเสียงของเนเมียวสีหตู, เตงจามินกอง และพระเจ้ามังระที่พลิกสถานการณ์ให้ฝ่ายอังวะในครั้งนั้นจึงเป็นที่เลื่องลือขึ้นมา ก่อนที่อะแซหวุ่นกี้และพระเจ้ามังระจะรวมกำลังกันเผด็จศึกต้าชิงได้อย่างเด็ดขาดในยุทธการเมเมียว
บั้นปลาย
เนเมียวสีหตูเป็นอีกหนึ่งขุนพลเอกของพระเจ้ามังระ ที่ถูกปลดทิ้งจากตำแหน่งหลังการสวรรคตของพระองค์ พร้อมๆกับอะแซหวุ่นกี้, เนเมียวสีหบดี และหายไปจากหน้าประวัติศาสตร์ของพม่า บ้างก็ว่าถูกประหารทิ้งหลังจากถูกถอดยศได้ไม่นาน
อ้างอิง
- Kyaw Thet (1962). History of Burma (in Burmese). Yangon: University of Rangoon Press. pp. 310–318.
- Jump up ^ Lt. Gen. Sir Arthur P. Phayre (1883). History of Burma (1967 ed.). London: Susil Gupta. pp. 194–199.
- Htin Aung, Maung (1967). A History of Burma. New York and London: Cambridge University Press.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
enemiywsihtu phma န မ စည သ xxkesiyng ne mjo si8u nbepnphuchanaykarrbaebbcryuthththiekngkacthisudphuhnungkhxngphma odyphraecamngraehnthungkhwamsamarthindannikhxngekha aelaeluxkichnganekhaephuxkxkwnaenwhlngkhxngtaching sungenemiywsihtuksamarththaphlnganidepnxyangdi cnthaihkxngthphtachingtxnglabakthukkhrngthiecxekha enemiywsihtunbepnxikhnunghwicsakhythixyuebuxnghlngchychnathukkhrngkhxngphma aelathukkhwamphaykhxngtachingcatxngmiekhaxyudwytlxdenemiywsihtu န မ စည သ ekidhubekhamu xanackrtxngxurbichrachwngsoknbxngaephnk wbr sngkdkxngthphxanackrphmapracakarph s 2308 2312chnysaemthphkaryuththsngkhramkxtngrachwngsoknbxng ph s 2295 2302 sngkhramcin phma ph s 2308 2312 pkpxngkrungxngwaphraecamngraidaetngtngekhaihepnphurbsukkbtaching cakkarrukraninkhrngthihnungpi ph s 2308 09 aelakhrngthisxngrahwangpi ph s 2309 10 sungenemiywsihtuidaesdngkhwamsamarthdancryuththkhxngekhaihepnthipracks samarthkhanwnewlakarsumocmtiidxyangaemnya prakxbkhwamchanayinphumipraeths thaihkarocmtiinewlaklangkhunkhxngekhamiprasiththiphaph cnkxngthphtachingtxngkhxyphawnghlngthukkhrngthiecxekha xikthngyngsamarthprasanngankbbalamindinidepnxyangdi thaihkxngthphtachingthibukmainkhrngthihnungaelasxngnnphayaephklbipphuxyuebuxnghlngchychnaswninkarbukkhrngthi 3 aela 4 khxngtachingnn ekhaxyuphayitsngkdkhxngxaaeshwunkiaemthphihykhxngphraecamngra odyxaaeshwunkimkcaihekhathahnathihaesbiyngfaytrngkhamephuxthalay aelahayekhapasungepnkarrbaebbthiekhathnd enemiywsihtunbepnaemthphfimuxdixikkhnkhxngrachwngsoknbxngthimibthbathsakhytxchychnainkarsukthukkhrngkhxngphma kxngkalngphiessaehngxngwa odyechphaakarbukkhrngthi 3 khxngcinnnsrangkhwamlabakihaekkxngthphphmaepnxyangmak enuxngcakhmingruyepnphuecncbinphichysngkhramekhaekhluxnkxngthphxyangramdrawngtlxdkarthasuk nnthaihaemaetxaaeshwunkiexngkyakthicaichklxubayexachnaekhaid inkhnannexngphraecamngraidtdsinic sngkxngkalngphiesskhxngphraxngkhxxkipthphhnung naodyenemiywsihtu etngcaminkxngmicudprasngkhephuxthasngkhramkxngocrkbhmingruy sungthng2 ksamarththaphlnganidxyangnathung aemekhacamikxngthphimthung1phnnay aetksamarthpnpwnkxngthphnbhmunkhxnghmingruycnimsamarthekhluxnthiidsadwk xikthngyngsamarthtdkalngbarungkhxngfaycinthisngmakcakaesnhwiidxyangmiprasiththiphaph cnkxngthphkhxnghmingruythibuklukekhamaerimxdxahar nnthaihphlkhxngsngkhramerimepliynip chuxesiyngkhxngenemiywsihtu etngcaminkxng aelaphraecamngrathiphliksthankarnihfayxngwainkhrngnncungepnthieluxngluxkhunma kxnthixaaeshwunkiaelaphraecamngracarwmkalngknephdcsuktachingidxyangeddkhadinyuththkarememiywbnplayenemiywsihtuepnxikhnungkhunphlexkkhxngphraecamngra thithukpldthingcaktaaehnnghlngkarswrrkhtkhxngphraxngkh phrxmkbxaaeshwunki enemiywsihbdi aelahayipcakhnaprawtisastrkhxngphma bangkwathukpraharthinghlngcakthukthxdysidimnanxangxingKyaw Thet 1962 History of Burma in Burmese Yangon University of Rangoon Press pp 310 318 Jump up Lt Gen Sir Arthur P Phayre 1883 History of Burma 1967 ed London Susil Gupta pp 194 199 Htin Aung Maung 1967 A History of Burma New York and London Cambridge University Press