เคลฟเวอร์แฮนส์ (อังกฤษ: Clever Hans) หรือ แดร์คลูเกอฮันส์ (เยอรมัน: der Kluge Hans)เป็นม้าพันธุ์รัสเซีย (Orlov Trotter) ตัวหนึ่ง ที่มีการอ้างว่า มันสามารถคิดเลขง่าย ๆ และแก้ปัญหาใช้สติปัญญาอื่น ๆ บางอย่างได้
แต่ว่าหลังจากได้ทำการตรวจสอบอย่างเต็มรูปแบบแล้วในปี ค.ศ. 1907 นักจิตวิทยาชาวเยอรมันออสคาร์ พฟุงสท์ ก็ได้แสดงหลักฐานว่า เจ้าม้าไม่ได้ทำงานทางสติปัญญาเหล่านั้นได้จริง ๆ คือ มันเพียงแต่สังเกตปฏิกิริยาของพวกมนุษย์ที่กำลังดูมันทำงานอยู่เท่านั้น เพราะการตรวจสอบม้า พฟุงสท์จึงได้ค้นพบปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเพราะเหตุระเบียบวิธีวิจัย คือเจ้าม้ามีการตอบสนองต่อปฏิกิริยาที่ไม่ได้ตั้งใจ (และควบคุมไม่ได้) ของมนุษย์ที่เป็นคนฝึกม้า ที่จริง ๆ แล้วเป็นผู้แก้ปัญหาที่ต้องใช้สมองเหล่านี้ และตัวผู้ฝึกเองก็ไม่รู้จริง ๆ ว่า ตัวเองกำลังให้คำตอบแก่ม้า ตั้งแต่นั้นมา เพื่อให้เกียรติกับงานของพฟุงสท์ ปรากฏการณ์ที่ไม่พึงประสงค์นี้ก็ได้ชื่อว่า "ปรากฏการณ์เคลฟเวอร์แฮนส์" (อังกฤษ: Clever Hans effect) และได้กลายเป็นความรู้ความเข้าใจที่สำคัญ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ความคาดหมายของผู้สังเกตการณ์ (observer-expectancy effect) และต่องานวิจัยอื่น ๆ เกี่ยวกับประชานของสัตว์ นอกจากพฟุงสท์แล้ว นักปราชญ์และนักจิตวิทยาชาวเยอรมันผู้มีชื่อเสียงคือคาร์ล ชตุมพฟ์ยังได้ทำงานศึกษาเกี่ยวกับม้าตัวนี้ด้วย คือชตุมพฟ์ได้สังเกตเห็นเหตุการณ์ที่น่าอัศจรรย์เกี่ยวกับเจ้าม้า ซึ่งมีอิทธิพลต่องานทางปรากฏการณ์วิทยา (phenomenology) ของเขา
เหตุการณ์ที่น่าอัศจรรย์
ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ชนชาวยุโรปมีความสนใจอย่างยิ่ง เกี่ยวกับความเฉลียวฉลาดของสัตว์สืบเนื่องจากผลงานของชาลส์ ดาร์วินที่เผยแพร่ได้ไม่นาน
ในตอนนั้น ม้าที่เป็นประเด็นคือแฮนส์มีเจ้าของคือนายวิลเฮ็ล์ม ฟอน ออสเทิน ผู้เป็นครูคณิตศาสตร์ในโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เป็นผู้ฝึกม้าสมัครเล่น เป็นนักรหัสยิก แฮนส์ได้รับการโฆษณาว่า ได้หัดเรียนการบวก การลบ การคูณ การหาร การใช้เศษส่วน การบอกเวลา การนับคืนวัน การแยกแยะโน้ตดนตรี การอ่าน การสะกด และฝึกความเข้าใจในภาษาเยอรมัน เช่นนายฟอน ออสเทินจะถามแฮนส์ว่า "ถ้าวันที่แปดของเดือนตกลงที่วันอังคาร วันศุกร์ต่อมาจะเป็นวันที่เท่าไร" แล้วแฮนส์ก็จะตอบโดยเคาะกีบเท้า คำถามสามารถถามได้ทั้งโดยปากเปล่าและโดยเขียน ฟอน ออสเทินได้นำแฮนส์ไปแสดงทั่วประเทศเยอรมนีแต่ไม่ได้คิดค่าแสดง โดยหนังสือพิมพ์เดอะนิวยอร์กไทมส์ได้เสนอข่าวเกี่ยวกับแฮนส์เป็นครั้งแรกใน ค.ศ. 1904
หลังจากที่ฟอน ออสเทินเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1909 แฮนส์ได้เปลี่ยนเจ้าของหลายครั้ง และหลังจากปี ค.ศ. 1916 ก็ไม่ได้ยินข่าวอะไรเกี่ยวกับมันอีก คือชะตากรรมที่สุดของแฮนส์ไม่ปรากฏ
การตรวจสอบ
เนื่องจากมีประชาชนเป็นจำนวนมากสนใจในเรื่องของเคลฟเวอร์แฮนส์ สำนักงานการศึกษาเยอรมันได้ตั้งคณะกรรมการขึ้นเพื่อตรวจสอบข้ออ้างของนายฟอน ออสเทินตามแนวทางวิทยาศาสตร์ ในเบื้องต้น นักปรัชญาและนักจิตวิทยาคาร์ล ชตุมพฟ์ เป็นหัวหน้าของคณะกรรมการ 13 คนที่เรียกว่า คณะกรรมการแฮนส์ (อังกฤษ: Hans Commission) คณะกรรมการชุดนี้ประกอบด้วยสัตว์แพทย์ ผู้จัดการคณะละครสัตว์ นายทหารม้า ครูจำนวนหนึ่ง และผู้อำนวยการสวนสัตว์ของกรุงเบอร์ลิน ในเดือนกันยายน ค.ศ. 1904 คณะกรรมการได้สรุปว่า ไม่ปรากฏว่ามีเล่ห์กลใด ๆ ในการแสดงของแฮนส์ (คือสรุปว่าแฮนส์ดูเหมือนจะมีความสามารถอย่างที่แสดงจริง ๆ)
ต่อมา คณะกรรมการได้มอบหมายการตรวจสอบให้กับนายพฟุงสท์ ผู้เริ่มตรวจสอบหลักฐานความสามารถขของแฮนส์โดยมีกลวิธีคือ
- แยกม้าและคนถามคำถามออกจากคนดู เพื่อป้องกันไม่ให้ได้คำตอบมาจากคนดู
- ใช้คนถามคำถามคนอื่นนอกเหนือไปจากเจ้าของ
- ใช้ที่ปิดตาม้าในแนวมุมต่าง ๆ เพื่อดูว่าม้าสามารถเห็นคนถามคำถามหรือไม่
- ใช้คำถามทั้งที่คนถามคำถามรู้คำตอบและไม่รู้คำตอบ
โดยผ่านการทดสอบเป็นจำนวนมาก พฟุงสท์พบว่า แฮนส์สามารถตอบคำถามได้อย่างถูกต้องแม้ว่าตัวนายฟอน ออสเทินเองจะไม่ได้เป็นคนถาม ซึ่งแสดงว่าไม่ใช่เป็นการหลอกลวง แต่ว่า แฮนส์สามารถจะตอบคำถามได้ก็ต่อเมื่อผู้ถามรู้คำตอบและแฮนส์สามารถมองเห็นผู้ถามได้ คือ พฟุงสท์พบว่า เมื่อนายตัวฟอน ออสเทินเองรู้คำตอบ แฮนส์จะตอบคำถามได้อย่างถูกต้องถึงร้อยละ 89 แต่เมื่อไม่รู้ แฮนส์จะตอบถูกเพียงแค่ร้อยละ 6
จากนั้น พฟุงสท์จึงดำเนินการตรวจสอบพฤติกรรมของผู้ถามอย่างละเอียด แล้วพบว่า เมื่อม้ากำลังเคาะกีบเท้าเป็นจำนวนใกล้ถึงคำตอบ ลักษณะท่าทางและสีหน้าของผู้ถามคำถามจะเปลี่ยนไปตามความตื่นเต้นที่มีเพิ่มขึ้น ซึ่งจะหมดสิ้นไปโดยทันทีที่ม้าเคาะกีบเท้าเป็นครั้งสุดท้ายที่แสดงคำตอบที่ถูกต้อง นี่เป็นตัวช่วยให้ม้ารู้ว่าเมื่อไรควรจะหยุดเคาะกีบเท้า ความสามารถในการสังเกตการณ์ของม้านั้นอาจอธิบายได้ว่า อาจเป็นไปได้ ที่การสื่อสารระหว่างพวกม้าต้องอาศัยการตรวจจับลักษณะท่าทางของกันและกันที่เปลี่ยนแปลงไปเพียงแค่เล็กน้อย ซึ่งทำให้อธิบายได้ว่า ทำไมแฮนส์จึงสามารถได้คำตอบจากนายฟอน ออสเทิน ทั้งสัญญาณที่ฟอน ออสเทินให้จะไม่ได้ตั้งใจ
หลังจากนั้น พฟุงสท์ก็ทำการทดลองในห้องแล็บกับมนุษย์ โดยที่ตัวเองมีบทบาทแทนม้า พฟุงสท์ให้ผู้ร่วมการทดลองยืนอยู่ทางด้านขวาแล้วให้คิดถึงตัวเลขตัวหนึ่งหรือปัญหาคณิตอย่างหนึ่ง "โดยตั้งสมาธิไว้ให้มั่น" แล้วพฟุงสท์ก็จะเคาะบอกคำตอบใช้มือข้างขวา เขาสังเกตเห็นว่า บ่อยครั้ง ผู้ร่วมการทดลองมีการ "เชิดศีรษะขึ้นเล็กน้อยอย่างทันทีทันใด" เมื่อเขาเคาะถึงจำนวนที่ถูกต้อง และพบว่า ท่าทางหลังจากการเชิดศีรษะนี้ จะตรงกับท่าทางก่อนที่ผู้ร่วมการทดลองจะเริ่มการทดลอง
ทั้งตัวนายฟอน ออสเทินเองและตัวนายพฟุงสท์เองมักมีอารมณ์ร้าย และมักจะโมโหเมื่อม้าตอบได้ไม่ดี ในระหว่างที่ทำการทดลองกับม้า ตัวนายพฟุงสท์ถูกม้ากัดไม่ใช่เพียงแค่ครั้งเดียว
แม้หลังจากการเปิดโปงความจริงอย่างเป็นทางการ นายฟอน ออสเทินก็ยังไม่ยอมรับผลงานของพฟุงสท์ และได้ดำเนินการแสดงม้าไปในที่ต่าง ๆ ในเยอรมนี ซึ่งได้ทั้งความสนใจและความฮือฮาจากประชาชนเป็นจำนวนมาก
ปรากฏการณ์เคลฟเวอร์แฮนส์
หลังจากที่ตัวพฟุงสท์เองเกิดความชำนาญในการแสดงความสามารถของแฮนส์ และรู้แล้วด้วยว่า อะไรเป็นสัญญาณที่บอกคำตอบให้แก่ม้า เขาก็ได้พบว่า เขาเองก็ยังส่งสัญญาณให้กับม้าโดยไม่ได้ตั้งใจ ซึ่งไม่ได้ขึ้นอยู่กับว่า เขาต้องการจะส่งสัญญาณหรือไม่ การเข้าใจถึงปรากฏการณ์เยี่ยงนี้ ได้มีอิทธิพลอย่างสูงส่งต่อการออกแบบการทดลองและระเบียบวิธีวิจัย ในงานทดลองทุกอย่างที่ผู้รับการทดลองเป็นสัตว์ที่สามารถรับรู้ รวมทั้งมนุษย์เอง
ความเสี่ยงต่อปรากฏการณ์เคลฟเวอร์แฮนส์ เป็นเหตุผลอย่างหนึ่งที่นักจิตวิทยาเปรียบเทียบ (comparative psychology) ต้องทดสอบกับสัตว์ที่อยู่ในสถานที่ที่แยกออกเป็นสัดส่วน เพื่อไม่ให้เกิดการปฏิสัมพันธ์กับสัตว์ แต่ว่า แม้วิธีนี้เองก็ทำให้เกิดปัญหาอย่างอื่น เพราะว่า ปรากฏการณ์เกี่ยวกับประชานของสัตว์ที่น่าสนใจที่สุด มักจะมีการแสดงออกในสถานการณ์ที่มีความเกี่ยวข้องกับกันและกัน และเพื่อที่จะแสดงปรากฏการณ์เหล่านั้น มีความจำเป็นที่จะต้องสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ฝึกกับสัตว์ ประเด็นนี้ได้รับการสนับสนุนจากไอรีน เพปเพอร์เบิร์ก ผู้ได้ทำการศึกษาเกี่ยวกับนกแก้วฉลาดชื่อว่าอะเล็กซ์ และบีทริกซ์ การ์ดเนอร์ผู้ทำการศึกษาในลิงชิมแปนซีชื่อว่า วาชู
ดังนั้น ถ้าหากว่าจะให้มีการยอมรับการศึกษาสัตว์เช่นนี้อย่างทั่วไป ก็จะต้องหาวิธีทดสอบความสามารถของสัตว์ โดยไม่ให้มีอิทธิพลจากปรากฏการณ์เคลฟเวอร์แฮนส์ แต่ว่า เพียงแค่นำผู้ฝึกออกจากวงจรอาจจะไม่ใช่วิธีที่เหมาะสม เพราะว่า ถ้าความสัมพันธ์ระหว่างผู้ฝึกกับสัตว์นั้นมีกำลัง การนำผู้ฝึกออกจากวงจรอาจก่อให้เกิดปฏิกิริยาทางจิตใจ ทำให้สัตว์นั้นไม่สามารถแสดงความสามารถได้ ดังนั้น จึงจำเป็นต้องแสวงหาวิธีที่คนที่อยู่ร่วมกับสัตว์จะไม่รู้ล่วงหน้าว่า ปฏิกิริยาของสัตว์ต่อข้อทดสอบนั้นควรจะเป็นอย่างไร (เทียบกับสมมุติฐานที่เป็นประเด็นทดสอบ)
ปรากฏการณ์นี้ก็พบด้วยในสุนัขค้นหายาเสพติด ในปี ค.ศ. 2011 นักวิจัยที่มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เดวิส พบว่า ผู้ฝึกสุนัขสามารถส่งสัญญาณโดยไม่ตั้งใจให้สุนัขได้ ทำให้สุนัขแสดงการพบยาเสพติดที่ผิดพลาด ในงานศึกษาปี ค.ศ. 2004 กับสุนัขที่ชื่อว่าริโก ที่เจ้าของบอกว่าเข้าใจศัพท์คำพูดถึง 200 คำ นักวิจัยป้องกันปรากฏการณ์เคลฟเวอร์แฮนส์ โดยให้เจ้าของสั่งริโกให้ไปเอาของจากห้องที่อยู่ติดกัน แต่เพราะอยู่ในห้องคนละห้อง เจ้าของจึงไม่สามารถแสดงปฏิกิริยาให้ริโกเห็นเมื่อกำลังเลือกคาบเอาของที่สั่ง
ดังที่งานทดลองสุดท้ายของพฟุงสท์ทำให้ชัดเจน ปรากฏการณ์นี้สามารถเกิดได้แม้ในงานทดลองที่มีมนุษย์เป็นประเด็นการทดลอง เหมือนกับงานทดลองในสัตว์ ดังนั้น นักวิจัยในประเด็นเกี่ยวกับประชาน จิตวิทยาประชาน และจิตวิทยาสังคมต้องออกแบบงานทดลองให้เป็นแบบ ซึ่งหมายความว่า ทั้งผู้ทดลองและผู้รับการทดลองจะไม่รู้ถึงสภาพของผู้รับการทดลอง (คือไม่รู้ว่าผู้รับการทดลองอยู่ในกลุ่มการทดลองไหน) และดังนั้นก็จะไม่รู้คำพยากรณ์ของทฤษฎีการศึกษาว่า ผู้รับการทดลองจะมีปฏิกิริยาเป็นอย่างไร อีกวิธีหนึ่งที่ใช้ป้องกันปรากฏการณ์นี้ก็คือ การแทนผู้ทำการทดลองด้วยคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถสื่อคำสั่งและบันทึกปฏิกิริยาต่าง ๆ โดยไม่ส่งสัญญาณเป็นตัวช่วยให้กับผู้รับการทดลอง
ดูเพิ่ม
เชิงอรรถและอ้างอิง
- "Clever Hans phenomenon". skepdic. สืบค้นเมื่อ 2008-12-11.
- Hothersall, David (2004). History of Psychology. McGraw-Hill.
- "BERLIN'S WONDERFUL HORSE; He Can Do Almost Everything but Talk—How He Was Taught" (PDF). The New York Times. 1904-09-04. สืบค้นเมื่อ 2015-02-20.
- "Clever Hans (The Horse of Mr. von Osten), by Oskar Pfungst". Gutenberg.org. สืบค้นเมื่อ 2013-10-21.
- อะเล็กซ์ เป็นนกแก้วพันธุ์แอฟริกันเกรย์ African Grey ที่เป็นสัตว์ที่ได้รับการศึกษาถึง 30 ปี จากนักจิตวิทยาสัตว์ไอรีน เพปเพอร์เบิร์ก ตอนแรกที่มหาวิทยาลัยแอริโซนา ภายหลังที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดและมหาวิทยาลัยแบรนไดส์ ดร. เพปเพอร์เบิร์กเสนอว่า อะเล็กซ์มีความเฉลียวฉลาดในระดับเดียวกันกับปลาโลมาและลิงใหญ่ และเท่ากับเด็กมนุษย์อายุ 5 ขวบ
- วาชู เป็นลิงชิมแปนซีตัวเมียที่รับการสอนให้สื่อสารโดยใช้ภาษามืออเมริกันโดยสามารถใช้คำได้ประมาณ 350 คำ
- "Clever Hounds" (URL). The Economist. 2011-02-15. สืบค้นเมื่อ 2011-05-14.
- Pfungst, O (1911). Clever Hans (The horse of Mr. von Osten): A contribution to experimental animal and human psychology. แปลโดย Rahn, C. L. New York: Henry Holt.
- The London Standard (1904-10-02). "'CLEVER HANS' AGAIN.; Expert Commission Decides That the Horse Actually Reasons" (PDF). The New York Times. สืบค้นเมื่อ 2008-01-02.
ข้อมูลอื่น
- Clever Hans the Math Horse
- Clever Hans (The Horse of Mr. Von Osten): A Contribution to Experimental Animal and Human Psychology by Oskar Pfungst, 1911—Project Gutenberg e-text and HTML with graphs and photos.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ekhlfewxraehns xngkvs Clever Hans hrux aedrkhluekxhns eyxrmn der Kluge Hans epnmaphnthursesiy Orlov Trotter twhnung thimikarxangwa mnsamarthkhidelkhngay aelaaekpyhaichstipyyaxun bangxyangidekhlfewxraehnsaesdngkhwamsamarth aetwahlngcakidthakartrwcsxbxyangetmrupaebbaelwinpi kh s 1907 nkcitwithyachaweyxrmnxxskhar phfungsth kidaesdnghlkthanwa ecamaimidthanganthangstipyyaehlannidcring khux mnephiyngaetsngektptikiriyakhxngphwkmnusythikalngdumnthanganxyuethann ephraakartrwcsxbma phfungsthcungidkhnphbpraktkarnthiekidkhunephraaehturaebiybwithiwicy khuxecamamikartxbsnxngtxptikiriyathiimidtngic aelakhwbkhumimid khxngmnusythiepnkhnfukma thicring aelwepnphuaekpyhathitxngichsmxngehlani aelatwphufukexngkimrucring wa twexngkalngihkhatxbaekma tngaetnnma ephuxihekiyrtikbngankhxngphfungsth praktkarnthiimphungprasngkhnikidchuxwa praktkarnekhlfewxraehns xngkvs Clever Hans effect aelaidklayepnkhwamrukhwamekhaicthisakhy ekiywkbpraktkarnkhwamkhadhmaykhxngphusngektkarn observer expectancy effect aelatxnganwicyxun ekiywkbprachankhxngstw nxkcakphfungsthaelw nkprachyaelankcitwithyachaweyxrmnphumichuxesiyngkhuxkharl chtumphfyngidthangansuksaekiywkbmatwnidwy khuxchtumphfidsngektehnehtukarnthinaxscrryekiywkbecama sungmixiththiphltxnganthangpraktkarnwithya phenomenology khxngekhaehtukarnthinaxscrryintnkhriststwrrsthi 20 chnchawyuorpmikhwamsnicxyangying ekiywkbkhwamechliywchladkhxngstwsubenuxngcakphlngankhxngchals darwinthiephyaephridimnan intxnnn mathiepnpraednkhuxaehnsmiecakhxngkhuxnaywilehlm fxn xxsethin phuepnkhrukhnitsastrinorngeriynetriymxudmsuksa epnphufukmasmkhreln epnnkrhsyik aehnsidrbkarokhsnawa idhderiynkarbwk karlb karkhun karhar karichessswn karbxkewla karnbkhunwn karaeykaeyaontdntri karxan karsakd aelafukkhwamekhaicinphasaeyxrmn echnnayfxn xxsethincathamaehnswa thawnthiaepdkhxngeduxntklngthiwnxngkhar wnsukrtxmacaepnwnthiethair aelwaehnskcatxbodyekhaakibetha khathamsamarththamidthngodypakeplaaelaodyekhiyn fxn xxsethinidnaaehnsipaesdngthwpraethseyxrmniaetimidkhidkhaaesdng odyhnngsuxphimphedxaniwyxrkithmsidesnxkhawekiywkbaehnsepnkhrngaerkin kh s 1904 hlngcakthifxn xxsethinesiychiwitinpi kh s 1909 aehnsidepliynecakhxnghlaykhrng aelahlngcakpi kh s 1916 kimidyinkhawxairekiywkbmnxik khuxchatakrrmthisudkhxngaehnsimpraktkartrwcsxbenuxngcakmiprachachnepncanwnmaksnicineruxngkhxngekhlfewxraehns sankngankarsuksaeyxrmnidtngkhnakrrmkarkhunephuxtrwcsxbkhxxangkhxngnayfxn xxsethintamaenwthangwithyasastr inebuxngtn nkprchyaaelankcitwithyakharl chtumphf epnhwhnakhxngkhnakrrmkar 13 khnthieriykwa khnakrrmkaraehns xngkvs Hans Commission khnakrrmkarchudniprakxbdwystwaephthy phucdkarkhnalakhrstw naythharma khrucanwnhnung aelaphuxanwykarswnstwkhxngkrungebxrlin ineduxnknyayn kh s 1904 khnakrrmkaridsrupwa impraktwamielhklid inkaraesdngkhxngaehns khuxsrupwaaehnsduehmuxncamikhwamsamarthxyangthiaesdngcring txma khnakrrmkaridmxbhmaykartrwcsxbihkbnayphfungsth phuerimtrwcsxbhlkthankhwamsamarthkhkhxngaehnsodymiklwithikhux aeykmaaelakhnthamkhathamxxkcakkhndu ephuxpxngknimihidkhatxbmacakkhndu ichkhnthamkhathamkhnxunnxkehnuxipcakecakhxng ichthipidtamainaenwmumtang ephuxduwamasamarthehnkhnthamkhathamhruxim ichkhathamthngthikhnthamkhathamrukhatxbaelaimrukhatxb odyphankarthdsxbepncanwnmak phfungsthphbwa aehnssamarthtxbkhathamidxyangthuktxngaemwatwnayfxn xxsethinexngcaimidepnkhntham sungaesdngwaimichepnkarhlxklwng aetwa aehnssamarthcatxbkhathamidktxemuxphuthamrukhatxbaelaaehnssamarthmxngehnphuthamid khux phfungsthphbwa emuxnaytwfxn xxsethinexngrukhatxb aehnscatxbkhathamidxyangthuktxngthungrxyla 89 aetemuximru aehnscatxbthukephiyngaekhrxyla 6 caknn phfungsthcungdaeninkartrwcsxbphvtikrrmkhxngphuthamxyanglaexiyd aelwphbwa emuxmakalngekhaakibethaepncanwniklthungkhatxb lksnathathangaelasihnakhxngphuthamkhathamcaepliyniptamkhwamtunetnthimiephimkhun sungcahmdsinipodythnthithimaekhaakibethaepnkhrngsudthaythiaesdngkhatxbthithuktxng niepntwchwyihmaruwaemuxirkhwrcahyudekhaakibetha khwamsamarthinkarsngektkarnkhxngmannxacxthibayidwa xacepnipid thikarsuxsarrahwangphwkmatxngxasykartrwccblksnathathangkhxngknaelaknthiepliynaeplngipephiyngaekhelknxy sungthaihxthibayidwa thaimaehnscungsamarthidkhatxbcaknayfxn xxsethin thngsyyanthifxn xxsethinihcaimidtngic hlngcaknn phfungsthkthakarthdlxnginhxngaelbkbmnusy odythitwexngmibthbathaethnma phfungsthihphurwmkarthdlxngyunxyuthangdankhwaaelwihkhidthungtwelkhtwhnunghruxpyhakhnitxyanghnung odytngsmathiiwihmn aelwphfungsthkcaekhaabxkkhatxbichmuxkhangkhwa ekhasngektehnwa bxykhrng phurwmkarthdlxngmikar echidsirsakhunelknxyxyangthnthithnid emuxekhaekhaathungcanwnthithuktxng aelaphbwa thathanghlngcakkarechidsirsani catrngkbthathangkxnthiphurwmkarthdlxngcaerimkarthdlxng thngtwnayfxn xxsethinexngaelatwnayphfungsthexngmkmixarmnray aelamkcaomohemuxmatxbidimdi inrahwangthithakarthdlxngkbma twnayphfungsththukmakdimichephiyngaekhkhrngediyw aemhlngcakkarepidopngkhwamcringxyangepnthangkar nayfxn xxsethinkyngimyxmrbphlngankhxngphfungsth aelaiddaeninkaraesdngmaipinthitang ineyxrmni sungidthngkhwamsnicaelakhwamhuxhacakprachachnepncanwnmakpraktkarnekhlfewxraehnshlngcakthitwphfungsthexngekidkhwamchanayinkaraesdngkhwamsamarthkhxngaehns aelaruaelwdwywa xairepnsyyanthibxkkhatxbihaekma ekhakidphbwa ekhaexngkyngsngsyyanihkbmaodyimidtngic sungimidkhunxyukbwa ekhatxngkarcasngsyyanhruxim karekhaicthungpraktkarneyiyngni idmixiththiphlxyangsungsngtxkarxxkaebbkarthdlxngaelaraebiybwithiwicy innganthdlxngthukxyangthiphurbkarthdlxngepnstwthisamarthrbru rwmthngmnusyexng khwamesiyngtxpraktkarnekhlfewxraehns epnehtuphlxyanghnungthinkcitwithyaepriybethiyb comparative psychology txngthdsxbkbstwthixyuinsthanthithiaeykxxkepnsdswn ephuximihekidkarptismphnthkbstw aetwa aemwithiniexngkthaihekidpyhaxyangxun ephraawa praktkarnekiywkbprachankhxngstwthinasnicthisud mkcamikaraesdngxxkinsthankarnthimikhwamekiywkhxngkbknaelakn aelaephuxthicaaesdngpraktkarnehlann mikhwamcaepnthicatxngsrangkhwamsmphnthrahwangphufukkbstw praednniidrbkarsnbsnuncakixrin ephpephxrebirk phuidthakarsuksaekiywkbnkaekwchladchuxwaxaelks aelabithriks kardenxrphuthakarsuksainlingchimaepnsichuxwa wachu dngnn thahakwacaihmikaryxmrbkarsuksastwechnnixyangthwip kcatxnghawithithdsxbkhwamsamarthkhxngstw odyimihmixiththiphlcakpraktkarnekhlfewxraehns aetwa ephiyngaekhnaphufukxxkcakwngcrxaccaimichwithithiehmaasm ephraawa thakhwamsmphnthrahwangphufukkbstwnnmikalng karnaphufukxxkcakwngcrxackxihekidptikiriyathangcitic thaihstwnnimsamarthaesdngkhwamsamarthid dngnn cungcaepntxngaeswnghawithithikhnthixyurwmkbstwcaimrulwnghnawa ptikiriyakhxngstwtxkhxthdsxbnnkhwrcaepnxyangir ethiybkbsmmutithanthiepnpraednthdsxb praktkarnnikphbdwyinsunkhkhnhayaesphtid inpi kh s 2011 nkwicythimhawithyalyaekhlifxreniy edwis phbwa phufuksunkhsamarthsngsyyanodyimtngicihsunkhid thaihsunkhaesdngkarphbyaesphtidthiphidphlad inngansuksapi kh s 2004 kbsunkhthichuxwariok thiecakhxngbxkwaekhaicsphthkhaphudthung 200 kha nkwicypxngknpraktkarnekhlfewxraehns odyihecakhxngsngriokihipexakhxngcakhxngthixyutidkn aetephraaxyuinhxngkhnlahxng ecakhxngcungimsamarthaesdngptikiriyaihriokehnemuxkalngeluxkkhabexakhxngthisng dngthinganthdlxngsudthaykhxngphfungsththaihchdecn praktkarnnisamarthekididaeminnganthdlxngthimimnusyepnpraednkarthdlxng ehmuxnkbnganthdlxnginstw dngnn nkwicyinpraednekiywkbprachan citwithyaprachan aelacitwithyasngkhmtxngxxkaebbnganthdlxngihepnaebb sunghmaykhwamwa thngphuthdlxngaelaphurbkarthdlxngcaimruthungsphaphkhxngphurbkarthdlxng khuximruwaphurbkarthdlxngxyuinklumkarthdlxngihn aeladngnnkcaimrukhaphyakrnkhxngthvsdikarsuksawa phurbkarthdlxngcamiptikiriyaepnxyangir xikwithihnungthiichpxngknpraktkarnnikkhux karaethnphuthakarthdlxngdwykhxmphiwetxr sungsamarthsuxkhasngaelabnthukptikiriyatang odyimsngsyyanepntwchwyihkbphurbkarthdlxngduephimkhwamexnexiyngkhxngphuthdlxngechingxrrthaelaxangxing Clever Hans phenomenon skepdic subkhnemux 2008 12 11 Hothersall David 2004 History of Psychology McGraw Hill BERLIN S WONDERFUL HORSE He Can Do Almost Everything but Talk How He Was Taught PDF The New York Times 1904 09 04 subkhnemux 2015 02 20 Clever Hans The Horse of Mr von Osten by Oskar Pfungst Gutenberg org subkhnemux 2013 10 21 xaelks epnnkaekwphnthuaexfriknekry African Grey thiepnstwthiidrbkarsuksathung 30 pi caknkcitwithyastwixrin ephpephxrebirk txnaerkthimhawithyalyaexriosna phayhlngthimhawithyalyharwardaelamhawithyalyaebrnids dr ephpephxrebirkesnxwa xaelksmikhwamechliywchladinradbediywknkbplaolmaaelalingihy aelaethakbedkmnusyxayu 5 khwb wachu epnlingchimaepnsitwemiythirbkarsxnihsuxsarodyichphasamuxxemriknodysamarthichkhaidpraman 350 kha Clever Hounds URL The Economist 2011 02 15 subkhnemux 2011 05 14 Pfungst O 1911 Clever Hans The horse of Mr von Osten A contribution to experimental animal and human psychology aeplody Rahn C L New York Henry Holt The London Standard 1904 10 02 CLEVER HANS AGAIN Expert Commission Decides That the Horse Actually Reasons PDF The New York Times subkhnemux 2008 01 02 khxmulxunClever Hans the Math Horse Clever Hans The Horse of Mr Von Osten A Contribution to Experimental Animal and Human Psychology by Oskar Pfungst 1911 Project Gutenberg e text and HTML with graphs and photos