อุศูลลุลฟิกฮ์ (อาหรับ: أصول الفقه) หรือ หลักนิติศาสตร์อิสลาม หมายถึง ศาสตร์ที่ว่าด้วยมาตาการต่าง ๆ ที่จะนำมาใช้ในการ. ประวัติความเป็นมาของศาสตร์นี้เริ่มต้นตั้งแต่ยุคของการจากไปของศาสดามุฮัมมัด (ศ). อุศูลลุลฟิกฮ์ เป็นศาสตร์ที่จะพิจารณาและตรวจสอบหลักการต่าง ๆ, มาตรการต่าง ๆ, ที่จะนำมาใช้ในการวินิจฉัยบทบัญญัติทางศาสนาว่าเป็นหลักการที่มีหลักบานยืยยันความน่าเชื่อถือหรือไม่ จึงจำเป็นที่ผู้เรียนจะต้องผ่านการศึกษา วิชาการด้านตรรกะและปรัชญามาแล้วพอสมควร
นิยามต่าง ๆ ของอุศูลหรืออัศล์
คำว่า อุศูล ฟิกอ์ เป็นคำผสม ที่ประกอบไปด้วยคำว่า อุศูล เป็นพหูพจน์ของคำ ว่า อัศล์ ตามรากศัพท์หมายถึง พื้นฐาน, รากฐาน, แก่น หรือหลักการ ในแง่วิชาการหมายถึงหลักการพื้นฐานในการวินิจฉัย เกี่ยวกับคำว่า อัศล์ หรือ อุศูล นักวอชาการสาย นิติศาสตร์อิสลามได้ให้ควาหมายไว้หลายประการดังนี้:
- อัศล์ ที่แปลว่า หลักสำคัญ, หรือ หลักใหญ่ ๆ ตรงกันข้ามกับ ข้อปลีกย่อย.
- อัศล์ ที่หมายถึง หลักการพื้นฐาน ที่ตรงกันข้าม กับ หลักการรอง เช่น หลักการพื้นฐานคือให้ยึดตามความหมายดั้งเดิมหรือความตามรากศัพท์ของคำศัพท์ในกรณีที่มีความคลุมเคลือในสองความหมายระหว่างความหมายรองหรือคงามหมายแรกของคำศัพท์
- อัศล์ ที่หมายถึง หลักฐาน หรือ ข้อพิสูจน์
- อัศล์ ที่แปลว่า กฎเกณฑ์
- อัศล์ที่หมายถึงมาตรการหรือหลักการที่ใช้ในการกำหนดหลักปฏิบัติในกรณีที่เกิดความสงสัยลังเลและไม่มีหลักฐานทางศานาบ่งชี้อย่างชัดเจน เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า มาตรการการวินิจฉัยหลักปฏิบัติแบบเฉพาะหน้า
คำว่า ฟิกฮ์ ตามรากศัพท์ หมายถึงความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง, ต่อมาก็มีความหมายที่แคบลง หมายถึง การทำความเข้าใจหลักการทางศาสนาอย่างลึกซึ้ง และในที่สุดก็ หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับบทบัญญัติหรือข้อปฏิบัติทางศาสนาพร้อมกับยกข้ออ้างอิงและหลักฐานของมันอย่างละเอียด
นิยามต่าง ๆ ของอุศูลุลฟิกฮ์
สำหรับคำว่า อุศูลุลฟิกฮ์ ตามที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ยังมีประเด็นถกเถียงอื่นไอีกในหมู่นักวิชาการสายนี้. มุฮักกิก คุราซานี ได้นิยามศาสตร์นี้ไว้ว่า : (อุศูลเป็นศาสตร์ที่ว่า หลักการต่าง ๆ ที่จะทำให้ได้มาซึ่งบทบัญญัติทางศาสนา.) เจ้าของหนังสือ กิฟายะฮ์ กล่าว่า : (อุศูลคือ ข้อมูลต่าง ๆ ที่จะนำมาซึ่งหลักปฏิบัติทางศาสนา ซึ่งอาจจะนำมาวินิจฉัยบทบัญญัติทางศาสนาได้เลย หรือ อาจนำมากำหนด หน้าที่ปฏิบัติแบบเฉพาะหน้าก็ได้.) นักวิชาการอุศูลสายอะลิซซุนนะฮ์ บางท่านอาทิเช่น อบู ซฺเราะห์ให้ความหมายศาสตร์นี้ว่า:เป็นการทำความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการต่าง ๆ ที่จะทำให้เรารับรู้ถึงบทบัญยัติทางศาสนาสและวินิจฉัยได้.
ประวัติความเป็นมา
นักวิชาการคนแรกที่ถูกกล่าวถึงเกี่ยวกับศาสตร์นี้ คือ อิมาม บาเก็ร (อ) (เสียชีวิต 114 ฮ.ศ.) และอิมามศอดิก(อ) (เสียชีวิต 148 ฮ.ศ.) และนักวิชาการสายอะลิซวุนะฮ์คนแรกที่เขียนตำราด้านนี้ไว้คือ ยะอฺกูบ บิน อิบรอฮีม (เสียชีวิต 182 ฮ.ศ.)
หัวข้อสำคัญ
- การสื่อความหมายของคำศัพท์
- คำผสม
- ประโยคคำสั่ง
- ประโยคห้าม
- ความหมายแฝง
- คำที่สื่อแบบครอบคลุม-โดยรวม
- คำที่สื่อแบบชี้เฉพาะ-แบบมีเงื่อไข
- คำที่มีความหมายเดียว
- คำที่สื้อได้มากกว่าหนึ่งความหมาย
- หลักฐานที่ไม่เป็นรายลักอัษร
- หลักฐานทางสติปัญญา
ตำรา
ทั้งนิกายชีอะฮ์และซุนนะฮ์ต่างเรียบเรียบตำราต่าง ๆ มากมายหลายเล่มเกี่ยวกับศาสตร์ อุศูล
รายชื่อตำราอุศูลของชีอะฮ์
- التذکره อัตตัซฺกะเราะห์ ของเชคมุฟีด
- عده الاصول อิดะตุ้ล อุศูล ของเชค ตูซี
- مناهج الوصول الی علم الاصول มะนาฮิจุล วุศูล อิลา อิมิล อุศูล ของ มุลลา อะฮ์หมัด นะรอกี
- معالم المجتهدین มะอาลิมุล มุจตะฮิดีน ของ อามุลี
- قوانین الاصول กอวานีนุล อุศูล ของ มีรซฺ กุมมี
- مبانی الاصول มะบานียุล อุศูล ของซัยยิด มุฮัมมัด ฮาชิม คอนซอรี
- هدایةالمسترشدین ฮิดายะตุ้ล มุซตัรชิดีน ของ มุฮัมมัด ตะกี อิสฟะฮานี
รายชื่อตาระอุศูลของอะฮ์ลิซซุนนะฮ์
- المستصفی فی اصول الفقه อัลมุซตัศฟา ฟี อุศูลลิลฟิกฮ์ ของ อบูฮามิด มุฮัมมัด ฆอซฺลี ชาฟิอี.
- المنخول فی الاصول ของ อบู ฮามิด ฆอซฺลี
- مختصر الاصول الحاجبی ของ อุษมาน อิบนิ อุมัร
- تعلیقه ของ มัซอูด บิน อุมัร
- انتشارات دانشگاه تهران อลี ริฏอ, เฟซฺ, มะบานี อุศูลฟิกฮ์,หน้า26-31
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xusullulfikh xahrb أصول الفقه hrux hlknitisastrxislam hmaythung sastrthiwadwymatakartang thicanamaichinkar prawtikhwamepnmakhxngsastrnierimtntngaetyukhkhxngkarcakipkhxngsasdamuhmmd s xusullulfikh epnsastrthicaphicarnaaelatrwcsxbhlkkartang matrkartang thicanamaichinkarwinicchybthbyytithangsasnawaepnhlkkarthimihlkbanyuyynkhwamnaechuxthuxhruxim cungcaepnthiphueriyncatxngphankarsuksa wichakardantrrkaaelaprchyamaaelwphxsmkhwrniyamtang khxngxusulhruxxslkhawa xusul fikx epnkhaphsm thiprakxbipdwykhawa xusul epnphhuphcnkhxngkha wa xsl tamraksphthhmaythung phunthan rakthan aekn hruxhlkkar inaengwichakarhmaythunghlkkarphunthaninkarwinicchy ekiywkbkhawa xsl hrux xusul nkwxchakarsay nitisastrxislamidihkhwahmayiwhlayprakardngni xsl thiaeplwa hlksakhy hrux hlkihy trngknkhamkb khxplikyxy xsl thihmaythung hlkkarphunthan thitrngknkham kb hlkkarrxng echn hlkkarphunthankhuxihyudtamkhwamhmaydngedimhruxkhwamtamraksphthkhxngkhasphthinkrnithimikhwamkhlumekhluxinsxngkhwamhmayrahwangkhwamhmayrxnghruxkhngamhmayaerkkhxngkhasphth xsl thihmaythung hlkthan hrux khxphisucn xsl thiaeplwa kdeknth xslthihmaythungmatrkarhruxhlkkarthiichinkarkahndhlkptibtiinkrnithiekidkhwamsngsylngelaelaimmihlkthanthangsanabngchixyangchdecn eriykxikchuxhnungwa matrkarkarwinicchyhlkptibtiaebbechphaahna khawa fikh tamraksphth hmaythungkhwamekhaicxyangthxngaethinsingidsinghnung txmakmikhwamhmaythiaekhblng hmaythung karthakhwamekhaichlkkarthangsasnaxyangluksung aelainthisudk hmaythung khwamruekiywkbbthbyytihruxkhxptibtithangsasnaphrxmkbykkhxxangxingaelahlkthankhxngmnxyanglaexiyd niyamtang khxngxusululfikh sahrbkhawa xusululfikh tamthiklawmaaelwkhangtn yngmipraednthkethiyngxunixikinhmunkwichakarsayni muhkkik khurasani idniyamsastrniiwwa xusulepnsastrthiwa hlkkartang thicathaihidmasungbthbyytithangsasna ecakhxnghnngsux kifayah klawa xusulkhux khxmultang thicanamasunghlkptibtithangsasna sungxaccanamawinicchybthbyytithangsasnaidely hrux xacnamakahnd hnathiptibtiaebbechphaahnakid nkwichakarxusulsayxalissunnah bangthanxathiechn xbu s eraahihkhwamhmaysastrniwa epnkarthakhwamekhaicekiywkbhlkkartang thicathaiherarbruthungbthbyytithangsasnasaelawinicchyid prawtikhwamepnmankwichakarkhnaerkthithukklawthungekiywkbsastrni khux ximam baekr x esiychiwit 114 h s aelaximamsxdik x esiychiwit 148 h s aelankwichakarsayxaliswunahkhnaerkthiekhiyntaradanniiwkhux yax kub bin xibrxhim esiychiwit 182 h s hwkhxsakhykarsuxkhwamhmaykhxngkhasphth khaphsm praoykhkhasng praoykhham khwamhmayaefng khathisuxaebbkhrxbkhlum odyrwm khathisuxaebbchiechphaa aebbmienguxikh khathimikhwamhmayediyw khathisuxidmakkwahnungkhwamhmay hlkthanthiimepnraylkxsr hlkthanthangstipyyatarathngnikaychixahaelasunnahtangeriyberiybtaratang makmayhlayelmekiywkbsastr xusul raychuxtaraxusulkhxngchixah التذکره xtts kaeraah khxngechkhmufid عده الاصول xidatul xusul khxngechkh tusi مناهج الوصول الی علم الاصول manahicul wusul xila ximil xusul khxng mulla xahhmd narxki معالم المجتهدین maxalimul muctahidin khxng xamuli قوانین الاصول kxwaninul xusul khxng mirs kummi مبانی الاصول mabaniyul xusul khxngsyyid muhmmd hachim khxnsxri هدایةالمسترشدین hidayatul mustrchidin khxng muhmmd taki xisfahaniraychuxtaraxusulkhxngxahlissunnah المستصفی فی اصول الفقه xlmustsfa fi xusullilfikh khxng xbuhamid muhmmd khxs li chafixi المنخول فی الاصول khxng xbu hamid khxs li مختصر الاصول الحاجبی khxng xusman xibni xumr تعلیقه khxng msxud bin xumrانتشارات دانشگاه تهران xli ritx efs mabani xusulfikh hna26 31