อ็องตวน อ็องรี แบ็กแรล (ฝรั่งเศส: Antoine Henri Becquerel, /bɛkʀɛl/; 15 ธันวาคม พ.ศ. 2395 – 25 สิงหาคม พ.ศ. 2451) นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส เกิดในตระกูลที่มีนักวิทยาศาสตร์ถึง 4 รุ่น ตั้งแต่รุ่นปู่จนกระทั่งรุ่นลูก เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี พ.ศ. 2446 ร่วมกับปีแยร์ กูรี และมารี กูรี หลังจากที่เขาถึงแก่กรรม ชื่อสกุลของเขาได้กลายเป็นหน่วยวัดกัมมันตภาพ ในระบบหน่วยเอสไอ คือ แบ็กแรล เขียนด้วยสัญลักษณ์ Bq
อ็องตวน อ็องรี แบ็กแรล | |
---|---|
อ็องรี แบ็กแรล, นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส | |
เกิด | 15 ธันวาคม ค.ศ. 1852 ปารีส, จักรวรรดิฝรั่งเศสที่สอง |
เสียชีวิต | 25 สิงหาคม ค.ศ. 1908 , แคว้นเบรอตาญ, สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่สาม | (55 ปี)
สัญชาติ | ฝรั่งเศส |
ศิษย์เก่า | |
มีชื่อเสียงจาก | ผู้ค้นพบกัมมันตภาพรังสี |
รางวัล |
|
อาชีพทางวิทยาศาสตร์ | |
สาขา | ฟิสิกส์, เคมี |
สถาบันที่ทำงาน | |
ลูกศิษย์ในระดับปริญญาเอก | มารี กูว์รี |
ลายมือชื่อ | |
หมายเหตุ | |
เขาเป็นพ่อของ, ลูกชายของ และหลานชายของ |
ชีวิตส่วนตัว
อ็องรี แบ็กแรล เกิดที่กรุงปารีส โดยเป็นบุตรของอาแล็กซ็องดร์-แอดมง แบ็กแรล (Alexandre-Edmond Becquerel) ซึ่งเป็นนักฟิสิกส์ที่ศึกษาเกี่ยวกับทัศนศาสตร์ ไฟฟ้า และแม่เหล็ก อ็องรีได้เข้าเรียนในโรงเรียน เอกอลปอลีแต็กนิก (École Polytechnique) ซึ่งเป็นโรงเรียนช่างฝีมือทหารของฝรั่งเศส และต่อมาก็เข้าเรียนใน เอกอลเดปงเซโชเซ (École des Ponts et Chaussées) ซึ่งเป็นโรงเรียนที่สอนวิชาวิศวกรรมศาสตร์ที่เก่าแก่แห่งหนึ่ง ในด้านชีวิตครอบครัว อ็องรีสมรสกับหลุยส์ เดซีเร ลอรีเยอ (Louise Désirée Lorieux) มีบุตร 1 คน คือ ฌ็อง แบ็กแรล (Jean Becquerel) ซึ่งก็ได้เป็นนักฟิสิกส์เช่นเดียวกับอ็องรี ต่อมา ในปี พ.ศ. 2451 อ็องรีได้รับเลือกให้เป็นเลขาธิการวิทยาลัยวิทยาศาสตร์แห่งฝรั่งเศส (Académie des Sciences) และถึงแก่กรรมที่เลอครัวซี (Le Croisic) ในแคว้นเบรอตาญ ในปีเดียวกันกับที่ได้รับเลือก
ชีวิตการงาน และงานวิจัยที่สำคัญ
ในปี พ.ศ. 2435 อ็องรีได้เป็นคนที่สามในตระกูลแบ็กแรล ที่ได้เป็นภัณฑารักษ์ส่วนฟิสิกส์ที่พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติแห่งชาติฝรั่งเศส (Muséum National d'Histoire Naturelle) อีกสองปีให้หลัง เขาได้รับตำแหน่งหัวหน้านายช่างประจำกรมการสะพานและทางหลวง
นับจากที่ได้รับตำแหน่งหัวหน้านายช่าง 2 ปี อ็องรีได้ศึกษาการเรืองแสงอย่างช้า (phosphorescence) ในเกลือยูเรเนียม จนเขาได้พบกัมมันตรังสีเข้าโดยบังเอิญ โดยเขาได้วางโพแทสเซียมยูเรนิลซัลเฟต ซึ่งตกทอดมาจากพ่อของเขา ไว้บนฟิล์มถ่ายรูปและวัสดุดำ จากนั้นนำไปตั้งไว้กลางแดด โดยเขาได้อธิบาย ณ ที่ประชุมวิทยาลัยวิทยาศาสตร์แห่งฝรั่งเศส มีใจความดังนี้
เมื่อหุ้มฟิล์มถ่ายรูปลูมีแยร์ด้วยกระดาษดำหนา ๆ ซึ่งมีสารพวกโบรไมด์คั่นอยู่ ฟิล์มนั้นจะไม่มีลายหมอก แม้ตั้งไว้กลางแดดจ้า เมื่อวางสารนั้น (โพแทสเซียมยูเรนิลซัลเฟต) บนกระดาษซึ่งทับห่อนั้น จากนั้นนำไปวางไว้กลางแดด แล้วเอาฟิล์มนั้นมาล้าง จะพบว่ามีลายหมอกเป็นสีดำบนภาพเนกะทีฟ (ภาพที่ยังไม่ได้อัด) เมื่อใดที่เอาวัตถุอื่นใดปกปิดสารนั้น แล้วทดลอง ก็ปรากฏรูปวัตถุนั้น ๆ บนฟิล์ม...ดังนั้นจึงสรุปว่า สารนั้นมีกัมมันตรังสีจริง รังสีนั้นผ่านทะลุกระดาษหนา ๆ ได้ และรีดิวซ์เงิน (โลหะ)ได้
จากการค้นพบนี้เอง ทำให้อ็องรีได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ร่วมกับสองสามีภรรยาตระกูลกูรี ในปี พ.ศ. 2446
อ้างอิง
- . London: Royal Society. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 March 2015.
- Comptes Rendus 122, 420 (1896), แปลโดย Carmen Giunta. เข้าถึงเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2550
แหล่งข้อมูลอื่น
- ประวัติอ็องรี แบ็กแรล จากเว็บรางวัลโนเบล 2008-07-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ประวัติย่อ และการใช้ระบบหน่วยเอสไอ (แบ็กแรล)
- Annotated bibliography for Henri Becquerel from the Alsos Digital Library for Nuclear Issues 2017-05-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xxngtwn xxngri aebkaerl frngess Antoine Henri Becquerel bɛkʀɛl 15 thnwakhm ph s 2395 25 singhakhm ph s 2451 nkfisikschawfrngess ekidintrakulthiminkwithyasastrthung 4 run tngaetrunpucnkrathngrunluk ekhaidrbrangwloneblsakhafisiksinpi ph s 2446 rwmkbpiaeyr kuri aelamari kuri hlngcakthiekhathungaekkrrm chuxskulkhxngekhaidklayepnhnwywdkmmntphaph inrabbhnwyexsix khux aebkaerl ekhiyndwysylksn Bqxxngtwn xxngri aebkaerlxxngri aebkaerl nkfisikschawfrngessekid15 thnwakhm kh s 1852 1852 12 15 paris ckrwrrdifrngessthisxngesiychiwit25 singhakhm kh s 1908 1908 08 25 55 pi aekhwnebrxtay satharnrthfrngessthisamsychatifrngesssisyekamichuxesiyngcakphukhnphbkmmntphaphrngsirangwl 1900 rangwloneblsakhafisiks 1903 1905 1908 xachiphthangwithyasastrsakhafisiks ekhmisthabnthithanganluksisyinradbpriyyaexkmari kuwrilaymuxchuxhmayehtuekhaepnphxkhxng lukchaykhxng aelahlanchaykhxngchiwitswntwxxngri aebkaerl ekidthikrungparis odyepnbutrkhxngxaaelksxngdr aexdmng aebkaerl Alexandre Edmond Becquerel sungepnnkfisiksthisuksaekiywkbthsnsastr iffa aelaaemehlk xxngriidekhaeriyninorngeriyn exkxlpxliaetknik Ecole Polytechnique sungepnorngeriynchangfimuxthharkhxngfrngess aelatxmakekhaeriynin exkxledpngesoches Ecole des Ponts et Chaussees sungepnorngeriynthisxnwichawiswkrrmsastrthiekaaekaehnghnung indanchiwitkhrxbkhrw xxngrismrskbhluys edsier lxrieyx Louise Desiree Lorieux mibutr 1 khn khux chxng aebkaerl Jean Becquerel sungkidepnnkfisiksechnediywkbxxngri txma inpi ph s 2451 xxngriidrbeluxkihepnelkhathikarwithyalywithyasastraehngfrngess Academie des Sciences aelathungaekkrrmthielxkhrwsi Le Croisic inaekhwnebrxtay inpiediywknkbthiidrbeluxkchiwitkarngan aelanganwicythisakhyphaphhmxkcakaephnfilmthixxngri aebkaerlidthdlxngnakmmntphaphrngsimawangbnaephnfilmthipkpidxyangdi aetkimxactanthankarthaluthalwngid inpi ph s 2435 xxngriidepnkhnthisamintrakulaebkaerl thiidepnphntharksswnfisiksthiphiphithphnthprawtisastrthrrmchatiaehngchatifrngess Museum National d Histoire Naturelle xiksxngpiihhlng ekhaidrbtaaehnnghwhnanaychangpracakrmkarsaphanaelathanghlwng nbcakthiidrbtaaehnnghwhnanaychang 2 pi xxngriidsuksakareruxngaesngxyangcha phosphorescence inekluxyuereniym cnekhaidphbkmmntrngsiekhaodybngexiy odyekhaidwangophaethsesiymyuernilsleft sungtkthxdmacakphxkhxngekha iwbnfilmthayrupaelawsduda caknnnaiptngiwklangaedd odyekhaidxthibay n thiprachumwithyalywithyasastraehngfrngess miickhwamdngni emuxhumfilmthayruplumiaeyrdwykradasdahna sungmisarphwkobrimdkhnxyu filmnncaimmilayhmxk aemtngiwklangaeddca emuxwangsarnn ophaethsesiymyuernilsleft bnkradassungthbhxnn caknnnaipwangiwklangaedd aelwexafilmnnmalang caphbwamilayhmxkepnsidabnphaphenkathif phaphthiyngimidxd emuxidthiexawtthuxunidpkpidsarnn aelwthdlxng kpraktrupwtthunn bnfilm dngnncungsrupwa sarnnmikmmntrngsicring rngsinnphanthalukradashna id aelaridiwsengin olha id cakkarkhnphbniexng thaihxxngriidrbrangwloneblsakhafisiksrwmkbsxngsamiphrryatrakulkuri inpi ph s 2446xangxing London Royal Society khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 16 March 2015 Comptes Rendus 122 420 1896 aeplody Carmen Giunta ekhathungemuxwnthi 13 minakhm ph s 2550aehlngkhxmulxunprawtixxngri aebkaerl cakewbrangwlonebl 2008 07 23 thi ewyaebkaemchchin prawtiyx aelakarichrabbhnwyexsix aebkaerl Annotated bibliography for Henri Becquerel from the Alsos Digital Library for Nuclear Issues 2017 05 04 thi ewyaebkaemchchin