ปฏิจจสมุปบาท (/ปะติดจะสะหฺมุบบาด/) (บาลี: Paṭiccasamuppāda ปฏิจฺจสมุปฺปาท; สันสกฤต: प्रतित्यसमुद्पाद ปฺรติตฺยสมุทฺปาท) เป็นชื่อพระธรรมหัวข้อหนึ่งในศาสนาพุทธ เรียกอีกอย่างว่า อิทัปปัจจยตา หรือ ปัจจยาการ เป็นหลักธรรมที่อธิบายถึงการเกิดขึ้นพร้อมแห่งธรรมทั้งหลายเพราะอาศัยกัน, การที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกันจึงเกิดมีขึ้น เช่น ทุกข์เกิดขึ้นเพราะมีปัจจัย 12 เรื่องเกิดขึ้นสืบ ๆ เนื่องกันมาตามลำดับดังนี้ คือ
- เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย สังขารทั้งหลายจึงมี
- เพราะสังขารเป็นปัจจัย วิญญาณจึงมี
- เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมี
- เพราะนามรูปเป็นปัจจัย สฬายตนะจึงมี
- เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย ผัสสะจึงมี
- เพราะผัสสะเป็นปัจจัย เวทนาจึงมี
- เพราะเวทนาเป็นปัจจัย ตัณหาจึงมี
- เพราะตัณหาเป็นปัจจัย อุปาทานจึงมี
- เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย ภพจึงมี
- เพราะภพเป็นปัจจัย ชาติจึงมี
- เพราะชาติเป็นปัจจัย ชรามรณะจึงมี
- ความโศก ความคร่ำครวญ ทุกข์ โทมนัส และความคับแค้นใจ ก็มีพร้อม ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งปวงนี้ จึงมี
การเทศนาปฏิจจสมุปบาท ดังแสดงไปแล้วข้างต้น เรียกว่า อนุโลมเทศนา
หากแสดงย้อนกลับจากปลายมาหาต้น จากผลไปหาเหตุปัจจัย เช่น ชรามรณะเป็นต้น มีเพราะชาติเป็นปัจจัย ชาติมีเพราะภพเป็นปัจจัย ฯลฯ สังขารมีเพราะอวิชชาเป็นปัจจัย ดังนี้ เรียกว่า ปฏิโลมเทศนา
ลำดับแห่งปฏิจจสมุปบาทฝ่ายดับทุกข์
ความทุกข์ จะดับไปได้เพราะ ชาติ (การเกิดอัตตา"ตัวตน"คิดว่าตนเป็นอะไรอยู่) ดับ
ชาติ จะดับไปได้เพราะ ภพ (การมีภาระหน้าที่และภาวะทางใจ) ดับ
ภพ จะดับไปได้เพราะ อุปาทาน (ความยึดติดในสิ่งต่าง ๆ) ดับ
อุปาทาน จะดับไปได้เพราะ ตัณหา (ความอยาก) ดับ
ตัณหา จะดับไปได้เพราะ เวทนา (ความรู้สึกทุกข์หรือสุขหรือเฉยๆ) ดับ
เวทนา จะดับไปได้เพราะ ผัสสะ (การสัมผัส) ดับ
ผัสสะ จะดับไปได้เพราะ สฬายตนะ (อายตนะใน๖+นอก๖) ดับ
สฬายตนะ จะดับไปได้เพราะ (รูปขันธ์) ดับ
จะดับไปได้เพราะ วิญญาณ (วิญญาณขันธ์) ดับ
วิญญาณ จะดับไปได้เพราะ สังขาร (อารมณ์ปรุงแต่งวิญญาณ-เจตสิก) ดับ
สมุทยวาร-นิโรธวาร
การแสดงหลักปฏิจจสมุปบาท เป็นการแสดงให้เห็น ความเกิดขึ้นแห่งธรรมต่างๆ โดยอาศัยปัจจัยสืบทอดกันไปอย่างนี้ เป็น สมุทยวาร คือฝ่ายสมุทัย ใช้เป็นคำอธิบาย อริยสัจข้อที่สอง () คือ แสดงให้เห็นความเกิดขึ้นแห่งทุกข์ ปฏิจสมุปบาทที่แสดงแบบนี้เรียกว่า อนุโลมปฏิจจสมุปบาท
(ดังแสดงสองตัวอย่างที่ผ่านไป เป็น อนุโลมเทศนา และ ปฏิโลมเทศนา ของอนุโลมปฏิจจสมุปบาท ตามลำดับ)
การแสดงตรงกันข้ามกับข้างต้นนี้ เรียกว่า นิโรธวาร คือฝ่ายนิโรธ ใช้เป็นคำอธิบาย อริยสัจข้อที่สาม () เรียกว่า ปฏิโลมปฏิจจสมุปบาท แสดงให้เห็นความดับไปแห่งทุกข์ ด้วยอาศัยความดับไปแห่งปัจจัยทั้งหลาย สืบทอดกันไป เช่น
เพราะอวิชชาสำรอกดับไปไม่เหลือสังขารจึงดับ เพราะสังขารดับวิญญาณจึงดับ ฯลฯ เพราะชาติ ดับชรามรณะ (จึงดับ) ความโศก ความคร่ำครวญ ทุกข์ โทมนัส ความคับแค้นใจ ก็ดับ
ดังนี้เรียกว่า อนุโลมเทศนา ของ ปฏิโลมปฏิจจสมุปบาท
ส่วนปฏิโลมเทศนา ของ ปฏิโลมปฏิจจสมุปบาท ก็พึงแสดงย้อนว่า ชรามรณะเป็นต้น ดับเพราะชาติดับ ชาติดับเพราะภพดับ ฯลฯ สังขารดับเพราะอวิชชาดับ
อ้างอิง
- พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์".
- พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม".
- มหานิทานสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐
- ปัจจัยสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๖
- พุทธทาสภิกขุ. "ตัวกู-ของกู ฉบับย่อความ 2007-02-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน".
แหล่งข้อมูลอื่น
- ปฏิจสมุปบาท
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
pticcsmupbath patidcasah mubbad bali Paṭiccasamuppada ptic csmup path snskvt प रत त यसम द प द p rtit ysmuth path epnchuxphrathrrmhwkhxhnunginsasnaphuthth eriykxikxyangwa xithppccyta hrux pccyakar epnhlkthrrmthixthibaythungkarekidkhunphrxmaehngthrrmthnghlayephraaxasykn karthisingthnghlayxasykncungekidmikhun echn thukkhekidkhunephraamipccy 12 eruxngekidkhunsub enuxngknmatamladbdngni khux ephraaxwichchaepnpccy sngkharthnghlaycungmi ephraasngkharepnpccy wiyyancungmi ephraawiyyanepnpccy cungmi ephraanamrupepnpccy slaytnacungmi ephraaslaytnaepnpccy phssacungmi ephraaphssaepnpccy ewthnacungmi ephraaewthnaepnpccy tnhacungmi ephraatnhaepnpccy xupathancungmi ephraaxupathanepnpccy phphcungmi ephraaphphepnpccy chaticungmi ephraachatiepnpccy chramrnacungmi khwamosk khwamkhrakhrwy thukkh othmns aelakhwamkhbaekhnic kmiphrxm khwamekidkhunaehngkxngthukkhthngpwngni cungmi karethsnapticcsmupbath dngaesdngipaelwkhangtn eriykwa xnuolmethsna hakaesdngyxnklbcakplaymahatn cakphliphaehtupccy echn chramrnaepntn miephraachatiepnpccy chatimiephraaphphepnpccy l sngkharmiephraaxwichchaepnpccy dngni eriykwa ptiolmethsnaladbaehngpticcsmupbathfaydbthukkhkhwamthukkh cadbipidephraa chati karekidxtta twtn khidwatnepnxairxyu db chati cadbipidephraa phph karmipharahnathiaelaphawathangic db phph cadbipidephraa xupathan khwamyudtidinsingtang db xupathan cadbipidephraa tnha khwamxyak db tnha cadbipidephraa ewthna khwamrusukthukkhhruxsukhhruxechy db ewthna cadbipidephraa phssa karsmphs db phssa cadbipidephraa slaytna xaytnain6 nxk6 db slaytna cadbipidephraa rupkhnth db cadbipidephraa wiyyan wiyyankhnth db wiyyan cadbipidephraa sngkhar xarmnprungaetngwiyyan ectsik db sngkhar cadbipidephraa xwichcha khwamimruxyangaecmaecng dbsmuthywar niorthwarkaraesdnghlkpticcsmupbath epnkaraesdngihehn khwamekidkhunaehngthrrmtang odyxasypccysubthxdknipxyangni epn smuthywar khuxfaysmuthy ichepnkhaxthibay xriysckhxthisxng khux aesdngihehnkhwamekidkhunaehngthukkh pticsmupbaththiaesdngaebbnieriykwa xnuolmpticcsmupbath dngaesdngsxngtwxyangthiphanip epn xnuolmethsna aela ptiolmethsna khxngxnuolmpticcsmupbath tamladb karaesdngtrngknkhamkbkhangtnni eriykwa niorthwar khuxfayniorth ichepnkhaxthibay xriysckhxthisam eriykwa ptiolmpticcsmupbath aesdngihehnkhwamdbipaehngthukkh dwyxasykhwamdbipaehngpccythnghlay subthxdknip echn ephraaxwichchasarxkdbipimehluxsngkharcungdb ephraasngkhardbwiyyancungdb l ephraachati dbchramrna cungdb khwamosk khwamkhrakhrwy thukkh othmns khwamkhbaekhnic kdb dngnieriykwa xnuolmethsna khxng ptiolmpticcsmupbath swnptiolmethsna khxng ptiolmpticcsmupbath kphungaesdngyxnwa chramrnaepntn dbephraachatidb chatidbephraaphphdb l sngkhardbephraaxwichchadbxangxingphrathrrmpidk prayuthth pyut ot phcnanukrmphuththsasn chbbpramwlsphth phrathrrmpidk prayuthth pyut ot phcnanukrmphuththsasn chbbpramwlthrrm mhanithansutr phraitrpidk elmthi 10 pccysutr phraitrpidk elmthi 16 phuthththasphikkhu twku khxngku chbbyxkhwam 2007 02 12 thi ewyaebkaemchchin aehlngkhxmulxunpticsmupbath