อินทรชิต (สันสกฤต: इन्द्र जीत อินฺทฺร ชีต) เดิมมีชื่อว่า รณพักตร์ เป็นบุตรทศกัณฐ์กับนางมณโฑ มีมเหสีชื่อ นางสุวรรณกันยุมา มีบุตรชื่อยามลิวันและกันยุเวก มีกายสีเขียว มีฤทธิ์เก่งกล้ามาก เมื่อโตขึ้นจึงทูลลาพระบิดาและพระมารดาเพื่อไปศึกษาวิชากับพระฤๅษีโคบุตรจนสำเร็จวิชามนต์มหากาลอัคคี จึงกราบลาอาจารย์เพื่อไปบำเพ็ญตบะ เมื่อบำเพ็ญจนเก่งกล้าแล้ว จึงทำพิธีขออาวุธวิเศษต่อมหาเทพทั้ง 3 มหาเทพจึงประทานอาวุธวิเศษให้ คือ
อินทรชิต | |
---|---|
ชัยชนะของอินทรชิต จิตรกรรมโดยราชา รวิ วรรมา | |
ชื่ออื่น | รณพักตร์ (รามเกียรติ์) เมฆนาท (รามายณะ) |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
คู่ครอง | |
บุตร - ธิดา | |
บิดา-มารดา | ท้าวทศกัณฐ์ นางมณโฑ |
พี่น้อง | องคต (พี่ชายร่วมมารดา) นางสีดา (น้องสาว) ไพนาสุริยวงศ์ (น้องชาย) นางสุพรรณมัจฉา (พี่น้องร่วมบิดา) บรรลัยกัลป์ (พี่น้องร่วมบิดา) ทศคีรีวัน ทศคีรีธร (พี่น้องร่วมบิดา) สิบรถ (พี่น้องร่วมบิดา) สหัสกุมาร (พี่น้องร่วมบิดา) |
พระอิศวรประทานศรพรหมาสตร์ และมอบพรสามารถแปลงร่างเป็นพระอินทร์ได้
พระพรหมประทานศรนาคบาศ และมอบพรหากเศียรตกลงพื้น จะเกิดไฟบรรลัยกัลป์ล้างโลก ต้องนำพานแว่นฟ้าของพระพรหมเท่านั้นมารองรับเศียรจึงจะระงับเหตุได้
พระนารายณ์ประทานศรวิษณุปาณัม
เมื่อได้รับพรและอาวุธวิเศษแล้ว รณพักตร์เกิดความหึกเหิมยกทัพบุกสวรรค์และรบกับพระอินทร์จนชนะ เมื่อทศกัณฐ์ทราบข่าวบุตรของตนมีชัยชนะก็ดีใจมาก จึงเปลื่ยนชื่อใหม่จากรณพักตร์เป็นอินทรชิต หมายถึง "ผู้พิชิตพระอินทร์" อินทรชิตได้ทำสงครามกับกองทัพพระลักษมณ์หลายครั้ง เอาชนะได้ในศึกนาคบาศและศึกพรหมาสตร์ อินทรชิตได้ทำพิธีกุมภนิยาแต่ก็ถูกพระลักษมณ์ทำลายพิธี จนเมื่ออินทรชิตหมดสิ้นอาวุธที่จะต่อกร จึงกลับกรุงลงกาไปลาพ่อแม่ลูกเมียก่อนยกทัพออกมารบครั้งสุดท้าย อินทรชิตถูกศรพรหมาสตร์ของพระลักษมณ์ตัดคอขาด โดยมีองคตถือพานแว่นฟ้ามารองรับเศียรเอาไว้
ลักษณหัวโขนอินทรชิต
กายสีเขียว หนึ่งหน้า สองกร ตาโพลง เขี้ยวคุด (เขี้ยวดอกมะลิ) ปากหุบ ทรงชฎาเดินหน หรือ กาบไผ่ยอดปัด จอนหูมี ๒ แบบ คือจอนหูแบบมนุษย์และจอนหูแบบยักษ์ นอกจากนี้ยังทำหน้าสีทองอีกแบบหนึ่ง และในตอนเป็นเด็กสวมกะบังหน้ามีเกี้ยวรัดจุก (ชฎาเด็กหรือหัวกุมารไว้จุก) กายสีเขียว ๑ พักตร์ ๒ กร ชุดแต่งกายด้วยจีวรสีเขียว
อินทรชิตในรามายณะ
อินทรชิต มีชื่อเดิมว่า เมฆนาท (สันสกฤต: मेघनाथ โมฆนาถ) เนื่องจากเวลาเกิด มีเสียงร้องไห้ดังเสียงฟ้าร้อง อินทรชิตรักและเทิดทูนบิดาของตนยิ่งกว่าสิ่งใด สามารถเอาชนะพระลักษมณ์และพระรามในสงครามหลายครั้งเนื่องจากพิธีกรรมที่บำเพ็ญทุกครั้งก่อนออกรบ แต่ครั้งสุดท้ายพระลักษมณ์บุกโจมตีในระหว่างทำพิธี อินทรชิตไม่ทันตั้งตัวแต่ยังต่อสู้อย่างกล้าหาญจนสิ้นใจตาย หลังจากทศกัณฐ์ทราบข่าวการตายของอินทรชิต ทศกัณฐ์เกิดความแค้นถึงกับตัดสินใจที่จะประหารนางสีดาที่เป็นต้นเหตุการตายของลูกชายและกุมภกรรณน้องชาย แต่เสนาบดีเตือนสติว่า ทั้งกุมภกรรณ อินทรชิต และเหล่าทหารทั้งหมดยอมสละชีวิตเพื่อนางสีดาได้อภิเษกกับทศกัณฐ์ ถ้าประหารนางไปการตายของเหล่านี้จะสูญเปล่า เพราะทศกัณฐ์เป็นทั้งพระราชา พี่ชาย และพ่อ ของเหล่าทหารที่ตายไปในครั้งนี้จะต้องรับผิดชอบด้วยการออกรบด้วยตัวเอง
อ้างอิง
- อินทรชิต
- อินทรชิต
- เมฆนาท ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542
- The Ramayana and Mahabharata
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xinthrchit snskvt इन द र ज त xin th r chit edimmichuxwa rnphktr epnbutrthsknthkbnangmnoth mimehsichux nangsuwrrnknyuma mibutrchuxyamliwnaelaknyuewk mikaysiekhiyw mivththiekngklamak emuxotkhuncungthullaphrabidaaelaphramardaephuxipsuksawichakbphravisiokhbutrcnsaercwichamntmhakalxkhkhi cungkrablaxacaryephuxipbaephytba emuxbaephycnekngklaaelw cungthaphithikhxxawuthwiesstxmhaethphthng 3 mhaethphcungprathanxawuthwiessih khuxxinthrchitchychnakhxngxinthrchit citrkrrmodyracha rwi wrrmachuxxunrnphktr ramekiyrti emkhnath ramayna khxmulswnbukhkhlkhukhrxngbutr thidabida mardathawthsknth nangmnothphinxngxngkht phichayrwmmarda nangsida nxngsaw iphnasuriywngs nxngchay nangsuphrrnmccha phinxngrwmbida brrlyklp phinxngrwmbida thskhiriwn thskhirithr phinxngrwmbida sibrth phinxngrwmbida shskumar phinxngrwmbida phraxiswrprathansrphrhmastr aelamxbphrsamarthaeplngrangepnphraxinthrid phraphrhmprathansrnakhbas aelamxbphrhakesiyrtklngphun caekidifbrrlyklplangolk txngnaphanaewnfakhxngphraphrhmethannmarxngrbesiyrcungcarangbehtuid phranaraynprathansrwisnupanm emuxidrbphraelaxawuthwiessaelw rnphktrekidkhwamhukehimykthphbukswrrkhaelarbkbphraxinthrcnchna emuxthsknththrabkhawbutrkhxngtnmichychnakdiicmak cungepluynchuxihmcakrnphktrepnxinthrchit hmaythung phuphichitphraxinthr xinthrchitidthasngkhramkbkxngthphphralksmnhlaykhrng exachnaidinsuknakhbasaelasukphrhmastr xinthrchitidthaphithikumphniyaaetkthukphralksmnthalayphithi cnemuxxinthrchithmdsinxawuththicatxkr cungklbkrunglngkaiplaphxaemlukemiykxnykthphxxkmarbkhrngsudthay xinthrchitthuksrphrhmastrkhxngphralksmntdkhxkhad odymixngkhtthuxphanaewnfamarxngrbesiyrexaiwlksnhwokhnxinthrchitkaysiekhiyw hnunghna sxngkr taophlng ekhiywkhud ekhiywdxkmali pakhub thrngchdaedinhn hrux kabiphyxdpd cxnhumi 2 aebb khuxcxnhuaebbmnusyaelacxnhuaebbyks nxkcakniyngthahnasithxngxikaebbhnung aelaintxnepnedkswmkabnghnamiekiywrdcuk chdaedkhruxhwkumariwcuk kaysiekhiyw 1 phktr 2 kr chudaetngkaydwyciwrsiekhiywxinthrchitinramaynaxinthrchit michuxedimwa emkhnath snskvt म घन थ omkhnath enuxngcakewlaekid miesiyngrxngihdngesiyngfarxng xinthrchitrkaelaethidthunbidakhxngtnyingkwasingid samarthexachnaphralksmnaelaphraraminsngkhramhlaykhrngenuxngcakphithikrrmthibaephythukkhrngkxnxxkrb aetkhrngsudthayphralksmnbukocmtiinrahwangthaphithi xinthrchitimthntngtwaetyngtxsuxyangklahaycnsinictay hlngcakthsknththrabkhawkartaykhxngxinthrchit thsknthekidkhwamaekhnthungkbtdsinicthicapraharnangsidathiepntnehtukartaykhxnglukchayaelakumphkrrnnxngchay aetesnabdietuxnstiwa thngkumphkrrn xinthrchit aelaehlathharthnghmdyxmslachiwitephuxnangsidaidxphieskkbthsknth thapraharnangipkartaykhxngehlanicasuyepla ephraathsknthepnthngphraracha phichay aelaphx khxngehlathharthitayipinkhrngnicatxngrbphidchxbdwykarxxkrbdwytwexngxangxingxinthrchit xinthrchitemkhnath tamphcnanukrmchbbrachbnthitysthan ph s 2542 The Ramayana and Mahabharata wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb xinthrchit