ในศาสนาพุทธ เดรัจฉาน (บาลี: तिरच्छान, ติรจฺฉาน; สันสกฤต: तिरश्चीन, ติรศฺจีน; ทิเบต: དུད་འགྲོ་, ไวลี: dud 'gro; จีน/ญี่ปุ่น: 畜生 chikushō; พม่า: တိရစ္ဆာန်ဘုံ) หมายถึง สัตว์ที่ไม่ใช่มนุษย์ จัดเป็นหนึ่งใน 4
ศัพทมูล
เดรัจฉาน มาจากภาษาบาลี ติรจฺฉาน แปลว่า ผู้ไปโดยส่วนขวาง (มีร่างกายขนานไปกับพื้นโลก)
ประเภท
ติรัจฉานมี 4 จำพวก ได้แก่
สัญญา 4
เดรัจฉานทั้งหมด มีสัญญา 3 อย่าง ได้แก่
- กามสัญญา รู้จักเสพกาม
- โคจรสัญญา รู้จักกินและนอน
- มรณสัญญา รู้จักกลัวตาย
หากเป็นเดรัจฉานชั้นสูง เช่น เดรัจฉานที่เป็นพระโพธิสัตว์ จะมี ธัมมสัญญา คือความรู้จักผิดชอบชั่วดี จึงรู้จักการทำความดี และบำเพ็ญสั่งสมบารมีได้
อ้างอิง
- พระสัทธัมมโชติกะ, ปรมัตถโชติกะ มหาอภิธัมมัตถสังคหฎีกา ปริจเฉทที่ 5 เล่ม 1 วีถิมุตตสังคหะ ภูมิจตุกกะและปฏิสนธิจตุกกะ, พิมพ์ครั้งที่ 6, กรุงเทพฯ : มูลนิธิสัทธัมมโชติกะ, 2546, หน้า 48-50
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
insasnaphuthth edrcchan bali त रच छ न tirc chan snskvt त रश च न tirs cin thiebt ད ད འག iwli dud gro cin yipun 畜生 chikushō phma တ ရစ ဆ န ဘ hmaythung stwthiimichmnusy cdepnhnungin 4sphthmuledrcchan macakphasabali tirc chan aeplwa phuipodyswnkhwang mirangkaykhnanipkbphunolk praephthtircchanmi 4 caphwk idaek xpthtircchan stwthiimmikhaaelaimmietha echn ngu pla iseduxn thwipthtircchan stwthimi 2 kha echn ik epd aerng ka ctupthtircchan stwthimi 4 kha echn sunkh aemw chang ma ww khway phhupthtircchan stwthimimakkwa 4 kha echn md plwk takhab epntnsyya 4edrcchanthnghmd misyya 3 xyang idaek kamsyya ruckesphkam okhcrsyya ruckkinaelanxn mrnsyya ruckklwtay hakepnedrcchanchnsung echn edrcchanthiepnphraophthistw cami thmmsyya khuxkhwamruckphidchxbchwdi cungruckkarthakhwamdi aelabaephysngsmbarmiidxangxingphrasththmmochtika prmtthochtika mhaxphithmmtthsngkhhdika pricechththi 5 elm 1 withimuttsngkhha phumictukkaaelaptisnthictukka phimphkhrngthi 6 krungethph mulnithisththmmochtika 2546 hna 48 50