องศาเรโอมูร์ (อังกฤษ: Réaumur scale/degree; ย่อ:°Ré, °Re, °R) หรือในไทยนิยมเรียกว่า องศาโรเมอร์ คือหน่วยวัดอุณหภูมิที่คิดค้นขึ้นโดย (René Antoine Ferchault de Réaumur) นักวิทยาศาสตร์และนักประดิษฐ์ชาวฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 1731 โดยกำหนดให้จุดเยือกแข็งของน้ำอยู่ที่ 0 องศาโรเมอร์ และจุดเดือดของน้ำอยู่ที่ 80 องศาโรเมอร์ ดังนั้นช่วงอุณหภูมิ 1 องศาโรเมอร์จะเท่ากับ 1.25 องศาเซลเซียสหรือเคลวิน
เทอร์โมมิเตอร์ของเรโอมูร์นั้นจะบรรจุแอลกอฮอล์เจือจางและมีหลักการคือกำหนดให้อุณหภูมิจุดเยือกแข็งของน้ำอยู่ที่ 0 องศา และขยายตัวไปตามท่อเป็นทีละองศาซึ่งคือเศษหนึ่งส่วนพันของปริมาตรที่บรรจุไว้ในกระเปาะของหลอด ณ จุดศูนย์องศา เขาเสนอว่าคุณภาพของแอลกอฮอล์ที่ใช้นั้นจะต้องเริ่มเดือดที่ 80 องศาโรเมอร์ นั่นคือ เมื่อปริมาตรแอลกอฮอล์ได้ขยายตัวไป 8% เรโอมูร์เลือกแอลกอฮอล์แทนที่จะใช้ปรอทเพราะขณะที่ขยายตัวจะเห็นได้ชัดเจนกว่า แต่ปัญหาที่พบคือ เทอร์โมมิเตอร์รุ่นดั้งเดิมของเขานั้นดูเทอะทะ และจุดเดือดที่ต่ำของแอลกอฮอล์ก็ไม่ค่อยมีประโยชน์ในการใช้งานจริงเท่าใดนัก ผู้ผลิตอุปกรณ์มักจะหันไปเลือกใช้ของเหลวชนิดอื่น แล้วใช้อุณหภูมิ 80 องศาโรเมอร์เพื่อระบุจุดเดือดของน้ำแทน ซึ่งสร้างความสับสนให้กับผู้ใช้งาน
ในปี ค.ศ. 1772 ฌ็อง-อ็องเดร เดอลุก (Jean-André Deluc) ได้ศึกษาสสารหลายชนิดที่มีการใช้ในเทอร์โมมิเตอร์หลังจากที่มีทฤษฎีใหม่ ๆ ที่เกี่ยวกับความร้อน และได้ข้อสรุปว่าเทอร์โมมิเตอร์ที่ใช้ปรอทนั้นเหมาะสมกับการใช้งานที่สุด เช่นว่า หากนำน้ำในปริมาณที่เท่า ๆ กันสองส่วน ณ อุณหภูมิ ก และ ข มาเทรวมกันแล้ว อุณหภูมิสุดท้ายที่วัดได้จะเป็นค่ากึ่งกลางระหว่าง ก และ ข พอดี และความสัมพันธ์นี้จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อทำการวัดด้วยปรอทเท่านั้น นับแต่คริสต์ศตวรรษที่ 18 เป็นต้นมา ปรอทก็ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลาย
ประวัติการใช้งาน
ในอดีตการใช้หน่วยวัดองศาโรเมอร์ได้ถูกใช้อย่างมากในทวีปยุโรป โดยเฉพาะในประเทศฝรั่งเศส เยอรมนี และรัสเซีย แต่ภายหลังจาก ค.ศ.1790 ประเทศฝรั่งเศสก็หันมาใช้องศาเซลเซียสในหน่วยวัดแทนองศาโรเมอร์
ปัจจุบันการใช้องศาโรเมอร์ยังถูกใช้งานในการวัดอุณหภูมิของนมในกระบวนการผลิตเนยในประเทศอิตาลี
จากเรโอมูร์ | เป็นเรโอมูร์ | |
---|---|---|
องศาเซลเซียส | [°C] = [°Ré] × 54 | [°Ré] = [°C] × 45 |
องศาฟาเรนไฮต์ | [°F] = [°Ré] × 94 + 32 | [°Ré] = ([°F] − 32) × 49 |
เคลวิน | [K] = [°Ré] × 54 + 273.15 | [°Ré] = ([K] − 273.15) × 45 |
แรงคิน | [°R] = [°Ré] × 94 + 491.67 | [°Ré] = ([°R] − 491.67) × 49 |
ตารางเปรียบเทียบหน่วยวัดอุณหภูมิ
รายการ | เคลวิน | เซลเซียส | ฟาเรนไฮต์ | แรงคิน | เดลิเซิล | นิวตัน | เรโอมูร์ | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ศูนย์สัมบูรณ์ | 0.00 | −273.15 | −459.67 | 0.00 | 559.73 | −90.14 | −218.52 | −135.90 |
อุณหภูมิพื้นผิวต่ำสุดที่มีการบันทึกบนโลก (วอสต็อก, แอนตาร์กติกา - 21 ก.ค. 1983) | 184 | −89 | −128 | 331 | 284 | −29 | −71 | −39 |
สารผสมระหว่างน้ำแข็ง/เกลือ ฟาเรนไฮต์ | 255.37 | −17.78 | 0.00 | 459.67 | 176.67 | −5.87 | −14.22 | −1.83 |
น้ำแข็งละลาย (ณ ความดันมาตรฐาน) | 273.15 | 0.00 | 32.00 | 491.67 | 150.00 | 0.00 | 0.00 | 7.50 |
ของน้ำ | 273.16 | 0.01 | 32.018 | 491.688 | 149.985 | 0.0033 | 0.008 | 7.50525 |
อุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ยโลก | 288 | 15 | 59 | 519 | 128 | 5 | 12 | 15 |
อุณหภูมิร่างกายมนุษย์เฉลี่ย | 310 | 37 | 98 | 558 | 95 | 12 | 29 | 27 |
อุณหภูมิพื้นผิวสูงสุดที่มีการบันทึกบนโลก (อซิซิญ่า, ลิเบีย - 13 ก.ย. 1922) แต่ยังคงไม่มีการยืนยันอย่างเป็นทางการ | 331 | 58 | 136 | 596 | 63 | 19 | 46 | 38 |
น้ำเดือด (ณ ความดันมาตรฐาน) | 373.15 | 100.00 | 211.97 | 671.64 | 0.00 | 33.00 | 80.00 | 60.00 |
ไททาเนียมละลาย | 1941 | 1668 | 3034 | 3494 | −2352 | 550 | 1334 | 883 |
พื้นผิวดวงอาทิตย์ | 5800 | 5500 | 9900 | 10400 | −8100 | 1800 | 4400 | 2900 |
หมายเหตุ:
|
อ้างอิง
- Herbert Dingle. The scientific adventure: essays in the history and philosophy of science. Sir Isaac Pitman and Sons, London, 1952. Page 131.
- . Hypertextbook.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-09-26. สืบค้นเมื่อ 2010-09-16.
แหล่งข้อมูลอื่น
- เครื่องแปลงหน่วยอุณหภูมิ
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xngsaeroxmur xngkvs Reaumur scale degree yx Re Re R hruxinithyniymeriykwa xngsaoremxr khuxhnwywdxunhphumithikhidkhnkhunody Rene Antoine Ferchault de Reaumur nkwithyasastraelankpradisthchawfrngess inpi kh s 1731 odykahndihcudeyuxkaekhngkhxngnaxyuthi 0 xngsaoremxr aelacudeduxdkhxngnaxyuthi 80 xngsaoremxr dngnnchwngxunhphumi 1 xngsaoremxrcaethakb 1 25 xngsaeslesiyshruxekhlwinethxrommietxrekainrankhayyathikrungewiynnaaesdngxunhphumiinhnwyxngsaoremxr ethxrommietxrkhxngeroxmurnncabrrcuaexlkxhxlecuxcangaelamihlkkarkhuxkahndihxunhphumicudeyuxkaekhngkhxngnaxyuthi 0 xngsa aelakhyaytwiptamthxepnthilaxngsasungkhuxesshnungswnphnkhxngprimatrthibrrcuiwinkraepaakhxnghlxd n cudsunyxngsa ekhaesnxwakhunphaphkhxngaexlkxhxlthiichnncatxngerimeduxdthi 80 xngsaoremxr nnkhux emuxprimatraexlkxhxlidkhyaytwip 8 eroxmureluxkaexlkxhxlaethnthicaichprxthephraakhnathikhyaytwcaehnidchdecnkwa aetpyhathiphbkhux ethxrommietxrrundngedimkhxngekhannduethxatha aelacudeduxdthitakhxngaexlkxhxlkimkhxymipraoychninkarichngancringethaidnk phuphlitxupkrnmkcahnipeluxkichkhxngehlwchnidxun aelwichxunhphumi 80 xngsaoremxrephuxrabucudeduxdkhxngnaaethn sungsrangkhwamsbsnihkbphuichngan inpi kh s 1772 chxng xxngedr edxluk Jean Andre Deluc idsuksassarhlaychnidthimikarichinethxrommietxrhlngcakthimithvsdiihm thiekiywkbkhwamrxn aelaidkhxsrupwaethxrommietxrthiichprxthnnehmaasmkbkarichnganthisud echnwa haknanainprimanthietha knsxngswn n xunhphumi k aela kh maethrwmknaelw xunhphumisudthaythiwdidcaepnkhakungklangrahwang k aela kh phxdi aelakhwamsmphnthnicaekidkhunktxemuxthakarwddwyprxthethann nbaetkhriststwrrsthi 18 epntnma prxthkthuknamaichxyangaephrhlayprawtikarichnganphaphodycharl ochaesf minar prakxbkhxmulkarrukranrsesiyodyfrngessin kh s 1812 krafaenwnxnthangdanlang xancaksayipkhwa rabuxunhphumiinrahwangthikxngthphykklbmacakrsesiy inseklxngsaoremxrthitakwacudeyuxkaekhng inxditkarichhnwywdxngsaoremxridthukichxyangmakinthwipyuorp odyechphaainpraethsfrngess eyxrmni aelarsesiy aetphayhlngcak kh s 1790 praethsfrngesskhnmaichxngsaeslesiysinhnwywdaethnxngsaoremxr pccubnkarichxngsaoremxryngthukichnganinkarwdxunhphumikhxngnminkrabwnkarphlitenyinpraethsxitali sutrkaraeplngxunhphumixngsaoremxr cakeroxmur epneroxmurxngsaeslesiys C Re 5 4 Re C 4 5xngsafaerniht F Re 9 4 32 Re F 32 4 9ekhlwin K Re 5 4 273 15 Re K 273 15 4 5aerngkhin R Re 9 4 491 67 Re R 491 67 4 9tarangepriybethiybhnwywdxunhphumitarangepriybethiybhnwywdxunhphumi raykar ekhlwin eslesiys faerniht aerngkhin edliesil niwtn eroxmursunysmburn 0 00 273 15 459 67 0 00 559 73 90 14 218 52 135 90xunhphumiphunphiwtasudthimikarbnthukbnolk wxstxk aexntarktika 21 k kh 1983 184 89 128 331 284 29 71 39sarphsmrahwangnaaekhng eklux faerniht 255 37 17 78 0 00 459 67 176 67 5 87 14 22 1 83naaekhnglalay n khwamdnmatrthan 273 15 0 00 32 00 491 67 150 00 0 00 0 00 7 50khxngna 273 16 0 01 32 018 491 688 149 985 0 0033 0 008 7 50525xunhphumiphunphiwechliyolk 288 15 59 519 128 5 12 15xunhphumirangkaymnusyechliy 310 37 98 558 95 12 29 27xunhphumiphunphiwsungsudthimikarbnthukbnolk xsisiya liebiy 13 k y 1922 aetyngkhngimmikaryunynxyangepnthangkar 331 58 136 596 63 19 46 38naeduxd n khwamdnmatrthan 373 15 100 00 211 97 671 64 0 00 33 00 80 00 60 00iththaeniymlalay 1941 1668 3034 3494 2352 550 1334 883phunphiwdwngxathity 5800 5500 9900 10400 8100 1800 4400 2900hmayehtu twelkhintarangnimikarpdessthsniym xunhphumirangkaymnusypktixyuthi 36 8 C 0 7 C hrux 98 2 F 1 3 F twelkhthimkrabuwa 98 6 F nnepnkarkhanwnaeplnghnwykhacakxunhphumimatrthaneyxrmninkhriststwrrsthi 19 thi 37 C enuxngcakimidmichwngkhabwklbthirbid cungimsamarthrabukhakhwamkhladekhluxnidxangxingHerbert Dingle The scientific adventure essays in the history and philosophy of science Sir Isaac Pitman and Sons London 1952 Page 131 Hypertextbook com khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 09 26 subkhnemux 2010 09 16 aehlngkhxmulxunekhruxngaeplnghnwyxunhphumi