เซลล์เลย์ดิก (อังกฤษ: Leydig cell) หรือ เซลล์แทรกของเลย์ดิก (อังกฤษ: interstitial cells of Leydig) เป็นเซลล์ที่อยู่ติดกับในอัณฑะ ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนเมื่อมีการกระตุ้นจาก (LH) ตัวเซลล์เลย์ดิกมีรูปรางมุมหลายหน้า มีนิวเคลียสขนาดใหญ่โดดเด่น มีไซโทพลาซึมที่สามารถได้ และมีถุงซึ่งเต็มไปด้วยลิพิดจำนวนมาก
เซลล์เลย์ดิก | |
---|---|
ภาพแสดงกลุ่มของเซลล์เลย์ดิก (กลางภาพ) ผ่าน | |
ภาพมิญชวิทยาของพาเรงไคมาอัณฑะของหมูป่า 1 ช่องภายในหลอดของส่วนขดของหลอดสร้างอสุจิ, 2 , 3 , 4 , 5 เซลล์เซอร์โตลี, 6 , 7 เซลล์เลย์ดิก, 8 หลอดเลือดฝอย | |
ตัวระบุ | |
MeSH | D007985 |
FMA | 72297 |
[แก้ไขบนวิกิสนเทศ] |
โครงสร้าง
เซลล์เลย์ดิกของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเป็นเซลล์คล้ายเยื่อบุที่มีมุมหลายหน้า และมีนิวเคลียสรูปไข่เดียวที่ตั้งอยู่นอกศูนย์กลางอย่างผิดปกติ ในนิวเคลียสประกอบด้วยนิวคลีโอลัสที่โดดเด่นหนึ่งถึงสามอัน และมีซึ่งย้อมติดสีทึบล้อมรอบเป็นจำนวนมาก ไซโทพลาซึมชอบกรดของเซลล์มักประกอบด้วยหยดลิพิดจำนวนมากที่ติดอยู่กับเยื่อบุ และมีร่างแหเอนโดพลาซึมแบบเรียบ (SER) จำนวนมาก นอกเหนือจาก SER แล้วยังมีร่างแหเอ็นโดพลาสซึมแบบขรุขระอยู่อย่างกระจัดกระจายด้วย และยังมีไมโทคอนเดรียจำนวนมากซึ่งสังเกตเห็นได้อย่างชัดเจนในไซโทพลาซึม บ่อยครั้งจะพบและโครงสร้างคล้ายผลึกรูปแท่งที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 3 ถึง 20 นาโนเมตร ซึ่งยังไม่ทราบถึงหน้าที่ของโครงสร้างดังกล่าว แต่พบว่าโครงสร้างนั้นจะน้อยลงไปกว่าครึ่งใน จึงถูกใช้ในการช่วยวินิจฉัยโรคเนื้องอกเซลล์เลย์ดิก นอกเหนือจากเซลล์เลย์ดิกแล้ว ไม่มีเซลล์แทรกใดในอัณฑะที่มีนิวเคลียสหรือไซโทพลาซึมที่มีลักษณะเหล่านี้อีก จึงทำให้สามารถค้นหาเซลล์เลย์ดิกได้โดยง่าย
พัฒนาการ
เซลล์เลย์ดิกแบบ 'ผู้ใหญ่' เปลี่ยนสภาพอยู่ในอัณฑะหลังจากคลอดจากนั้นจะหยุดพักไปจนถึงวัยเริ่มเจริญพันธุ์ เซลล์นี้พบในอัณฑะในฐานะเซลล์เลย์ดิกแบบ 'ทารกในครรภ์' ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 8 ถึง 20 ของการตั้งครรภ์ ซึ่งทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนขึ้นในจำนวนที่เพียงพอต่อการทำให้ทารกเพศชายในครรภ์แสดงออกถึงลักษณะเป็นชาย
การผลิตฮอร์โมนเพศชาย
เซลล์เลย์ดิกจะปล่อยฮอร์โมนประเภทที่เรียกว่า ฮอร์โมนเพศชาย (19-คาร์บอน สเตอรอยด์) โดยจะหลั่งเทสโทสเตอโรน และ (DHEA) ออกมา เมื่อถูกกระตุ้นโดย (LH) ซึ่งจะถูกหลั่งออกมาจากเพื่อตอบสนองต่อซึ่งถูกหลั่งออกมาโดยไฮโปทาลามัส LH จะเข้าจับกับตัวรับ () ซึ่งเป็นตัวรับคู่จี-โปรตีน เป็นผลให้เกิดสร้าง ที่เพิ่มขึ้น จากนั้น cAMP จะไปปลุกฤทธิ์ของขึ้นตามลำดับ ซึ่งจะไปกระตุ้นการเคลื่อนย้ายคอเลสเดอรอลจากแหล่งกักเก็บในเซลล์ (โดยแหล่งหลักอยู่ที่เยื่อหุ้มเซลล์และพื้นที่กักเก็บภายในเซลล์) ไปยังไมโทคอนเดรีย โดยแรกสุดจะไปถึงยังเยื่อหุ้มไมโทคอนเดรียชั้นนอก และจากนั้นจะถูกเคลื่อนย้ายเข้าสู่ด้วย ซึ่งจะจำกัดอัตราชีวสังเคราะห์ของสเตียรอยด์ จากนั้นจะตามด้วยการสร้างขึ้น จากคอเลสเตอรอลที่ถูกเคลื่อนย้ายผ่าน ซึ่งพบอยู่ในเยื่อหุ้มไมโทคอนเดรียชั้นใน และในที่สุดก็จะนำไปสู่การสังเคราะห์ฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนและการหลั่งโดยเซลล์เลย์ดิก
โพรแลกติน (PRL) จะเพิ่มการตอบสนองของเซลล์เลย์ดิกต่อ LH โดยการเพิ่มจำนวนของตัวรับ LH ที่ปรากฏอยู่บนเซลล์เลย์ดิก[]
นัยสำคัญทางคลินิก
เซลล์เลย์ดิกอาจเจริญขึ้นอย่างควบคุมไม่ได้ จนก่อตัวขึ้นเป็น เนื้องอกเหล่านี้มักเป็นเนื้องอกไม่ร้ายตามธรรมชาติ โดยเนื้องอกเหล่านี้อาจมีกิจกรรมเกี่ยวกับฮอร์โมน เช่น การหลั่งฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน (ซึ่งรับผิดชอบลักษณะทุติยภูมิของเพศชาย)
เป็นอีกตัวอย่างของโรคที่ส่งผลกระทบต่อเซลล์เลย์ดิก โดยฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนของผู้ป่วยอาจลดลงแม้ว่าระดับ LH และ (FSH) จะเพิ่มสูงกว่าปกติก็ตาม
ในกระต่าย พบว่าการบำบัดด้วย เป็นสาเหตุให้เกิดการเพิ่มจำนวนขึ้นของเซลล์เลย์ดิก
ประวัติ
นิรุกติศาสตร์
ชื่อของเซลล์เลย์ดิกถูกตั้งตาม นักกายวิภาคชาวเยอรมัน ผู้ซึ่งค้นพบเซลล์นี้เมื่อปี ค.ศ. 1850
ระเบียงภาพ
- ภาพตัดขวางของสายรั้งอัณฑะตัวอ่อนมนุษย์ขนาด 3 ซม.
- ภาพกำลังขยายปานกลางของเนื้องอกเซลล์เลย์ดิก ผ่าน
- ภาพกำลังขยายสูงของเนื้องอกเซลล์เลย์ดิก ผ่าน
- ภาพตัดขวางของหลอดสร้างอสุจิ ลูกศรชี้ไปยังตำแหน่งของเซลล์เลย์ดิก
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Al-Agha O, Axiotis C (2007). "An in-depth look at Leydig cell tumor of the testis". Arch Pathol Lab Med. 131 (2): 311–7. doi:10.5858/2007-131-311-AILALC. PMID 17284120.
- Ramnani, Dharam M (2010-06-11). "Leydig Cell Tumor : Reinke's Crystalloids". สืบค้นเมื่อ 2011-11-06.
- Svechnikov K, Landreh L, Weisser J, Izzo G, Colón E, Svechnikova I, Söder O (2010). "Origin, development and regulation of human Leydig cells". Horm Res Paediatr. 73 (2): 93–101. doi:10.1159/000277141. PMID 20190545. S2CID 5986143.
- Zirkin, Barry R; Papadopoulos, Vassilios (July 2018). "Leydig cells: formation, function, and regulation". Biology of Reproduction. 99 (1): 101–111. doi:10.1093/biolre/ioy059. ISSN 0006-3363. PMID 29566165.
- Bomba G, Kowalski IM, Szarek J, Zarzycki D, Pawlicki R (2001). "The effect of spinal electrostimulation on the testicular structure in rabbit". Med. Sci. Monit. 7 (3): 363–8. PMID 11386010.
- synd/625 ใน Who Named It?
แหล่งข้อมูลอื่น
- ภาพเนื้อเยื่อจาก 16907loa (อังกฤษ)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
esllelydik xngkvs Leydig cell hrux esllaethrkkhxngelydik xngkvs interstitial cells of Leydig epnesllthixyutidkbinxntha thahnathisranghxromnethsothsetxornemuxmikarkratuncak LH twesllelydikmiruprangmumhlayhna miniwekhliyskhnadihyoddedn miisothphlasumthisamarthid aelamithungsungetmipdwyliphidcanwnmakesllelydikphaphaesdngklumkhxngesllelydik klangphaph phanphaphmiychwithyakhxngphaerngikhmaxnthakhxnghmupa 1 chxngphayinhlxdkhxngswnkhdkhxnghlxdsrangxsuci 2 3 4 5 esllesxrotli 6 7 esllelydik 8 hlxdeluxdfxytwrabuMeSHD007985FMA72297 aekikhbnwikisneths okhrngsrangesllelydikkhxngstweliynglukdwynmepnesllkhlayeyuxbuthimimumhlayhna aelaminiwekhliysrupikhediywthitngxyunxksunyklangxyangphidpkti inniwekhliysprakxbdwyniwkhlioxlsthioddednhnungthungsamxn aelamisungyxmtidsithublxmrxbepncanwnmak isothphlasumchxbkrdkhxngesllmkprakxbdwyhydliphidcanwnmakthitidxyukbeyuxbu aelamirangaehexnodphlasumaebberiyb SER canwnmak nxkehnuxcak SER aelwyngmirangaehexnodphlassumaebbkhrukhraxyuxyangkracdkracaydwy aelayngmiimothkhxnedriycanwnmaksungsngektehnidxyangchdecninisothphlasum bxykhrngcaphbaelaokhrngsrangkhlayphlukrupaethngthimiesnphansunyklang 3 thung 20 naonemtr sungyngimthrabthunghnathikhxngokhrngsrangdngklaw aetphbwaokhrngsrangnncanxylngipkwakhrungin cungthukichinkarchwywinicchyorkhenuxngxkesllelydik nxkehnuxcakesllelydikaelw immiesllaethrkidinxnthathiminiwekhliyshruxisothphlasumthimilksnaehlanixik cungthaihsamarthkhnhaesllelydikidodyngay phthnakar esllelydikaebb phuihy epliynsphaphxyuinxnthahlngcakkhlxdcaknncahyudphkipcnthungwyerimecriyphnthu esllniphbinxnthainthanaesllelydikaebb tharkinkhrrph tngaetspdahthi 8 thung 20 khxngkartngkhrrph sungthahnathiphlithxromnethsothsetxornkhunincanwnthiephiyngphxtxkarthaihtharkephschayinkhrrphaesdngxxkthunglksnaepnchaykarphlithxromnephschayesllelydikcaplxyhxromnpraephththieriykwa hxromnephschay 19 kharbxn setxrxyd odycahlngethsothsetxorn aela DHEA xxkma emuxthukkratunody LH sungcathukhlngxxkmacakephuxtxbsnxngtxsungthukhlngxxkmaodyihopthalams LH caekhacbkbtwrb sungepntwrbkhuci oprtin epnphlihekidsrang thiephimkhun caknn cAMP caipplukvththikhxngkhuntamladb sungcaipkratunkarekhluxnyaykhxelsedxrxlcakaehlngkkekbinesll odyaehlnghlkxyuthieyuxhumesllaelaphunthikkekbphayinesll ipyngimothkhxnedriy odyaerksudcaipthungyngeyuxhumimothkhxnedriychnnxk aelacaknncathukekhluxnyayekhasudwy sungcacakdxtrachiwsngekhraahkhxngsetiyrxyd caknncatamdwykarsrangkhun cakkhxelsetxrxlthithukekhluxnyayphan sungphbxyuineyuxhumimothkhxnedriychnin aelainthisudkcanaipsukarsngekhraahhxromnethsothsetxornaelakarhlngodyesllelydik ophraelktin PRL caephimkartxbsnxngkhxngesllelydiktx LH odykarephimcanwnkhxngtwrb LH thipraktxyubnesllelydik txngkarxangxing nysakhythangkhlinikphaphaesdngklumkhxngesllelydik klangphaph phan esllelydikxacecriykhunxyangkhwbkhumimid cnkxtwkhunepn enuxngxkehlanimkepnenuxngxkimraytamthrrmchati odyenuxngxkehlanixacmikickrrmekiywkbhxromn echn karhlnghxromnethsothsetxorn sungrbphidchxblksnathutiyphumikhxngephschay epnxiktwxyangkhxngorkhthisngphlkrathbtxesllelydik odyhxromnethsothsetxornkhxngphupwyxacldlngaemwaradb LH aela FSH caephimsungkwapktiktam inkratay phbwakarbabddwy epnsaehtuihekidkarephimcanwnkhunkhxngesllelydikprawtiniruktisastr chuxkhxngesllelydikthuktngtam nkkaywiphakhchaweyxrmn phusungkhnphbesllniemuxpi kh s 1850raebiyngphaphphaphtdkhwangkhxngsayrngxnthatwxxnmnusykhnad 3 sm phaphkalngkhyaypanklangkhxngenuxngxkesllelydik phan phaphkalngkhyaysungkhxngenuxngxkesllelydik phan phaphtdkhwangkhxnghlxdsrangxsuci luksrchiipyngtaaehnngkhxngesllelydikduephimesllesxrotlixangxingAl Agha O Axiotis C 2007 An in depth look at Leydig cell tumor of the testis Arch Pathol Lab Med 131 2 311 7 doi 10 5858 2007 131 311 AILALC PMID 17284120 Ramnani Dharam M 2010 06 11 Leydig Cell Tumor Reinke s Crystalloids subkhnemux 2011 11 06 Svechnikov K Landreh L Weisser J Izzo G Colon E Svechnikova I Soder O 2010 Origin development and regulation of human Leydig cells Horm Res Paediatr 73 2 93 101 doi 10 1159 000277141 PMID 20190545 S2CID 5986143 Zirkin Barry R Papadopoulos Vassilios July 2018 Leydig cells formation function and regulation Biology of Reproduction 99 1 101 111 doi 10 1093 biolre ioy059 ISSN 0006 3363 PMID 29566165 Bomba G Kowalski IM Szarek J Zarzycki D Pawlicki R 2001 The effect of spinal electrostimulation on the testicular structure in rabbit Med Sci Monit 7 3 363 8 PMID 11386010 synd 625 in Who Named It aehlngkhxmulxunphaphenuxeyuxcak 16907loa xngkvs