อุรังอุตังสุมาตรา | |
---|---|
สถานะการอนุรักษ์ | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Chordata |
ชั้น: | Mammalia |
อันดับ: | Primates |
วงศ์: | Hominidae |
วงศ์ย่อย: | |
สกุล: | Pongo |
สปีชีส์: | P. abelii |
ชื่อทวินาม | |
Pongo abelii , 1827 | |
การกระจายพันธุ์ในอินโดนีเซีย | |
ชื่อพ้อง | |
|
อุรังอุตังสุมาตรา (อังกฤษ: Sumatran orangutan; ชื่อวิทยาศาสตร์: Pongo abelii) เป็นหนึ่งในอุรังอุตังสองสปีชีส์ ซึ่งพบเฉพาะบนเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซียเท่านั้น อุรังอุตังชนิดนี้หายากและมีขนาดตัวเล็กกว่าอุรังอุตังบอร์เนียว (P. pygmaeus) อุรังอุตังสุมาตราเพศผู้มีความสูงได้ถึง 1.4 เมตร และหนัก 90 กิโลกรัม ขณะที่เพศเมียจะมีขนาดตัวเล็กกว่า โดยเฉลี่ยแล้วจะสูง 90 เซนติเมตร และหนัก 45 กิโลกรัม
พฤติกรรม
เมื่อเปรียบเทียบกับอุรังอุตังบอร์เนียวแล้ว อุรังอุตังสุมาตราค่อนข้างที่จะมีพฤติกรรมกินผลไม้ และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง กินแมลงมากกว่า ผลไม้ที่อุรังอุตังชนิดนี้ชื่นชอบ รวมไปถึง จิกและขนุน นอกจากนี้มันยังกินไข่นกและสัตว์มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กด้วย อุรังอุตังสุมาตราใช้เวลากินอาหารในเปลือกต้นไม้น้อยกว่ามาก
มีการสังเกตพบว่า อุรังอุตังสุมาตราป่าในบึง Suaq Balimbing สามารถใช้เครื่องมือได้ อุรังอุตังจะหักกิ่งไม้ที่มีขนาดยาวประมาณหนึ่งฟุต จากนั้นจึงหักกิ่งอ่อนออกและเสียดสีปลายด้านหนึ่ง จากนั้น มันจะใช้แท่งไม้ดังกล่าวเพื่อขุดเข้าไปในโพรงต้นไม้เพื่อหาปลวก พวกมันยังใช้แท่งไม้แหย่ผนังรังผึ้ง โดยขยับไปมา แล้วจึงจับเอาน้ำผึ้ง นอกเหนือจากนั้น อุรังอุตังยังใช้เครื่องมือในการกินผลไม้ด้วย เมื่อผลของต้นช้างไห้สุก สันเปลือกที่แข็งของมันจะอ่อนลงจนกระทั่งเปิดออก ภายในผลของมันคือเมล็ดที่อุรังอุตังชอบกิน แต่เมล็ดจะถูกหุ้มด้วยขนคล้ายเส้นใยแก้ว ซึ่งจะสร้างความเจ็บปวดให้แก่อุรังอุตังหากกินเข้าไป อุรังอุตังที่กินผลช้างไห้จะเลือกแท่งไม้ยาวห้านิ้ว แล้วหักเปลือกไม้ออก แล้วจึงค่อย ๆ รวบรวมเส้นขนโดยใช้แท่งไม้ดังกล่าว เมื่อผลไม้ปลอดภัยที่จะกินแล้ว มันก็จะกินเมล็ดโดยใช้แท่งไม้หรือนิ้วมือ ถึงแม้ว่าบึงที่คล้ายกันจะสามารถพบได้บนเกาะบอร์เนียว แต่อุรังอุตังบอร์เนียวไม่ใช้อุปกรณ์ประเภทนี้
อุรังอุตังสุมาตราจะอาศัยและหากินบนต้นไม้มากกว่าอุรังอุตังบอร์เนียว ซึ่งอาจเป็นเพราะเนื่องจากการมีนักล่าที่มีขนาดใหญ่กว่า อย่างเช่น เสือสุมาตรา มันจึงเคลื่อนที่จากต้นไม้ต้นหนึ่งไปยังอีกต้นหนึ่งโดย
อุรังอุตังสุมาตราในธรรมชาติที่มีความคุ้นเคยกับมนุษย์ จะยอมให้มนุษย์เข้าใกล้ได้มากกว่า แต่ก็ไม่ใกล้จนเกินไป ผิดจากประชากรที่อาศัยอยู่ในป่าลึกเมื่อพบมนุษย์จะรีบหนีทันที
อุรังอุตังสุมาตรา จะหักกิ่งไม้ทั้งกิ่งทำเป็นรังบนต้นไม้ โดยเลือกสถานที่ ๆ ปลอดภัย หนึ่งตัวอาจมีรังได้ถึง 3-4 แห่ง บางตัวอาจจะทำรังเพียงแค่นอนเล่น และมีพฤติกรรมย้ายรังไปเรื่อย ๆ
วัฏจักรชีวิต
อุรังอุตังสุมาตราเป็นสัตว์สังคมมากกว่าอุรังอุตังบอร์เนียว กลุ่มของอุรังอุตังเหล่านี้จะรวมตัวกันเพื่อหาอาหารบนต้นจิกที่มีอยู่เป็นจำนวนมาก อย่างไรก็ตาม เพศผู้โตเต็มวัยมักจะหลีกเลี่ยงการเผชิญหน้ากับเพศผู้ตัวเต็มวัยอีกตัวหนึ่ง เพศผู้ที่ยังโตไม่เต็มวัยจะพยายามจับคู่กับเพศเมีย ถึงแม้ว่าพวกมันมักจะประสบความล้มเหลวเป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากเพศเมียตัวเต็มวัยสามารถหลีกหนีเพศผู้เหล่านี้ได้อย่างง่ายดาย เพศเมียตัวเต็มวัยมักจะจับคู่กับเพศผู้ตัวเต็มวัยมากกว่า
ช่วงอัตราการเกิดของอุรังอุตังสุมาตรายาวนานกว่าอุรังอุตังบอร์เนียว และถือว่ายาวนานที่สุดในหมู่พวกลิงใหญ่ อุรังอุตังสุมาตราพร้อมที่จะมีลูกเมื่ออายุได้ 15 ปี ลูกอ่อนอุรังอุตังจะอยู่ใกล้กับแม่ของมันจนกระทั่งอายุได้ 3 ปี และแม้กระทั่งหลังจากนั้น พวกมันจะยังคงรวมกลุ่มกับแม่ของมัน อุรังอุตังทั้งสองชนิดมักจะมีชีวิตอยู่หลายทศวรรษ มีประมาณการอายุขัยว่าอาจสูงถึงมากกว่า 50 ปี ค่าเฉลี่ยของการผสมพันธุ์ครั้งแรกของอุรังอุตังสุมาตราอยู่ที่ 12.3 ปี ไม่มีสัญญาณระบุถึงภาวะหมดประจำเดือนในอุรังอุตังชนิดนี้
สถานะ
อุรังอุตังสุมาตราเป็นสัตว์ประจำถิ่นเกาะสุมาตรา และมีถิ่นที่อยู่อาศัยจำกัดโดยเฉพาะอย่างยิ่งทางตอนเหนือของเกาะ ในธรรมชาติ อุรังอุตังสุมาตรารอดชีวิตอยู่ในจังหวัดนังกรูอาเจะฮ์ดารุสสลาม (NAD) ซึ่งตั้งอยู่ทางปลายเหนือสุดของเกาะ อุรังอุตังชนิดนี้เคยมีถิ่นที่อยู่อาศัยอย่างกว้างขวาง เนื่องจากพบว่ามันได้เคยอาศัยห่างออกไปทางใต้ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 อย่างเช่น ในและปาดัง อุรังอุตังสุมาตราจำนวนน้อยยังได้อาศัยอยู่ในจังหวัดสุมาตราเหนือ ตามแนวที่ติดต่อกับ NAD โดยเฉพาะอย่างยิ่งในป่าทะเลสาบโทบา อุรังอุตังชนิดดังกล่าวได้ถูกจัดอันดับเป็นสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ขั้นวิกฤตในบัญชีแดงของ IUCN ตั้งแต่ ค.ศ. 2000 และได้รับการพิจารณาว่าเป็นหนึ่งใน "ไพรเมตที่ใกล้สูญพันธุ์ที่สุดในโลก 25 ชนิด"
การสำรวจใน ค.ศ. 2004 ประเมินว่ามีอุรังอุตังสุมาตราเหลืออยู่ประมาณ 7,300 ตัว และปัจจุบันเหลืออยู่เพียงแห่งเดียวในโลก คือ ซึ่งเป็นมรดกโลก
อ้างอิง
- (2005-11-16). Wilson, D. E.; Reeder, D. M. (บ.ก.). Mammal Species of the World (3rd ed.). Johns Hopkins University Press. .
- Singleton, I., Wich, S. A. & Griffiths, M. (2008). Pongo abelii. In: IUCN 2008. IUCN Red List of Threatened Species. Downloaded on 4 January 2009.
- "Science & Nature - Wildfacts - Sumatran orangutan". BBC. สืบค้นเมื่อ 2009-07-03.
- . "Tooling through the trees - tool use by wild orangutans" , November 1995.
- "Indonesia : สุดหล้าฟ้าเขียว". ช่อง 3. 6 September 2014. สืบค้นเมื่อ 6 September 2014.[]
- S. A. Wich; S. S. Utami-Atmoko; T. M. Setia; H. D. Rijksen; C. Schürmann, J.A.R.A.M. van Hooff and C. P. van Schaik (2004). "Life history of wild Sumatran orangutans (Pongo abelii)". Journal of Human Evolution. 47 (6): 385–398. doi:10.1016/j.jhevol.2004.08.006. PMID 15566945.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Singleton, I.; Wich, S.; Husson, S.; Stephens, S.; Utami Atmoko, S.; Leighton, M.; Rosen, N.; Traylor-Holzer, K.; Lacy, R.; Byers, O. (2004). "Orangutan population and habitat viability assessment". Final Report. IUCN/SSC Conservation Breeding Specialist Group (CSG). IUCN.
- Rijksen, H. D. (1978). "A Field Study on Sumatran Orang utans (Pongo pygmaeus abelli, Lesson 1827)". Ecology, Behavior and Conservation. Wageningen: Veenaman and Zonen.
- ; Wallis, J.; Rylands, A. B.; Ganzhorn, J. U.; Oates, J. F.; Supriatna, E. A.; Palacios, E.; Heymann, E. W.; Kierulff, M. C. M., บ.ก. (2009). (PDF). Arlington, VA.: IUCN/SSC Primate Specialist Group (PSG), International Primatological Society (IPS), and Conservation International (CI). pp. 1–92. ISBN . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-07-23. สืบค้นเมื่อ 2011-01-29.
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xurngxutngsumatrasthanakarxnurks IUCN 3 1 karcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Chordatachn Mammaliaxndb Primateswngs Hominidaewngsyxy skul Pongospichis P abeliichuxthwinamPongo abelii 1827karkracayphnthuinxinodniesiychuxphxngPongo pygmaeus abelii xurngxutngsumatra xngkvs Sumatran orangutan chuxwithyasastr Pongo abelii epnhnunginxurngxutngsxngspichis sungphbechphaabnekaasumatra praethsxinodniesiyethann xurngxutngchnidnihayakaelamikhnadtwelkkwaxurngxutngbxreniyw P pygmaeus xurngxutngsumatraephsphumikhwamsungidthung 1 4 emtr aelahnk 90 kiolkrm khnathiephsemiycamikhnadtwelkkwa odyechliyaelwcasung 90 esntiemtr aelahnk 45 kiolkrmphvtikrrmemuxepriybethiybkbxurngxutngbxreniywaelw xurngxutngsumatrakhxnkhangthicamiphvtikrrmkinphlim aelaodyechphaaxyangying kinaemlngmakkwa phlimthixurngxutngchnidnichunchxb rwmipthung cikaelakhnun nxkcaknimnyngkinikhnkaelastwmikraduksnhlngkhnadelkdwy xurngxutngsumatraichewlakinxaharinepluxktnimnxykwamak mikarsngektphbwa xurngxutngsumatrapainbung Suaq Balimbing samarthichekhruxngmuxid xurngxutngcahkkingimthimikhnadyawpramanhnungfut caknncunghkkingxxnxxkaelaesiydsiplaydanhnung caknn mncaichaethngimdngklawephuxkhudekhaipinophrngtnimephuxhaplwk phwkmnyngichaethngimaehyphnngrngphung odykhybipma aelwcungcbexanaphung nxkehnuxcaknn xurngxutngyngichekhruxngmuxinkarkinphlimdwy emuxphlkhxngtnchangihsuk snepluxkthiaekhngkhxngmncaxxnlngcnkrathngepidxxk phayinphlkhxngmnkhuxemldthixurngxutngchxbkin aetemldcathukhumdwykhnkhlayesniyaekw sungcasrangkhwamecbpwdihaekxurngxutnghakkinekhaip xurngxutngthikinphlchangihcaeluxkaethngimyawhaniw aelwhkepluxkimxxk aelwcungkhxy rwbrwmesnkhnodyichaethngimdngklaw emuxphlimplxdphythicakinaelw mnkcakinemldodyichaethngimhruxniwmux thungaemwabungthikhlaykncasamarthphbidbnekaabxreniyw aetxurngxutngbxreniywimichxupkrnpraephthni xurngxutngsumatracaxasyaelahakinbntnimmakkwaxurngxutngbxreniyw sungxacepnephraaenuxngcakkarminklathimikhnadihykwa xyangechn esuxsumatra mncungekhluxnthicaktnimtnhnungipyngxiktnhnungody xurngxutngsumatrainthrrmchatithimikhwamkhunekhykbmnusy cayxmihmnusyekhaiklidmakkwa aetkimiklcnekinip phidcakprachakrthixasyxyuinpalukemuxphbmnusycaribhnithnthi xurngxutngsumatra cahkkingimthngkingthaepnrngbntnim odyeluxksthanthi plxdphy hnungtwxacmirngidthung 3 4 aehng bangtwxaccatharngephiyngaekhnxneln aelamiphvtikrrmyayrngiperuxy wtckrchiwitxurngxutngsumatraepnstwsngkhmmakkwaxurngxutngbxreniyw klumkhxngxurngxutngehlanicarwmtwknephuxhaxaharbntncikthimixyuepncanwnmak xyangirktam ephsphuotetmwymkcahlikeliyngkarephchiyhnakbephsphutwetmwyxiktwhnung ephsphuthiyngotimetmwycaphyayamcbkhukbephsemiy thungaemwaphwkmnmkcaprasbkhwamlmehlwepnswnihy enuxngcakephsemiytwetmwysamarthhlikhniephsphuehlaniidxyangngayday ephsemiytwetmwymkcacbkhukbephsphutwetmwymakkwa chwngxtrakarekidkhxngxurngxutngsumatrayawnankwaxurngxutngbxreniyw aelathuxwayawnanthisudinhmuphwklingihy xurngxutngsumatraphrxmthicamilukemuxxayuid 15 pi lukxxnxurngxutngcaxyuiklkbaemkhxngmncnkrathngxayuid 3 pi aelaaemkrathnghlngcaknn phwkmncayngkhngrwmklumkbaemkhxngmn xurngxutngthngsxngchnidmkcamichiwitxyuhlaythswrrs mipramankarxayukhywaxacsungthungmakkwa 50 pi khaechliykhxngkarphsmphnthukhrngaerkkhxngxurngxutngsumatraxyuthi 12 3 pi immisyyanrabuthungphawahmdpracaeduxninxurngxutngchnidnisthanaxurngxutngsumatraepnstwpracathinekaasumatra aelamithinthixyuxasycakdodyechphaaxyangyingthangtxnehnuxkhxngekaa inthrrmchati xurngxutngsumatrarxdchiwitxyuincnghwdnngkruxaecahdarusslam NAD sungtngxyuthangplayehnuxsudkhxngekaa xurngxutngchnidniekhymithinthixyuxasyxyangkwangkhwang enuxngcakphbwamnidekhyxasyhangxxkipthangitinkhriststwrrsthi 19 xyangechn inaelapadng xurngxutngsumatracanwnnxyyngidxasyxyuincnghwdsumatraehnux tamaenwthitidtxkb NAD odyechphaaxyangyinginpathaelsabothba xurngxutngchniddngklawidthukcdxndbepnstwiklsuyphnthukhnwikvtinbychiaedngkhxng IUCN tngaet kh s 2000 aelaidrbkarphicarnawaepnhnungin iphremtthiiklsuyphnthuthisudinolk 25 chnid karsarwcin kh s 2004 praeminwamixurngxutngsumatraehluxxyupraman 7 300 tw aelapccubnehluxxyuephiyngaehngediywinolk khux sungepnmrdkolkxangxing 2005 11 16 Wilson D E Reeder D M b k Mammal Species of the World 3rd ed Johns Hopkins University Press ISBN 0 801 88221 4 Singleton I Wich S A amp Griffiths M 2008 Pongo abelii In IUCN 2008 IUCN Red List of Threatened Species Downloaded on 4 January 2009 Science amp Nature Wildfacts Sumatran orangutan BBC subkhnemux 2009 07 03 Tooling through the trees tool use by wild orangutans November 1995 Indonesia sudhlafaekhiyw chxng 3 6 September 2014 subkhnemux 6 September 2014 lingkesiy S A Wich S S Utami Atmoko T M Setia H D Rijksen C Schurmann J A R A M van Hooff and C P van Schaik 2004 Life history of wild Sumatran orangutans Pongo abelii Journal of Human Evolution 47 6 385 398 doi 10 1016 j jhevol 2004 08 006 PMID 15566945 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Singleton I Wich S Husson S Stephens S Utami Atmoko S Leighton M Rosen N Traylor Holzer K Lacy R Byers O 2004 Orangutan population and habitat viability assessment Final Report IUCN SSC Conservation Breeding Specialist Group CSG IUCN Rijksen H D 1978 A Field Study on Sumatran Orang utans Pongo pygmaeus abelli Lesson 1827 Ecology Behavior and Conservation Wageningen Veenaman and Zonen Wallis J Rylands A B Ganzhorn J U Oates J F Supriatna E A Palacios E Heymann E W Kierulff M C M b k 2009 PDF Arlington VA IUCN SSC Primate Specialist Group PSG International Primatological Society IPS and Conservation International CI pp 1 92 ISBN 978 1 934151 34 1 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2011 07 23 subkhnemux 2011 01 29 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb Pongo abelii