อะญะมี (อาหรับ: عجمي, ʿajamī) หรือ อะญะมียะฮ์ (อาหรับ: عجمية, ʿajamiyyah) เป็นชื่อของอักษรชนิดหนึ่งโดยมีรากศัพท์มาจากภาษาอาหรับหมายถึง ต่างชาติ เป็นการนำอักษรอาหรับมาใช้เขียนภาษาใน โดยเฉพาะและภาษาสวาฮิลี ภาษากลุ่มแอฟริกามีระบบสัทวิทยาต่างจากภาษาอาหรับทำให้มีการปรับอักษรอาหรับเพื่อแสดงเสียงเหล่านั้น ด้วยระบบที่ต่างไปจากอักษรอาหรับที่ใช้ในกลุ่มที่ไม่ได้พูดภาษาอาหรับในตะวันออกกลาง
ภาษาเฮาซาในแอฟริกาตะวันตกเป็นตัวอย่างของภาษาที่ใช้อักษรอะญะมี โดยเฉพาะในช่วงก่อนเป็นอาณานิคม เมื่อมีโรงเรียนสอนอัลกุรอ่านให้แก่เยาวชนมุสลิม และได้สอนอักษรอะญะมีด้วย เมื่อเจ้าอาณานิคมตะวันตกได้พัฒนาระบบการเขียนภาษาเฮาซาด้วยอักษระลตินหรือโบโก การใช้อักษรอะญะมีได้ลดลง และปัจจุบันใช้น้อยกว่าอักษรละติน แต่ยังใช้อยู่มากในงานทางด้านศาสนาอิสลาม การใช้อักษรอะญะมีกับภาษาอื่นในประเทศมุสลิมพบได้ทั่วไป
อักษรอะญะมีสำหรับภาษาเฮาซา
ภาษาเฮาซาเขียนด้วยอักษรอะญะมีตั้งแต่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 20 ไม่มีระบบมาตรฐานสำหรับอักษรอะญะมี และผู้เขียนต่างคนกันใช้ตัวอักษรต่างกัน สระเสียงสั้นแสดงด้วยเครื่องหมายสระซึ่งมีใช้น้อยในอักษรอาหรับที่ไม่ได้ใช้เขียนอัลกุรอ่าน เอกสารลายมือเขียนภาษาเฮาซายุคกลางจำนวนมากคล้ายกับที่เขียนด้วยอักษรอะญะมี ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างอักษรอะญะมีสำหรับภาษาเฮาซา
อักษรละติน | อักษรอาหรับ อะญะมี | |
---|---|---|
a | /a/ | ـَ |
a | /aː/ | ـَا |
b | /b/ | ب |
ɓ | /ɓ/ | ب (เหมือนกับ b), (ไม่ใช้ในภาษาอาหรับ) |
c | /tʃ/ | ث |
d | /d/ | د |
ɗ | /ɗ/ | د (เหมือนกับ d), ط (สามารถใช้เป็น ts) |
e | /e/ | (ไม่ใช้ในภาษาอาหรับ) |
e | /eː/ | تٰٜ (ไม่ใช้ในภาษาอาหรับ) |
f | /ɸ/ | ف |
g | /ɡ/ | غ |
h | /h/ | ه |
i | /i/ | ـِ |
i | /iː/ | |
j | /(d)ʒ/ | ج |
k | /k/ | ك |
ƙ | /kʼ/ | ك (เหมือนกับ k), ق |
l | /l/ | ل |
m | /m/ | م |
n | /n/ | ن |
o | /o/ | ـُ (เหมือนกับ u) |
o | /oː/ | (เหมือนกับ u) |
r | /r/, /ɽ/ | ر |
s | /s/ | س |
sh | /ʃ/ | ش |
t | /t/ | ت |
ts | /(t)sʼ/ | ط (สามารถใช้ตัว ɗ), (ไม่ใช้ในภาษาอาหรับ) |
u | /u/ | ـُ (เหมือนกับ o) |
u | /uː/ | ـُو (เหมือนกับ o) |
w | /w/ | و |
y | /j/ | |
z | /z/ | ز ذ |
ʼ | /ʔ/ | ع |
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-11-30. สืบค้นเมื่อ 2014-09-04.
- Donaldson, Coleman (1 October 2013). "Jula Ajami in Burkina Faso: A Grassroots Literacy in the Former Kong Empire". Working Papers in Educational Linguistics (WPEL). 28 (2): 19–36. ISSN 1548-3134.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-11-30. สืบค้นเมื่อ 2011-10-16.
{{}}
: CS1 maint: archived copy as title ()
วรรณกรรม
แหล่งข้อมูลอื่น
- "Notes on sub-Saharan languages written in Arabic script". A-label: African Languages Between the Lines.
a research blog associated with the Ajami Lab at the Centre for the Study of Manuscript Cultures at the Universität Hamburg
, a research blog associated with the Ajami Lab at the Centre for the Study of Manuscript Cultures at the Universität Hamburg - PanAfrican L10n page on Arabic script and "Ajami"
- Omniglot page on Hausa Ajami Script
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xayami xahrb عجمي ʿajami hrux xayamiyah xahrb عجمية ʿajamiyyah epnchuxkhxngxksrchnidhnungodymiraksphthmacakphasaxahrbhmaythung tangchati epnkarnaxksrxahrbmaichekhiynphasain odyechphaaaelaphasaswahili phasaklumaexfrikamirabbsthwithyatangcakphasaxahrbthaihmikarprbxksrxahrbephuxaesdngesiyngehlann dwyrabbthitangipcakxksrxahrbthiichinklumthiimidphudphasaxahrbintawnxxkklangtrakxngthphincieriy sungmikhxkhwamphasaxahrb aepl chychnamacakphraecaethann phasaehasainaexfrikatawntkepntwxyangkhxngphasathiichxksrxayami odyechphaainchwngkxnepnxananikhm emuxmiorngeriynsxnxlkurxanihaekeyawchnmuslim aelaidsxnxksrxayamidwy emuxecaxananikhmtawntkidphthnarabbkarekhiynphasaehasadwyxksraltinhruxobok karichxksrxayamiidldlng aelapccubnichnxykwaxksrlatin aetyngichxyumakinnganthangdansasnaxislam karichxksrxayamikbphasaxuninpraethsmuslimphbidthwipxksrxayamisahrbphasaehasaphasaehasaekhiyndwyxksrxayamitngaetpramanphuththstwrrsthi 20 immirabbmatrthansahrbxksrxayami aelaphuekhiyntangkhnknichtwxksrtangkn sraesiyngsnaesdngdwyekhruxnghmaysrasungmiichnxyinxksrxahrbthiimidichekhiynxlkurxan exksarlaymuxekhiynphasaehasayukhklangcanwnmakkhlaykbthiekhiyndwyxksrxayami txipniepntwxyangxksrxayamisahrbphasaehasa xksrlatin xksrxahrb xayamia a ـ a aː ـ ا b b ب ɓ ɓ ب ehmuxnkb b imichinphasaxahrb c tʃ ث d d د ɗ ɗ د ehmuxnkb d ط samarthichepn ts e e imichinphasaxahrb e eː ت imichinphasaxahrb f ɸ ف g ɡ غ h h ه i i ـ i iː j d ʒ ج k k ك ƙ kʼ ك ehmuxnkb k ق l l ل m m م n n ن o o ـ ehmuxnkb u o oː ehmuxnkb u r r ɽ ر s s س sh ʃ ش t t ت ts t sʼ ط samarthichtw ɗ imichinphasaxahrb u u ـ ehmuxnkb o u uː ـ و ehmuxnkb o w w و y j z z ز ذ ʼ ʔ ع duephimxksrowlxf xlkhamixa xksryawi chudtwxksrepxresiy xksrxarwixangxing khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2014 11 30 subkhnemux 2014 09 04 Donaldson Coleman 1 October 2013 Jula Ajami in Burkina Faso A Grassroots Literacy in the Former Kong Empire Working Papers in Educational Linguistics WPEL 28 2 19 36 ISSN 1548 3134 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2014 11 30 subkhnemux 2011 10 16 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint archived copy as title lingk wrrnkrrmHegyi O 1979 Minority and restricted uses of the Arabic alphabet the aljamiado phenomenon Journal of the American Oriental Society 99 2 262 269 doi 10 2307 602662 ISSN 0003 0279 JSTOR 602662 S2CID 163610376 subkhnemux 23 December 2021 aehlngkhxmulxun Notes on sub Saharan languages written in Arabic script A label African Languages Between the Lines a research blog associated with the Ajami Lab at the Centre for the Study of Manuscript Cultures at the Universitat Hamburg a research blog associated with the Ajami Lab at the Centre for the Study of Manuscript Cultures at the Universitat Hamburg PanAfrican L10n page on Arabic script and Ajami Omniglot page on Hausa Ajami Script