อาการเคล็ด หรือ อาการแพลง (อังกฤษ: sprain) เป็นการบาดเจ็บของเนื้อเยื่ออ่อนคือเอ็นภายในข้อต่อ มักเกิดจากการเคลื่อนไหวอย่างกะทันหันที่เกินขอบเขตการเคลื่อนไหวปกติ เอ็น/เอ็นยึด (ligament) เป็นเส้นใยที่เหนียวและยืดไม่ได้ ทำด้วยคอลลาเจน ทำหน้าที่เชื่อมกระดูกตั้งแต่สองชิ้นขึ้นไปเป็นข้อต่อ สำคัญต่อความเสถียรของข้อต่อและการรับรู้อากัปกิริยาซึ่งเป็นการรับรู้ตำแหน่งและการเคลื่อนไหวของแขนขา อาการอาจเป็นขั้นเบา (ระดับหนึ่ง) ปานกลาง (ระดับสอง) หรือมาก (ระดับสาม) โดยเอ็นยึดจะฉีกขาดบ้างในสองอย่างหลัง นี่อาจเกิดขึ้นที่ข้อต่อใดก็ได้แต่มักเกิดที่ข้อเท้า เข่า หรือข้อมือ การบาดเจ็บที่คล้ายกันที่เกิดกับกล้ามเนื้อหรือเอ็นกล้ามเนื้อ (tendon) เรียกว่า กล้ามเนื้อฉีก (strain)
อาการเคล็ด/อาการแพลง (Sprain) | |
---|---|
ชื่ออื่น | เอ็นยึดฉีก, distorsion |
ข้อเท้าแพลง มีรอยฟกช้ำและบวม | |
สาขาวิชา | เวชศาสตร์การกีฬา, เวชศาสตร์และการฟื้นฟูกายภาพ, ออร์โทพีดิกส์, เวชศาสตร์ครอบครัว, เวชศาสตร์ฉุกเฉิน |
อาการ | เจ็บปวด บวม ฟกช้ำ ข้อต่อไม่เสถียร ช่วงการเคลื่อนไหวของข้อต่อจำกัด |
ระยะดำเนินโรค | เป็นน้อย - ไม่กี่วัน–6 สัปดาห์ เป็นมาก - ไม่กี่สัปดาห์–เดือน ๆ |
สาเหตุ | การบาดเจ็บ การบาดเจ็บจากกีฬา การใช้งานมากเกินไป อันตรายจากสิ่งแวดล้อม |
ปัจจัยเสี่ยง | ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม อายุ การฝึกซ้อมไม่ดีหรืออุปกรณ์กีฬาไม่เหมาะสม |
วิธีวินิจฉัย | ตรวจร่างกาย เอกซเรย์ข้อ |
โรคอื่นที่คล้ายกัน | กล้ามเนื้อฉีก กระดูกหัก |
การป้องกัน | ยืดแขนขาและออกแรงกล้ามเนื้อบ่อย ๆ, ใส่อุปกรณ์พยุงข้อต่อที่เสี่ยงระหว่างออกกำลังกาย |
การรักษา | พักผ่อน, ประคบน้ำแข็ง, พันผ้ารัด, ยกสูง, ยาแก้ปวด NSAID |
ยา | ยาแก้อักเสบชนิดไม่ใช่สเตอรอยด์ (NSAID) |
พยากรณ์โรค | แบบเป็นน้อยหายเองได้ดี แบบเป็นมากน่าจะต้องผ่าตัดหรือทำกายภาพบำบัด |
ส่วนใหญ่อาการเป็นแบบเบา ทำให้เกิดอาการบวมและช้ำเล็กน้อยซึ่งหายได้ด้วยการรักษาแบบอนุรักษนิยม คือ พักผ่อน ประคบน้ำแข็ง พันผ้ารัด และยกส่วนที่บาดเจ็บให้สูง อย่างไรก็ตาม อาการหนักอาจเป็นแบบฉีกขาดออกหมด การฉีก หรือกระดูกหักแบบดึงขาด (avulsion fracture) ซึ่งทำให้ข้อต่อไม่เสถียร เจ็บมาก และใช้งานได้น้อยลง ขั้นนี้ต้องผ่าตัดเพื่อยึดตรึง จำกัดการเคลื่อนไหวเป็นเวลานาน และทำกายภาพบำบัด
อาการ
- เจ็บปวด
- ฟกช้ำหรือมีเลือดออกในเนื้อเยื่อเพราะหลอดเลือดแตกภายในเอ็นยึดที่บาดเจ็บ
- ข้อต่อไม่เสถียร
- รับน้ำหนักได้ไม่ดี
- ใช้งานหรือมีช่วงการเคลื่อนไหวของข้อต่อที่บาดเจ็บลดลง
- เมื่อเอ็นฉีกขาดอาจก่อเสียงแตกหรือเสียงดังป๊อบในขณะนั้น
การรู้จักอาการแพลงอาจมีประโยชน์ในการแยกแยะการบาดเจ็บนี้จากกล้ามเนื้อฉีก (strain) และกระดูกหักธรรมดา อาการเคล็ดมักมากับความเจ็บปวด ตะคริว กล้ามเนื้อหดเกร็ง และกล้ามเนื้ออ่อนแรง กระดูกหักมักมากับอาการกดเจ็บที่กระดูกโดยเฉพาะเมื่อต้องรับน้ำหนัก
สาเหตุ
อาการเคล็ดเฉียบพลันมักเกิดเมื่อข้อต่อถูกบังคับให้เคลื่อนไหวเกินขีดจำกัดอย่างกะทันหัน ในสถานการณ์ที่เกิดการบาดเจ็บ หรือเมื่อเล่นกีฬา สาเหตุที่พบมากที่สุดทั่วไปก็คือการเคลื่อนไหวซ้ำ ๆ (คือใช้งานมากเกินไป)
กลไก
เอ็นยึดเป็นเส้นใยคอลลาเจนที่เชื่อมต่อกระดูกเข้าด้วยกัน และให้ความเสถียรแบบไม่ใช้แรงแก่ข้อต่อ พบได้ในรูปแบบการจัดเรียงที่หลากหลาย เช่น ขนาน เฉียง เป็นเกลียว โดยขึ้นอยู่กับหน้าที่ของข้อต่อที่เกี่ยวข้อง เอ็นยึดสามารถอยู่นอกแคปซูลข้อต่อ (extra-capsular) เป็นส่วนต่อเนื่องกับแคปซูลข้อต่อ (capsular) หรืออยู่ภายในแคปซูลข้อต่อ (intra-articular) ตำแหน่งมีความสำคัญในการรักษา เพราะเอ็นภายในแคปซูลมีเลือดไหลเลี้ยงน้อยเทียบกับทั้งสองตำแหน่งอื่นที่เหลือ
เส้นใยคอลลาเจนมีเขตยืดหยุ่นประมาณ 4% ซึ่งเส้นใยจะยืดออกเมื่อเพิ่มน้ำหนักที่ข้อ อย่างไรก็ตาม การเกินขีดจำกัดความยืดหยุ่นนี้จะทำให้เส้นใยฉีก ทำให้แพลง เอ็นยึดจะปรับตัวต่อการออกกำลังกล้ามเนื้อโดยเพิ่มพื้นที่หน้าตัดของเส้นใย เมื่อเอ็นยึดถูกตรึงให้อยู่กับที่ ก็พบว่าจะอ่อนแอลงอย่างรวดเร็ว ดังนั้น กิจกรรมประจำวันเป็นปกติจึงสำคัญเพื่อรักษาคุณสมบัติทางกลของเอ็นยึดไว้ประมาณ 80–90%
ปัจจัยเสี่ยง
- ความเหนื่อยล้าและการใช้งานมากเกินไป
- กีฬาที่ปะทะกันรุนแรง
- ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม
- วิธีการออกกำลังกายหรืออุปกรณ์ที่ใช้ไม่ดี
- อายุและความโน้มเอียงทางพันธุกรรมต่อการบาดเจ็บของเอ็นยึด
- ไม่ยืดแข้งเหยียดขาหรือวอร์มอัพก่อนออกกำลังกาย ซึ่งเมื่อทำอย่างถูกต้องจะช่วยเพิ่มการไหลเวียนของเลือดและความยืดหยุ่นของข้อต่อ
การวินิจฉัย
อาการแพลงมักวินิจฉัยได้ทางคลินิกโดยอาศัยอาการของผู้ป่วย กลไกการบาดเจ็บ และการตรวจร่างกาย แต่ก็สามารถเอกซ์เรย์เพื่อช่วยตรวจกระดูกหักได้ โดยเฉพาะในกรณีที่มีอาการกดเจ็บหรือปวดกระดูกบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บ ในบางกรณี โดยเฉพาะถ้าหายช้าหรือสงสัยว่าบาดเจ็บหนักกว่าที่เห็น ก็อาจตรวจด้วยเอ็มอาร์ไอเพื่อดูเนื้อเยื่ออ่อนและเอ็นยึดรอบ ๆ
การจำแนกประเภท
- อาการแพลงระดับหนึ่ง (เบา) มีการยืดและความเสียหายทางโครงสร้างของเอ็นยึดเล็กน้อย ทำให้บวมและช้ำแบบเบา ๆ มักไม่มีอาการข้อต่อไม่เสถียรหรือช่วงการเคลื่อนไหวข้อที่ลดลง
- อาการแพลงระดับสอง (ปานกลาง) - มีการฉีกบ้างของเอ็นยึด มักมีอาการบวม กดเจ็บ และข้อต่อไม่เสถียรบ้าง ข้อต่ออาจรับน้ำหนักไม่ดี
- อาการแพลงระดับสาม (หนัก) - มีการฉีกหรือขาดอย่างบริบูรณ์ของเอ็นยึด บางครั้งอาจดึงชิ้นส่วนกระดูกออกมาด้วย มักมีอาการข้อต่อไม่เสถียรมาก ปวด ช้ำ บวม ข้อต่อรับน้ำหนักไม่ได้
ข้อต่อที่เกี่ยวข้อง
แม้ว่าข้อต่อใดก็สามารถเกิดการแพลงได้ แต่ที่พบบ่อยได้แก่
- ข้อเท้า - การแพลงมักเกิดขึ้นที่ข้อเท้าและอาจใช้เวลาในการหายนานกว่ากระดูกข้อเท้าหัก ส่วนใหญ่มักเกิดที่เอ็นยึดด้านข้าง (lateral ligament) บริเวณด้านนอกของข้อเท้า เหตุสามัญรวมการเดินบนพื้นผิวที่ไม่เรียบหรือเกิดระหว่างการเล่นกีฬาที่ปะทะกัน
- ข้อเท้าแพลงแบบบิดเข้าด้านใน - เกิดเมื่อข้อเท้าหมุน/พลิกเข้าด้านใน
- ข้อเท้าแพลงแบบบิดออกด้านนอก - เกิดเมื่อข้อเท้าหมุน/พลิกออกด้านนอก
- นิ้วเท้า
- ข้อนิ้วโป้งเท้าแพลง (metatarsophalangeal joint sprain) เป็นการเหยียดนิ้วโป้งเท้าขึ้นเกินประมาณ โดยเฉพาะระหว่างการเล่นกีฬา (เช่น การเริ่มวิ่งเร็วบนพื้นที่แข็ง)
- เข่า เข่ามักแพลงอย่างสามัญ โดยเฉพาะหลังจากการหมุนตัวอย่างรวดเร็วบนขาที่ปักไว้กับพื้นระหว่างเล่นกีฬาที่มีการปะทะ (เช่น อเมริกันฟุตบอล ฟุตบอล บาสเกตบอล ซอฟต์บอล เบสบอล และศิลปะการต่อสู้บางประเภท)
- การบาดเจ็บที่เอ็นไขว้หน้า (anterior cruciate ligament)
- การบาดเจ็บที่เอ็นไขว้หลัง (posterior cruciate ligament)
- การบาดเจ็บที่เอ็นเข่าด้านใน (medial collateral ligament)
- การบาดเจ็บที่เอ็นเข่าด้านนอก (lateral collateral ligament)
- การเคล็ดที่ข้อต่อกระดูกแข้ง-น่องส่วนบน (superior tibiofibular joint sprain) มักเกิดจากการบิดที่ข้อต่อระหว่างกระดูกแข้งกับกระดูกน่อง
- กระดูกสะบ้าเคลื่อน (patellar dislocation)
- นิ้วมือและข้อมือ การเคล็ดข้อมือเกิดขึ้นบ่อยโดยเฉพาะถ้าล้มแล้วใช้มือยัน
- การแพลงที่นิ้วโป้งมือ คือการจับอย่างแรงจะก่อการบาดเจ็บที่ ulnar collateral ligament (UCL) ที่ข้อโคนนิ้วโป้ง (metacarpophalangeal) ของมือ
- กระดูกสันหลัง
- การเคล็ดคอที่กระดูกสันหลังส่วนคอ (cervical vertebrae)
- การบาดเจ็บที่คอแบบวิปแลช (traumatic Cervical Spine Syndrome) เกิดจากการเหยียดและงอคออย่างรุนแรง มักพบในอุบัติเหตุรถชนท้าย
- การเคล็ดหลัง เป็นปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยที่สุดอย่างหนึ่ง มักเกิดจากการยกของอย่างไม่ถูกวิธีและกล้ามเนื้อลำตัวที่ไม่แข็งแรง
การรักษา
การรักษามักรวมมาตรการเชิงอนุรักษ์เพื่อลดอาการ การผ่าตัดเพื่อซ่อมแซมการฉีกหรือการฉีกขาดที่หนัก และการฟื้นฟูสมรรถภาพเพื่อฟื้นสภาพการทำงานของข้อต่อ แม้อาการส่วนใหญ่จะรักษาได้โดยไม่ต้องผ่าตัด แต่การบาดเจ็บหนักอาจต้องปลูกถ่ายเอ็นหรือซ่อมเอ็นยึดโดยขึ้นอยู่กับสถานการณ์ จะต้องทำการฟื้นฟูสมรรถภาพแค่ไหนและเวลาที่ต้องใช้ในการฟื้นตัวจะขึ้นอยู่กับความหนักเบา
อาการแพลงที่เท้าเป็นการบาดเจ็บของเอ็นยึดที่เชื่อมกระดูกในเท้า กระบวนการฟื้นฟูมีความสำคัญอย่างยิ่งในการคืนสภาพการทำงานปกติและป้องกันการบาดเจ็บในอนาคต บทความนี้อธิบายถึงแนวทางทั่วไปในการฟื้นฟูจากการบาดเจ็บซึ่งแตกต่างกันไปตามความหนักเบา
แบบไม่ผ่าตัด
ขึ้นอยู่กับกลไกการบาดเจ็บ ข้อต่อที่เกี่ยวข้อง และความหนักเบา อาการเคล็ดส่วนใหญ่สามารถรักษาได้ด้วยวิธีอนุรักษนิยมที่จะกล่าวต่อไป โดยทำภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังจากบาดเจ็บ อย่างไรก็ตาม ควรตระหนักว่า การรักษาควรปรับให้เหมาะกับการบาดเจ็บและอาการเฉพาะของผู้ป่วยแต่ละราย ยาที่ไม่ต้องมีใบสั่งแพทย์ เช่น ยาแก้อักเสบชนิดไม่ใช่สเตอรอยด์ (NSAIDs) สามารถช่วยบรรเทาอาการปวดได้ และยา NSAID แบบทาภายนอกก็อาจมีประสิทธิภาพเท่ากับยากิน
- ป้องกัน - บริเวณที่บาดเจ็บควรได้รับการป้องกันและยึดตรึง เพราะเสี่ยงเกิดการบาดเจ็บซ้ำที่เอ็นยึดซึ่งก่อปัญหาเพิ่มขึ้น
- พัก - ข้อต่อที่ได้รับผลกระทบควรยึดตรึงไว้และควรลดการรับน้ำหนักให้น้อยที่สุด เช่น ควรจำกัดการเดินในกรณีที่ข้อเท้าแพลง
- ประคบน้ำแข็ง - ควรใช้น้ำแข็งประคบบริเวณที่บาดเจ็บทันทีเพื่อลดอาการบวมและปวด สามารถใช้น้ำแข็งประคบ 3–4 ครั้งต่อวัน ครั้งละ 10–15 นาที หรือจนกว่าอาการบวมจะลดลง โดยสามารถใช้ร่วมกับการพันผ้าเพื่อพยุง การประคบเย็นยังสามารถใช้เพื่อบรรเทาอาการปวด แต่ควรใช้เพียงระยะเวลาสั้น ๆ (น้อยกว่า 20 นาที) เพราะการใช้น้ำแข็งเป็นเวลานานอาจลดการไหลเวียนของเลือดไปยังบริเวณที่บาดเจ็บและทำให้หายช้าลง
- กดรัด - ควรใช้ผ้าพันแผลหรือผ้าพันเพื่อยึดตรึงบริเวณที่บาดเจ็บและเพื่อให้การสนับสนุน เมื่อพันบริเวณที่บาดเจ็บ ควรรัดให้แน่นที่ปลายของบาดแผลแล้วลดความแน่นในทิศทางที่เข้ามาใกล้หัวใจ ซึ่งช่วยให้เลือดไหลเวียนจากปลายแขนขาไปยังหัวใจ การจัดการอาการบวมอย่างระมัดระวังด้วยการกดเย็น (cold compression therapy) สำคัญมากเพื่อให้หายเพราะป้องกันการคั่งของของเหลวในบริเวณที่บาดเจ็บ อย่างไรก็ตาม การกดรัดไม่ควรขัดขวางการไหลเวียนของเลือดในแขนขา
- ยกสูง - การยกข้อต่อที่เคล็ดให้สูงขึ้น (เมื่อเทียบกับส่วนที่เหลือของร่างกาย) จะช่วยลดอาการบวมได้
วิธีการรักษาแบบไม่ผ่าตัดอื่น ๆ รวมถึงเครื่องเคลื่อนไหวแขนขาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องโดยผู้ป่วยไม่ออกแรง (continuous passive motion machine) และปลอกถุงน้ำแข็งแบบพิเศษ คือ cryocuff (เป็นเครื่องประคบเย็นที่เปิดใช้งานคล้ายกับเครื่องวัดความดันโลหิต) มีประสิทธิภาพลดอาการบวมและปรับปรุงช่วงการเคลื่อนไหว การศึกษาปี 2018 แสดงว่าการให้ออกแรงที่ข้อเมื่อดึงไว้ด้วยสายยาง (joint mobilization using elastic band traction) มีประสิทธิภาพเท่ากับเทคนิคมาตรฐาน 5 อย่างด้านบนสำหรับผู้ป่วยเด็กที่แพลงข้อเท้า
การฟื้นฟูสภาพการใช้งาน
องค์ประกอบของโปรแกรมฟื้นฟูสภาพที่มีประสิทธิภาพสำหรับอาการแพลงทั้งหมด รวมถึงการเพิ่มช่วงการเคลื่อนไหวของข้อต่อที่เป็นปัญหาและการออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อแบบค่อย ๆ เพิ่ม หลังจากใช้มาตรการอนุรักษนิยมเพื่อลดอาการบวมและปวดแล้ว การเคลื่อนไหวแขนขาภายใน 48–72 ชั่วโมงหลังการบาดเจ็บได้พบว่า ช่วยให้หายโดยกระตุ้น growth factor ในเนื้อเยื่อกระดูกและกล้ามเนื้อ เป็น growth factor ที่เกี่ยวข้องกับการแบ่งเซลล์และการปรับโครงสร้างสารเคลือบเซลล์ (matrix remodeling)
การยึดตรึงข้อให้ไม่เคลื่อนไหวเป็นเวลานานอาจทำให้อาการแพลงหายช้าลง เพราะกล้ามเนื้อมักจะฝ่อลีบหรืออ่อนแอ อย่างไรก็ดี งานศึกษาปี 1996 แสดงนัยว่า การใช้อุปกรณ์พยุงสามารถช่วยให้หายโดยบรรเทาความปวดและทำให้ข้อมั่นคงเพื่อป้องกันความเสียหายเพิ่มเติมต่อเอ็นยึดหรือการบาดเจ็บซ้ำ เมื่อใช้อุปกรณ์พยุง จำเป็นต้องแน่ใจว่าปลายแขนขามีเลือดไหลเวียนถึงอย่างเพียงพอ เป้าหมายสูงสุดของการฟื้นฟูการใช้งานก็คือให้ผู้ป่วยสามารถกลับไปทำกิจกรรมประจำวันได้อย่างเต็มที่ ในขณะที่ลดความเสี่ยงการบาดเจ็บซ้ำให้น้อยที่สุด
เชิงอรรถและอ้างอิง
- "sprain", NECTEC's Lexitron-2, หน่วยปฏิบัติการวิจัยวิทยาการมนุษยภาษา, ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,
อาการเคล็ด
- ผาสุกสมิต, บุริศร์ (2023-03-17). "การเตรียมรับมือกับภาวะโรคข้อเท้าแพลง (Ankle Sprain)". Faculty of Physical Therapy, Mahidol University. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2024-09-23.
- Bahr, Roald; Alfredson, Håkan; Järvinen, Markku; Järvinen, Tero; Khan, Karim; Kjaer, Michael; Matheson, Gordon; Maehlum, Sverre (2012-06-22), Bahr, Roald (บ.ก.), "Types and Causes of Injuries", The IOC Manual of Sports Injuries, Wiley-Blackwell, pp. 1–24, doi:10.1002/9781118467947.ch1, ISBN ,
Ligaments consist of collagen tissue that connects one bone to another. Their primary function is passive stabilization of the joints. In addition, the ligaments serve an important proprioceptive function.
- Frank, CB (June 2004). "Ligament structure, physiology and function" (PDF). J Musculoskelet Neuronal Interact. 4 (2): 199–201. PMID 15615126. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2024-02-26.
- Hartshorne, Henry. "Sprained Joints". The Home Cyclopedia Of Health And Medicine. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2024-08-08. สืบค้นเมื่อ 2010-02-16.
- "Ligament Sprain". Physiopedia (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-07-30. สืบค้นเมื่อ 2020-04-13.
- Nancy Garrick, Deputy Director (2017-04-10). "Sprains and Strains". National Institute of Arthritis and Musculoskeletal and Skin Diseases (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- "Sprains and Strains". medlineplus.gov. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- "Sprains - Symptoms and causes". Mayo Clinic (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2024-09-18. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- "Strains and Sprains Signs, Symptoms, Diagnosis and Treatment Information on MedicineNet.com". MedicineNet (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-07-05. สืบค้นเมื่อ 2020-04-20.
- "Sprains and Strains: Differences, Treatment, Symptoms, 3 Grades & Causes". MedicineNet (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2024-09-21.
- Frank, C. B. (June 2004). "Ligament structure, physiology and function". Journal of Musculoskeletal & Neuronal Interactions. 4 (2): 199–201. ISSN 1108-7161. PMID 15615126.
- Doschak, M. R.; Zernicke, R. F. (March 2005). "Structure, function and adaptation of bone-tendon and bone-ligament complexes". Journal of Musculoskeletal & Neuronal Interactions. 5 (1): 35–40. ISSN 1108-7161. PMID 15788869.
- Longo, Umile Giuseppe; Loppini, Mattia; Margiotti, Katia; Salvatore, Giuseppe; Berton, Alessandra; Khan, Wasim S.; Denaro, Nicola Maffulli and Vincenzo (2014-12-31). "Unravelling the Genetic Susceptibility to Develop Ligament and Tendon Injuries". Current Stem Cell Research & Therapy (ภาษาอังกฤษ). 10 (1): 56–63. doi:10.2174/1574888x09666140710112535. PMID 25012736. สืบค้นเมื่อ 2020-04-20.
- Woods, Krista; Bishop, Phillip; Jones, Eric (2007-12-01). "Warm-Up and Stretching in the Prevention of Muscular Injury". Sports Medicine (ภาษาอังกฤษ). 37 (12): 1089–1099. doi:10.2165/00007256-200737120-00006. ISSN 1179-2035. PMID 18027995. S2CID 27159577.
- Vuurberg, Gwendolyn; Hoorntje, Alexander; Wink, Lauren M.; Doelen, Brent F. W. van der; Bekerom, Michel P. van den; Dekker, Rienk; Dijk, C. Niek van; Krips, Rover; Loogman, Masja C. M.; Ridderikhof, Milan L.; Smithuis, Frank F. (2018-08-01). "Diagnosis, treatment and prevention of ankle sprains: update of an evidence-based clinical guideline". British Journal of Sports Medicine (ภาษาอังกฤษ). 52 (15): 956. doi:10.1136/bjsports-2017-098106. ISSN 0306-3674. PMID 29514819.
- "Sprains: Diagnosis & Treatement". Mayo Clinic. 2022-10-27. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2024-05-28. สืบค้นเมื่อ 2024-09-24.
- Part, Body. "Sprains, Strains & Other Soft-Tissue Injuries". OrthoInfo. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2024-05-14. สืบค้นเมื่อ 2024-09-26.
- Publishing, Harvard Health (2019-05-17). "Sprain (Overview)". Harvard Health. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2024-05-21. สืบค้นเมื่อ 2020-04-20.
- "Sprains, Strains and Other Soft-Tissue Injuries - OrthoInfo - AAOS". www.orthoinfo.org. สืบค้นเมื่อ 2020-04-14.
- Shier, David; Butler, Jackie; Lewis, Ricki (2007). Hole's Human Anatomy & Physiology (11th ed.). McGraw Hill / Irwin. pp. 157, 160. ISBN .
- "Turf Toe - OrthoInfo - AAOS". www.orthoinfo.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2024-07-19. สืบค้นเมื่อ 2020-04-24.
- Publishing, Harvard Health (2019-04-05). "Knee Sprain". Harvard Health. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2024-05-28. สืบค้นเมื่อ 2020-04-20.
- Hung, Chen-Yu; Varacallo, Matthew; Chang, Ke-Vin (2020), "Gamekeepers Thumb (Skiers, Ulnar Collateral Ligament Tear)", StatPearls, StatPearls Publishing, PMID 29763146, สืบค้นเมื่อ 2020-04-24
- Tanaka, Nobuhiro; Atesok, Kivanc; Nakanishi, Kazuyoshi; Kamei, Naosuke; Nakamae, Toshio; Kotaka, Shinji; Adachi, Nobuo (2018-02-28). "Pathology and Treatment of Traumatic Cervical Spine Syndrome: Whiplash Injury". Advances in Orthopedics. 2018: 4765050. doi:10.1155/2018/4765050. ISSN 2090-3464. PMC 5851023. PMID 29682354.
- Petersen, Wolf; Rembitzki, Ingo Volker; Koppenburg, Andreas Gösele; Ellermann, Andre; Liebau, Christian; Brüggemann, Gerd Peter; Best, Raymond (August 2013). "Treatment of acute ankle ligament injuries: a systematic review". Archives of Orthopaedic and Trauma Surgery. 133 (8): 1129–1141. doi:10.1007/s00402-013-1742-5. ISSN 0936-8051. PMC 3718986. PMID 23712708.
- Publishing, Harvard Health (2007-02-08). "Recovering from an ankle sprain". Harvard Health. สืบค้นเมื่อ 2020-04-21.
- "Stepping Up Your Game: Mastering Foot Sprain Recovery". revivalpt.net (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2024-04-19. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2024-05-30. สืบค้นเมื่อ 2024-05-16.
- van den Bekerom, Michel P.J; Struijs, Peter A.A; Blankevoort, Leendert; Welling, Lieke; van Dijk, C. Niek; Kerkhoffs, Gino M.M.J (August 2012). "What Is the Evidence for Rest, Ice, Compression, and Elevation Therapy in the Treatment of Ankle Sprains in Adults?". Journal of Athletic Training. 47 (4): 435–443. doi:10.4085/1062-6050-47.4.14. ISSN 1062-6050. PMC 3396304. PMID 22889660.
- Derry, S; Moore, RA; Gaskell, H; McIntyre, M; Wiffen, PJ (June 2015). "Topical NSAIDs for acute musculoskeletal pain in adults". The Cochrane Database of Systematic Reviews. 6 (6): CD007402. doi:10.1002/14651858.CD007402.pub3. PMC 6426435. PMID 26068955.
- Bleakley, CM; O'Connor, SR; Tully, MA; Rocke, LG; Macauley, DC; Bradbury, I; Keegan, S; McDonough, SM (2010-05-10). "Effect of accelerated rehabilitation on function after ankle sprain: randomised controlled trial". BMJ. 340: c1964. doi:10.1136/bmj.c1964. PMID 20457737.
- "Sprained Ankle". American Academy of Orthopaedic Surgeons. March 2005. สืบค้นเมื่อ 2008-04-01.
- Hubbard, Tricia J.; Denegar, Craig R. (2004). "Does Cryotherapy Improve Outcomes With Soft Tissue Injury?". Journal of Athletic Training. 39 (3): 278–279. ISSN 1062-6050. PMC 522152. PMID 15496998.
- Cramer, H; Ostermann, T; Dobos, G (February 2018). "Injuries and other adverse events associated with yoga practice: A systematic review of epidemiological studies". Journal of Science and Medicine in Sport. 21 (2): 147–154. doi:10.1016/j.jsams.2017.08.026. PMID 28958637.
- Singh, Daniel P.; Barani Lonbani, Zohreh; Woodruff, Maria A.; Parker, Tony J.; Steck, Roland; Peake, Jonathan M. (2017-03-07). "Effects of Topical Icing on Inflammation, Angiogenesis, Revascularization, and Myofiber Regeneration in Skeletal Muscle Following Contusion Injury". Frontiers in Physiology. 8: 93. doi:10.3389/fphys.2017.00093. ISSN 1664-042X. PMC 5339266. PMID 28326040.
- Liao, Chun-De; Tsauo, Jau-Yih; Huang, Shih-Wei; Chen, Hung-Chou; Chiu, Yen-Shuo; Liou, Tsan-Hon (April 2019). "Preoperative range of motion and applications of continuous passive motion predict outcomes after knee arthroplasty in patients with arthritis". Knee Surgery, Sports Traumatology, Arthroscopy. 27 (4): 1259–1269. doi:10.1007/s00167-018-5257-z. ISSN 1433-7347. PMID 30523369. S2CID 54446697.
- Iammarino, Kathryn; Marrie, James; Selhorst, Mitchell; Lowes, Linda P. (February 2018). "Efficacy of the Stretch Band Ankle Traction Technique in the Treatment of Pediatric Patients with Acute Ankle Sprains: A Randomized Control Trial". International Journal of Sports Physical Therapy. 13 (1): 1–11. doi:10.26603/ijspt20180001. ISSN 2159-2896. PMC 5808004. PMID 29484236.
- Keene, David J; Williams, Mark A; Segar, Anand H; Byrne, Christopher; Lamb, Sarah E (2016-02-25). "Immobilisation versus early ankle movement for treating acute lateral ankle ligament injuries in adults". Cochrane Database of Systematic Reviews. doi:10.1002/14651858.cd012101. ISSN 1465-1858. S2CID 74861780.
- Mattacola, Carl G.; Dwyer, Maureen K. (2002). "Rehabilitation of the Ankle After Acute Sprain or Chronic Instability". Journal of Athletic Training. 37 (4): 413–429. ISSN 1062-6050. PMC 164373. PMID 12937563.
- "Ankle Sprains: Healing and Preventing Injury". American Academy of Family Physicians. 2010-12-01 [Created:1996-01-01].
- Hsu, Hunter; Siwiec, Ryan M. (2019), "Forearm Splinting", StatPearls, StatPearls Publishing, PMID 29763155, สืบค้นเมื่อ 2019-03-12
แหล่งข้อมูลอื่น
- Questions and Answers about Sprains and Strains - US National Institute of Arthritis and Musculoskeletal and Skin Diseases
การจำแนกโรค | D |
---|---|
ทรัพยากรภายนอก |
|
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha xakarekhld hrux xakaraephlng xngkvs sprain epnkarbadecbkhxngenuxeyuxxxnkhuxexnphayinkhxtx mkekidcakkarekhluxnihwxyangkathnhnthiekinkhxbekhtkarekhluxnihwpkti exn exnyud ligament epnesniythiehniywaelayudimid thadwykhxllaecn thahnathiechuxmkraduktngaetsxngchinkhunipepnkhxtx sakhytxkhwamesthiyrkhxngkhxtxaelakarrbruxakpkiriyasungepnkarrbrutaaehnngaelakarekhluxnihwkhxngaekhnkha xakarxacepnkhneba radbhnung panklang radbsxng hruxmak radbsam odyexnyudcachikkhadbanginsxngxyanghlng nixacekidkhunthikhxtxidkidaetmkekidthikhxetha ekha hruxkhxmux karbadecbthikhlayknthiekidkbklamenux hruxexnklamenux tendon eriykwa klamenuxchik strain xakarekhld xakaraephlng Sprain chuxxunexnyudchik distorsionkhxethaaephlng mirxyfkchaaelabwmsakhawichaewchsastrkarkila ewchsastraelakarfunfukayphaph xxrothphidiks ewchsastrkhrxbkhrw ewchsastrchukechinxakarecbpwd bwm fkcha khxtximesthiyr chwngkarekhluxnihwkhxngkhxtxcakdrayadaeninorkhepnnxy imkiwn 6 spdah epnmak imkispdah eduxn saehtukarbadecb karbadecbcakkila karichnganmakekinip xntraycaksingaewdlxmpccyesiyngpccythangsingaewdlxm xayu karfuksxmimdihruxxupkrnkilaimehmaasmwithiwinicchytrwcrangkay exkserykhxorkhxunthikhlayknklamenuxchik kradukhkkarpxngknyudaekhnkhaaelaxxkaerngklamenuxbxy isxupkrnphyungkhxtxthiesiyngrahwangxxkkalngkaykarrksaphkphxn prakhbnaaekhng phnphard yksung yaaekpwd NSAIDyayaaekxkesbchnidimichsetxrxyd NSAID phyakrnorkhaebbepnnxyhayexngiddi aebbepnmaknacatxngphatdhruxthakayphaphbabd swnihyxakarepnaebbeba thaihekidxakarbwmaelachaelknxysunghayiddwykarrksaaebbxnurksniym khux phkphxn prakhbnaaekhng phnphard aelaykswnthibadecbihsung xyangirktam xakarhnkxacepnaebbchikkhadxxkhmd karchik hruxkradukhkaebbdungkhad avulsion fracture sungthaihkhxtximesthiyr ecbmak aelaichnganidnxylng khnnitxngphatdephuxyudtrung cakdkarekhluxnihwepnewlanan aelathakayphaphbabdxakarecbpwd fkchahruxmieluxdxxkinenuxeyuxephraahlxdeluxdaetkphayinexnyudthibadecb khxtximesthiyr rbnahnkidimdi ichnganhruxmichwngkarekhluxnihwkhxngkhxtxthibadecbldlng emuxexnchikkhadxackxesiyngaetkhruxesiyngdngpxbinkhnann karruckxakaraephlngxacmipraoychninkaraeykaeyakarbadecbnicakklamenuxchik strain aelakradukhkthrrmda xakarekhldmkmakbkhwamecbpwd takhriw klamenuxhdekrng aelaklamenuxxxnaerng kradukhkmkmakbxakarkdecbthikradukodyechphaaemuxtxngrbnahnksaehtuxakarekhldechiybphlnmkekidemuxkhxtxthukbngkhbihekhluxnihwekinkhidcakdxyangkathnhn insthankarnthiekidkarbadecb hruxemuxelnkila saehtuthiphbmakthisudthwipkkhuxkarekhluxnihwsa khuxichnganmakekinip klik exnyudepnesniykhxllaecnthiechuxmtxkradukekhadwykn aelaihkhwamesthiyraebbimichaerngaekkhxtx phbidinrupaebbkarcderiyngthihlakhlay echn khnan echiyng epnekliyw odykhunxyukbhnathikhxngkhxtxthiekiywkhxng exnyudsamarthxyunxkaekhpsulkhxtx extra capsular epnswntxenuxngkbaekhpsulkhxtx capsular hruxxyuphayinaekhpsulkhxtx intra articular taaehnngmikhwamsakhyinkarrksa ephraaexnphayinaekhpsulmieluxdihleliyngnxyethiybkbthngsxngtaaehnngxunthiehlux esniykhxllaecnmiekhtyudhyunpraman 4 sungesniycayudxxkemuxephimnahnkthikhx xyangirktam karekinkhidcakdkhwamyudhyunnicathaihesniychik thaihaephlng exnyudcaprbtwtxkarxxkkalngklamenuxodyephimphunthihnatdkhxngesniy emuxexnyudthuktrungihxyukbthi kphbwacaxxnaexlngxyangrwderw dngnn kickrrmpracawnepnpkticungsakhyephuxrksakhunsmbtithangklkhxngexnyudiwpraman 80 90 pccyesiyng khwamehnuxylaaelakarichnganmakekinip kilathipathaknrunaerng pccythangsingaewdlxm withikarxxkkalngkayhruxxupkrnthiichimdi xayuaelakhwamonmexiyngthangphnthukrrmtxkarbadecbkhxngexnyud imyudaekhngehyiydkhahruxwxrmxphkxnxxkkalngkay sungemuxthaxyangthuktxngcachwyephimkarihlewiynkhxngeluxdaelakhwamyudhyunkhxngkhxtxkarwinicchyxakaraephlngmkwinicchyidthangkhlinikodyxasyxakarkhxngphupwy klikkarbadecb aelakartrwcrangkay aetksamarthexkseryephuxchwytrwckradukhkid odyechphaainkrnithimixakarkdecbhruxpwdkradukbriewnthiidrbbadecb inbangkrni odyechphaathahaychahruxsngsywabadecbhnkkwathiehn kxactrwcdwyexmxarixephuxduenuxeyuxxxnaelaexnyudrxb karcaaenkpraephth xakaraephlngradbhnung eba mikaryudaelakhwamesiyhaythangokhrngsrangkhxngexnyudelknxy thaihbwmaelachaaebbeba mkimmixakarkhxtximesthiyrhruxchwngkarekhluxnihwkhxthildlng xakaraephlngradbsxng panklang mikarchikbangkhxngexnyud mkmixakarbwm kdecb aelakhxtximesthiyrbang khxtxxacrbnahnkimdi xakaraephlngradbsam hnk mikarchikhruxkhadxyangbriburnkhxngexnyud bangkhrngxacdungchinswnkradukxxkmadwy mkmixakarkhxtximesthiyrmak pwd cha bwm khxtxrbnahnkimidkhxethaaephlngaebbbidekhadanin bnsay khxethapkti bnkhwa radb 1 exnesiyhayelknxyaetimchik langsay radb 2 exnchikbang langkhwa radb 3 exnchikhmdkhxtxthiekiywkhxng aemwakhxtxidksamarthekidkaraephlngid aetthiphbbxyidaek khxetha karaephlngmkekidkhunthikhxethaaelaxacichewlainkarhaynankwakradukkhxethahk swnihymkekidthiexnyuddankhang lateral ligament briewndannxkkhxngkhxetha ehtusamyrwmkaredinbnphunphiwthiimeriybhruxekidrahwangkarelnkilathipathaknkhxethaaephlngaebbbidekhadanin ekidemuxkhxethahmun phlikekhadanin khxethaaephlngaebbbidxxkdannxk ekidemuxkhxethahmun phlikxxkdannxk niwetha khxniwopngethaaephlng metatarsophalangeal joint sprain epnkarehyiydniwopngethakhunekinpraman odyechphaarahwangkarelnkila echn karerimwingerwbnphunthiaekhng ekha ekhamkaephlngxyangsamy odyechphaahlngcakkarhmuntwxyangrwderwbnkhathipkiwkbphunrahwangelnkilathimikarpatha echn xemriknfutbxl futbxl basektbxl sxftbxl ebsbxl aelasilpakartxsubangpraephth karbadecbthiexnikhwhna anterior cruciate ligament karbadecbthiexnikhwhlng posterior cruciate ligament karbadecbthiexnekhadanin medial collateral ligament karbadecbthiexnekhadannxk lateral collateral ligament karekhldthikhxtxkradukaekhng nxngswnbn superior tibiofibular joint sprain mkekidcakkarbidthikhxtxrahwangkradukaekhngkbkraduknxng kraduksabaekhluxn patellar dislocation niwmuxaelakhxmux karekhldkhxmuxekidkhunbxyodyechphaathalmaelwichmuxyn karaephlngthiniwopngmux khuxkarcbxyangaerngcakxkarbadecbthi ulnar collateral ligament UCL thikhxokhnniwopng metacarpophalangeal khxngmux kraduksnhlng karekhldkhxthikraduksnhlngswnkhx cervical vertebrae karbadecbthikhxaebbwipaelch traumatic Cervical Spine Syndrome ekidcakkarehyiydaelangxkhxxyangrunaerng mkphbinxubtiehturthchnthay karekhldhlng epnpyhasukhphaphthiphbbxythisudxyanghnung mkekidcakkarykkhxngxyangimthukwithiaelaklamenuxlatwthiimaekhngaerngkarrksakarrksamkrwmmatrkarechingxnurksephuxldxakar karphatdephuxsxmaesmkarchikhruxkarchikkhadthihnk aelakarfunfusmrrthphaphephuxfunsphaphkarthangankhxngkhxtx aemxakarswnihycarksaidodyimtxngphatd aetkarbadecbhnkxactxngplukthayexnhruxsxmexnyudodykhunxyukbsthankarn catxngthakarfunfusmrrthphaphaekhihnaelaewlathitxngichinkarfuntwcakhunxyukbkhwamhnkeba xakaraephlngthiethaepnkarbadecbkhxngexnyudthiechuxmkradukinetha krabwnkarfunfumikhwamsakhyxyangyinginkarkhunsphaphkarthanganpktiaelapxngknkarbadecbinxnakht bthkhwamnixthibaythungaenwthangthwipinkarfunfucakkarbadecbsungaetktangkniptamkhwamhnkeba aebbimphatd khunxyukbklikkarbadecb khxtxthiekiywkhxng aelakhwamhnkeba xakarekhldswnihysamarthrksaiddwywithixnurksniymthicaklawtxip odythaphayin 24 chwomng aerkhlngcakbadecb xyangirktam khwrtrahnkwa karrksakhwrprbihehmaakbkarbadecbaelaxakarechphaakhxngphupwyaetlaray yathiimtxngmiibsngaephthy echn yaaekxkesbchnidimichsetxrxyd NSAIDs samarthchwybrrethaxakarpwdid aelaya NSAID aebbthaphaynxkkxacmiprasiththiphaphethakbyakin pxngkn briewnthibadecbkhwridrbkarpxngknaelayudtrung ephraaesiyngekidkarbadecbsathiexnyudsungkxpyhaephimkhun phk khxtxthiidrbphlkrathbkhwryudtrungiwaelakhwrldkarrbnahnkihnxythisud echn khwrcakdkaredininkrnithikhxethaaephlng prakhbnaaekhng khwrichnaaekhngprakhbbriewnthibadecbthnthiephuxldxakarbwmaelapwd samarthichnaaekhngprakhb 3 4 khrng txwn khrngla 10 15 nathi hruxcnkwaxakarbwmcaldlng odysamarthichrwmkbkarphnphaephuxphyung karprakhbeynyngsamarthichephuxbrrethaxakarpwd aetkhwrichephiyngrayaewlasn nxykwa 20 nathi ephraakarichnaaekhngepnewlananxacldkarihlewiynkhxngeluxdipyngbriewnthibadecbaelathaihhaychalng kdrd khwrichphaphnaephlhruxphaphnephuxyudtrungbriewnthibadecbaelaephuxihkarsnbsnun emuxphnbriewnthibadecb khwrrdihaennthiplaykhxngbadaephlaelwldkhwamaenninthisthangthiekhamaiklhwic sungchwyiheluxdihlewiyncakplayaekhnkhaipynghwic karcdkarxakarbwmxyangramdrawngdwykarkdeyn cold compression therapy sakhymakephuxihhayephraapxngknkarkhngkhxngkhxngehlwinbriewnthibadecb xyangirktam karkdrdimkhwrkhdkhwangkarihlewiynkhxngeluxdinaekhnkha yksung karykkhxtxthiekhldihsungkhun emuxethiybkbswnthiehluxkhxngrangkay cachwyldxakarbwmid withikarrksaaebbimphatdxun rwmthungekhruxngekhluxnihwaekhnkhaphupwyxyangtxenuxngodyphupwyimxxkaerng continuous passive motion machine aelaplxkthungnaaekhngaebbphiess khux cryocuff epnekhruxngprakhbeynthiepidichngankhlaykbekhruxngwdkhwamdnolhit miprasiththiphaphldxakarbwmaelaprbprungchwngkarekhluxnihw karsuksapi 2018 aesdngwakarihxxkaerngthikhxemuxdungiwdwysayyang joint mobilization using elastic band traction miprasiththiphaphethakbethkhnikhmatrthan 5 xyangdanbnsahrbphupwyedkthiaephlngkhxetha karfunfusphaphkarichngan xngkhprakxbkhxngopraekrmfunfusphaphthimiprasiththiphaphsahrbxakaraephlngthnghmd rwmthungkarephimchwngkarekhluxnihwkhxngkhxtxthiepnpyhaaelakarxxkkalngkayephuxesrimsrangkhwamaekhngaerngkhxngklamenuxaebbkhxy ephim hlngcakichmatrkarxnurksniymephuxldxakarbwmaelapwdaelw karekhluxnihwaekhnkhaphayin 48 72 chwomng hlngkarbadecbidphbwa chwyihhayodykratun growth factor inenuxeyuxkradukaelaklamenux epn growth factor thiekiywkhxngkbkaraebngesllaelakarprbokhrngsrangsarekhluxbesll matrix remodeling karyudtrungkhxihimekhluxnihwepnewlananxacthaihxakaraephlnghaychalng ephraaklamenuxmkcafxlibhruxxxnaex xyangirkdi ngansuksapi 1996 aesdngnywa karichxupkrnphyungsamarthchwyihhayodybrrethakhwampwdaelathaihkhxmnkhngephuxpxngknkhwamesiyhayephimetimtxexnyudhruxkarbadecbsa emuxichxupkrnphyung caepntxngaenicwaplayaekhnkhamieluxdihlewiynthungxyangephiyngphx epahmaysungsudkhxngkarfunfukarichngankkhuxihphupwysamarthklbipthakickrrmpracawnidxyangetmthi inkhnathildkhwamesiyngkarbadecbsaihnxythisudechingxrrthaelaxangxing sprain NECTEC s Lexitron 2 hnwyptibtikarwicywithyakarmnusyphasa sunyethkhonolyixielkthrxniksaelakhxmphiwetxraehngchati sanknganphthnawithyasastraelaethkhonolyiaehngchati krathrwngwithyasastraelaethkhonolyi xakarekhld phasuksmit burisr 2023 03 17 karetriymrbmuxkbphawaorkhkhxethaaephlng Ankle Sprain Faculty of Physical Therapy Mahidol University ekbcakaehlngedimemux 2024 09 23 Bahr Roald Alfredson Hakan Jarvinen Markku Jarvinen Tero Khan Karim Kjaer Michael Matheson Gordon Maehlum Sverre 2012 06 22 Bahr Roald b k Types and Causes of Injuries The IOC Manual of Sports Injuries Wiley Blackwell pp 1 24 doi 10 1002 9781118467947 ch1 ISBN 978 1 118 46794 7 Ligaments consist of collagen tissue that connects one bone to another Their primary function is passive stabilization of the joints In addition the ligaments serve an important proprioceptive function Frank CB June 2004 Ligament structure physiology and function PDF J Musculoskelet Neuronal Interact 4 2 199 201 PMID 15615126 ekb PDF cakaehlngedimemux 2024 02 26 Hartshorne Henry Sprained Joints The Home Cyclopedia Of Health And Medicine ekbcakaehlngedimemux 2024 08 08 subkhnemux 2010 02 16 Ligament Sprain Physiopedia phasaxngkvs ekbcakaehlngedimemux 2023 07 30 subkhnemux 2020 04 13 Nancy Garrick Deputy Director 2017 04 10 Sprains and Strains National Institute of Arthritis and Musculoskeletal and Skin Diseases phasaxngkvs subkhnemux 2020 04 14 Sprains and Strains medlineplus gov subkhnemux 2020 04 14 Sprains Symptoms and causes Mayo Clinic phasaxngkvs ekbcakaehlngedimemux 2024 09 18 subkhnemux 2020 04 14 Strains and Sprains Signs Symptoms Diagnosis and Treatment Information on MedicineNet com MedicineNet phasaxngkvs ekbcakaehlngedimemux 2023 07 05 subkhnemux 2020 04 20 Sprains and Strains Differences Treatment Symptoms 3 Grades amp Causes MedicineNet phasaxngkvs ekbcakaehlngedimemux 2024 09 21 Frank C B June 2004 Ligament structure physiology and function Journal of Musculoskeletal amp Neuronal Interactions 4 2 199 201 ISSN 1108 7161 PMID 15615126 Doschak M R Zernicke R F March 2005 Structure function and adaptation of bone tendon and bone ligament complexes Journal of Musculoskeletal amp Neuronal Interactions 5 1 35 40 ISSN 1108 7161 PMID 15788869 Longo Umile Giuseppe Loppini Mattia Margiotti Katia Salvatore Giuseppe Berton Alessandra Khan Wasim S Denaro Nicola Maffulli and Vincenzo 2014 12 31 Unravelling the Genetic Susceptibility to Develop Ligament and Tendon Injuries Current Stem Cell Research amp Therapy phasaxngkvs 10 1 56 63 doi 10 2174 1574888x09666140710112535 PMID 25012736 subkhnemux 2020 04 20 Woods Krista Bishop Phillip Jones Eric 2007 12 01 Warm Up and Stretching in the Prevention of Muscular Injury Sports Medicine phasaxngkvs 37 12 1089 1099 doi 10 2165 00007256 200737120 00006 ISSN 1179 2035 PMID 18027995 S2CID 27159577 Vuurberg Gwendolyn Hoorntje Alexander Wink Lauren M Doelen Brent F W van der Bekerom Michel P van den Dekker Rienk Dijk C Niek van Krips Rover Loogman Masja C M Ridderikhof Milan L Smithuis Frank F 2018 08 01 Diagnosis treatment and prevention of ankle sprains update of an evidence based clinical guideline British Journal of Sports Medicine phasaxngkvs 52 15 956 doi 10 1136 bjsports 2017 098106 ISSN 0306 3674 PMID 29514819 Sprains Diagnosis amp Treatement Mayo Clinic 2022 10 27 ekbcakaehlngedimemux 2024 05 28 subkhnemux 2024 09 24 Part Body Sprains Strains amp Other Soft Tissue Injuries OrthoInfo ekbcakaehlngedimemux 2024 05 14 subkhnemux 2024 09 26 Publishing Harvard Health 2019 05 17 Sprain Overview Harvard Health ekbcakaehlngedimemux 2024 05 21 subkhnemux 2020 04 20 Sprains Strains and Other Soft Tissue Injuries OrthoInfo AAOS www orthoinfo org subkhnemux 2020 04 14 Shier David Butler Jackie Lewis Ricki 2007 Hole s Human Anatomy amp Physiology 11th ed McGraw Hill Irwin pp 157 160 ISBN 978 0 07 330555 4 Turf Toe OrthoInfo AAOS www orthoinfo org ekbcakaehlngedimemux 2024 07 19 subkhnemux 2020 04 24 Publishing Harvard Health 2019 04 05 Knee Sprain Harvard Health ekbcakaehlngedimemux 2024 05 28 subkhnemux 2020 04 20 Hung Chen Yu Varacallo Matthew Chang Ke Vin 2020 Gamekeepers Thumb Skiers Ulnar Collateral Ligament Tear StatPearls StatPearls Publishing PMID 29763146 subkhnemux 2020 04 24 Tanaka Nobuhiro Atesok Kivanc Nakanishi Kazuyoshi Kamei Naosuke Nakamae Toshio Kotaka Shinji Adachi Nobuo 2018 02 28 Pathology and Treatment of Traumatic Cervical Spine Syndrome Whiplash Injury Advances in Orthopedics 2018 4765050 doi 10 1155 2018 4765050 ISSN 2090 3464 PMC 5851023 PMID 29682354 Petersen Wolf Rembitzki Ingo Volker Koppenburg Andreas Gosele Ellermann Andre Liebau Christian Bruggemann Gerd Peter Best Raymond August 2013 Treatment of acute ankle ligament injuries a systematic review Archives of Orthopaedic and Trauma Surgery 133 8 1129 1141 doi 10 1007 s00402 013 1742 5 ISSN 0936 8051 PMC 3718986 PMID 23712708 Publishing Harvard Health 2007 02 08 Recovering from an ankle sprain Harvard Health subkhnemux 2020 04 21 Stepping Up Your Game Mastering Foot Sprain Recovery revivalpt net phasaxngkvsaebbxemrikn 2024 04 19 ekbcakaehlngedimemux 2024 05 30 subkhnemux 2024 05 16 van den Bekerom Michel P J Struijs Peter A A Blankevoort Leendert Welling Lieke van Dijk C Niek Kerkhoffs Gino M M J August 2012 What Is the Evidence for Rest Ice Compression and Elevation Therapy in the Treatment of Ankle Sprains in Adults Journal of Athletic Training 47 4 435 443 doi 10 4085 1062 6050 47 4 14 ISSN 1062 6050 PMC 3396304 PMID 22889660 Derry S Moore RA Gaskell H McIntyre M Wiffen PJ June 2015 Topical NSAIDs for acute musculoskeletal pain in adults The Cochrane Database of Systematic Reviews 6 6 CD007402 doi 10 1002 14651858 CD007402 pub3 PMC 6426435 PMID 26068955 Bleakley CM O Connor SR Tully MA Rocke LG Macauley DC Bradbury I Keegan S McDonough SM 2010 05 10 Effect of accelerated rehabilitation on function after ankle sprain randomised controlled trial BMJ 340 c1964 doi 10 1136 bmj c1964 PMID 20457737 Sprained Ankle American Academy of Orthopaedic Surgeons March 2005 subkhnemux 2008 04 01 Hubbard Tricia J Denegar Craig R 2004 Does Cryotherapy Improve Outcomes With Soft Tissue Injury Journal of Athletic Training 39 3 278 279 ISSN 1062 6050 PMC 522152 PMID 15496998 Cramer H Ostermann T Dobos G February 2018 Injuries and other adverse events associated with yoga practice A systematic review of epidemiological studies Journal of Science and Medicine in Sport 21 2 147 154 doi 10 1016 j jsams 2017 08 026 PMID 28958637 Singh Daniel P Barani Lonbani Zohreh Woodruff Maria A Parker Tony J Steck Roland Peake Jonathan M 2017 03 07 Effects of Topical Icing on Inflammation Angiogenesis Revascularization and Myofiber Regeneration in Skeletal Muscle Following Contusion Injury Frontiers in Physiology 8 93 doi 10 3389 fphys 2017 00093 ISSN 1664 042X PMC 5339266 PMID 28326040 Liao Chun De Tsauo Jau Yih Huang Shih Wei Chen Hung Chou Chiu Yen Shuo Liou Tsan Hon April 2019 Preoperative range of motion and applications of continuous passive motion predict outcomes after knee arthroplasty in patients with arthritis Knee Surgery Sports Traumatology Arthroscopy 27 4 1259 1269 doi 10 1007 s00167 018 5257 z ISSN 1433 7347 PMID 30523369 S2CID 54446697 Iammarino Kathryn Marrie James Selhorst Mitchell Lowes Linda P February 2018 Efficacy of the Stretch Band Ankle Traction Technique in the Treatment of Pediatric Patients with Acute Ankle Sprains A Randomized Control Trial International Journal of Sports Physical Therapy 13 1 1 11 doi 10 26603 ijspt20180001 ISSN 2159 2896 PMC 5808004 PMID 29484236 Keene David J Williams Mark A Segar Anand H Byrne Christopher Lamb Sarah E 2016 02 25 Immobilisation versus early ankle movement for treating acute lateral ankle ligament injuries in adults Cochrane Database of Systematic Reviews doi 10 1002 14651858 cd012101 ISSN 1465 1858 S2CID 74861780 Mattacola Carl G Dwyer Maureen K 2002 Rehabilitation of the Ankle After Acute Sprain or Chronic Instability Journal of Athletic Training 37 4 413 429 ISSN 1062 6050 PMC 164373 PMID 12937563 Ankle Sprains Healing and Preventing Injury American Academy of Family Physicians 2010 12 01 Created 1996 01 01 Hsu Hunter Siwiec Ryan M 2019 Forearm Splinting StatPearls StatPearls Publishing PMID 29763155 subkhnemux 2019 03 12aehlngkhxmulxunQuestions and Answers about Sprains and Strains US National Institute of Arthritis and Musculoskeletal and Skin DiseaseskarcaaenkorkhDICD 10 T14 3ICD 848 9MeSH D013180thrphyakrphaynxk 000041wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb xakarekhld