อมรโกศ (สันสกฤต: अमरकोश, ไอเอเอสที: Amarakośa) เป็นพจนานุกรมรวมศัพท์คำพ้องความหมายภาษาสันสกฤต เขียนโดยอมร หรือ นักวิชาการภาษาสันสกฤตผู้นับถือศาสนาเชนหรือพุทธศาสนา ผู้เป็นหนึ่งในนวรัตน์ประดับพระราชบัลลังก์พระเจ้าจันทรคุปต์ที่ 2 แห่งราชวงศ์คุปตะ ซึ่งครองราชย์ในราว ค.ศ. 400 บ้างก็ว่าอยู่ในรัชสมัยพระเจ้า เมื่อราวคริสต์ศตวรรษที่ 7
ชื่อของงานชิ้นนี้ มาจากศัพท์ อมร หมายถึง ไม่ตาย, หรือเทวดา หรือหมายถึงชื่อกวีผู้ประพันธ์ และ โกศ หมายถึง ทรัพย์, ตะกร้า, ถัง, พจนานุกรม หรือผลงานที่รวมเข้าด้วยกัน นอกจากนี้ยังเรียกชื่อหนึ่งว่า นามลิงฺคานุศาสนมฺ (नामलिङ्गानुशासनम्, Nāmaliṅgānuśāsanam) จากศัพท์ นาม, ลิงค, อนุ, ศาสน (คำสอนเกี่ยวกับนามและเพศ)
เนื้อหา
อมรโกศประกอบด้วยบทร้อยกรองที่แต่งขึ้นเพื่อให้จำได้ง่าย แบ่งเป็น 3 กัณฑ์
- กัณฑ์แรกเรียกว่า "สวรรคาทิ" (ศัพท์ "สวรรค์" และอื่น ๆ)
- กัณฑ์ที่สองคือ "ภูวรรคาทิ" (ศัพท์ "โลก" และอื่น ๆ)
- และกัณฑ์ที่สาม ชื่อ "สามานยาทิ" (ศัพท์ทั่วไป)
ใน "สวรรคาทิ" แบ่งเป็น 10 วรรค ได้แก่ สฺวรฺควรฺค (สวรรค์), วฺโยมวรฺค (ท้องฟ้า), ทิควรฺค, กาลวรฺค, ธีวรฺค, ศัพทาทิวรฺค, ปาตาลโภคิวรฺค, (บาดาล) นรกวรฺค (นรก), วาริวรฺค (แม่น้ำ) โดยเริ่มด้วยร้อยกรอง
- "स्वरव्ययं स्वर्गनाकत्रिदिवत्रिदशालयाः" (สฺวรวฺยยํ สฺวรฺคนากตฺริทิวตฺริทศาลยาห์)
- "अमरा निर्जरा देवास्त्रिदशा विबुघाः सुराः" (อมรา นิรฺชรา เทวาสฺตฺริทศา วิพุฆาห์ สุราห์)
บรรยายถึง สวรรค์ ในวรรคแรก ได้แก่ สฺว, อวฺย, สฺวรฺค, นาก, ตริทิว, ตริทศาลยะ ในวรรคที่สอง มีศัพท์เกี่ยวกับทวยเทพทั้งหลาย ในบทที่ต่อ ๆ ยังมีศัพท์หมายถึงพระพุทธเจ้าหลายคำ และนี่เป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำให้น่าเชื่อว่าผู้แต่งเป็นชาวพุทธ ดังเช่น
- सर्वज्ञः सुगतः बुद्धो धर्मराजस्तथागतः (สรฺวชฺญห์ สุคตห์ พุทฺโธ ธรฺมราชสฺตถาคตห์)
- समन्तभद्रो भगवान्मारजिल्लोकजिज्जिनः (สมนฺตภทฺโร ภควานฺมารชิลฺโลกชิชฺชินห์)
- षडभिज्ञो दशबलो 'द्वयवादी विनायकः (ษฑภิชฺโญ ทศพโล 'ทฺวยวาที วินายกห์)
- मुनीन्द्रः श्रीघनः शास्ता मुनिः शाक्यमुनिस्तु यः (มุนีนฺทฺรห์ ศฺรีฆนห์ ศาสฺตา มุนิห์ ศากฺยมุนิสฺตุ ยห์)
กัณฑ์ที่สองคือ "ภูวรรคาทิ" (ศัพท์ "โลก" และอื่น ๆ) แบ่งเป็น 10 วรรค ได้แก่ ภูววรฺค (โลก), ปุรวรฺค (เมือง), ไศลวรฺค (ภูเขา), วิโนศทิวรฺค (ป่าและการแพทย์), สิงฺหทิวรฺค (สิงโตและสัตว์อื่น ๆ), มนุษยวรฺค (มนุษย์), พรหมวรฺค (พราหมณ์), กฺษตฺริยวรฺค (กษัตริย์), ไวศยวรฺค (พ่อค้า), และ ศูทฺรวรฺค (ศูทร)
สำหรับกัณฑ์ที่สาม ชื่อ "สามานยาทิ" (ศัพท์ทั่วไป) เป็นศัพท์เกี่ยวกับไวยากรณ์ ได้แก่ คุณศัพท์, กริยา คำเกี่ยวกับบทสวด ธุรกิจ และศัพท์เบ็ดเตล็ดอื่น ๆ เริ่มด้วย क्षेमंकरो 'रिष्टतातिश्शिवतातिश्शिवंकरः (กฺเษมํกโร 'ริษฺฏตาติศฺศิวตาติศฺศิวํกรห์) อันได้แก่ศัพท์ กฺเษมํกร, อริษฺฎตาติ ศิวตาติ และศิวํกร เป็นต้น
อรรถกถา
มีอรรถกถาแก้คัมภีร์อมรโกศ เพื่ออธิบายให้เข้าใจความหมายที่ชัดเจน เช่น อมรโกโศทฆาตน ของ กษีรัสวามิน, ตีกาสรวัสมัน ของ วันธยฆตีย สรวานันท, รามาสรมี (วยาขยาสุธ) ของ ภานุชิ ทีกษิต, และปทจันทริกา ของ รายมุกุฏ เป็นต้น
บรรณานุกรม
- Krsnaji Govinda Oka, Poona City, Law Printing Press, 1913
- Amarakosha จาก sanskritdocuments.org
- ไฟล์ อมรโกศ 2010-06-24 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน โดย อวินาศ สถเย by Avinash Sathaye
- นามลิงคานุศาสน (อมรโกศ) ของ อมรสึห พร้อม อรรถกถา (อมรโกโศทฆาตน) ของ กษีรัสวามิน (1913) จากเว็บ Internet Archive
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xmroks snskvt अमरक श ixexexsthi Amarakosa epnphcnanukrmrwmsphthkhaphxngkhwamhmayphasasnskvt ekhiynodyxmr hrux nkwichakarphasasnskvtphunbthuxsasnaechnhruxphuththsasna phuepnhnunginnwrtnpradbphrarachbllngkphraecacnthrkhuptthi 2 aehngrachwngskhupta sungkhrxngrachyinraw kh s 400 bangkwaxyuinrchsmyphraeca emuxrawkhriststwrrsthi 7 chuxkhxngnganchinni macaksphth xmr hmaythung imtay hruxethwda hruxhmaythungchuxkwiphupraphnth aela oks hmaythung thrphy takra thng phcnanukrm hruxphlnganthirwmekhadwykn nxkcakniyngeriykchuxhnungwa namling khanusasnm न मल ङ ग न श सनम Namaliṅganusasanam caksphth nam lingkh xnu sasn khasxnekiywkbnamaelaephs enuxhaxmroksprakxbdwybthrxykrxngthiaetngkhunephuxihcaidngay aebngepn 3 knth knthaerkeriykwa swrrkhathi sphth swrrkh aelaxun knththisxngkhux phuwrrkhathi sphth olk aelaxun aelaknththisam chux samanyathi sphththwip in swrrkhathi aebngepn 10 wrrkh idaek s wr khwr kh swrrkh w oymwr kh thxngfa thikhwr kh kalwr kh thiwr kh sphthathiwr kh patalophkhiwr kh badal nrkwr kh nrk wariwr kh aemna odyerimdwyrxykrxng स वरव यय स वर गन कत र द वत र दश लय s wrw yy s wr khnakt rithiwt rithsalyah अमर न र जर द व स त र दश व ब घ स र xmra nir chra ethwas t rithsa wiphukhah surah dd brryaythung swrrkh inwrrkhaerk idaek s w xw y s wr kh nak trithiw trithsalya inwrrkhthisxng misphthekiywkbthwyethphthnghlay inbththitx yngmisphthhmaythungphraphuththecahlaykha aelaniepnehtuphlhnungthithaihnaechuxwaphuaetngepnchawphuthth dngechn सर वज ञ स गत ब द ध धर मर जस तथ गत sr wch yh sukhth phuth oth thr mrachs tthakhth समन तभद र भगव न म रज ल ल कज ज ज न smn tphth or phkhwan marchil olkchich chinh षडभ ज ञ दशबल द वयव द व न यक sthphich oy thsphol th wywathi winaykh म न न द र श र घन श स त म न श क यम न स त य munin th rh s rikhnh sas ta munih sak ymunis tu yh dd knththisxngkhux phuwrrkhathi sphth olk aelaxun aebngepn 10 wrrkh idaek phuwwr kh olk purwr kh emuxng islwr kh phuekha wionsthiwr kh paaelakaraephthy sing hthiwr kh singotaelastwxun mnusywr kh mnusy phrhmwr kh phrahmn k st riywr kh kstriy iwsywr kh phxkha aela suth rwr kh suthr sahrbknththisam chux samanyathi sphththwip epnsphthekiywkbiwyakrn idaek khunsphth kriya khaekiywkbbthswd thurkic aelasphthebdetldxun erimdwy क ष म कर र ष टत त श श वत त श श व कर k esmkor ris ttatis siwtatis siwkrh xnidaeksphth k esmkr xris dtati siwtati aelasiwkr epntnxrrthkthamixrrthkthaaekkhmphirxmroks ephuxxthibayihekhaickhwamhmaythichdecn echn xmrokosthkhatn khxng ksirswamin tikasrwsmn khxng wnthykhtiy srwannth ramasrmi wyakhyasuth khxng phanuchi thiksit aelapthcnthrika khxng raymukut epntnbrrnanukrmKrsnaji Govinda Oka Poona City Law Printing Press 1913 Amarakosha cak sanskritdocuments org ifl xmroks 2010 06 24 thi ewyaebkaemchchin ody xwinas sthey by Avinash Sathaye namlingkhanusasn xmroks khxng xmrsuh phrxm xrrthktha xmrokosthkhatn khxng ksirswamin 1913 cakewb Internet Archive