หอยเต้าปูน (อังกฤษ: Cone snail, Cone shell) จัดอยู่ในประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ไฟลัมมอลลัสคา ชั้นแกสโทรโพดา เป็นสัตว์นักล่า พบได้ตามแถบแนวปะการัง เปลือกมีสีสันสดใส และมีลวดลายสวยงาม ดึงดูดสายตา แต่มีบางสายพันธุ์ที่สีของหอยเต้าปูนจะซ่อนอยู่ภายใต้เนื้อเยื่อพิเศษ ที่ยังไม่ทราบการทำงานที่แน่ชัด (Periostracum) บางชนิดในแถบทะเลเขตร้อน จะมีขนาดที่ค่อนข้างใหญ่ มีมากกว่า 500 สปีชี่ส์ จัดเป็นสัตว์กินเนื้อ มักจะล่าหนอนทะเล ปลาเล็ก ๆ หอย หรือแม้กระทั่งหอยเต้าปูนด้วยกันเองเป็นอาหาร เนื่องจากเคลื่อนที่ได้ช้า จึงมีการพัฒนาอาวุธเฉพาะตัวขึ้นมาคือ เข็มพิษ (venomous harpoon) เพื่อใช้สำหรับล่าเหยื่อและทำให้เหยื่อหมดสติก่อนกลายเป็นอาหาร ที่มีความรวดเร็วสูง ซึ่งในสายพันธุ์ขนาดใหญ่ พิษของหอยเต้าปูนมีความรุนแรงมากพอที่จะฆ่าคนได้
หอยเต้าปูน | |
---|---|
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
โดเมน: | ยูแคริโอต |
อาณาจักร: | สัตว์ |
ไฟลัม: | มอลลัสกา |
ชั้น: | หอยฝาเดียว |
ชั้นย่อย: | |
อันดับ: | |
วงศ์ใหญ่: | |
วงศ์: | หอยเต้าปูน Linnaeus, 1758 |
สกุล | |
|
ลักษณะทั่วไป
หอยเต้าปูนเป็นสัตว์ที่มีลำตัวอ่อนนุ่ม มีเปลือกห่อหุ้มอยู่ภายนอกร่างกาย เพื่อเป็นการป้องกันอันตราย จากสัตว์อื่น ๆ ในท้องทะเล มีเข็มพิษเป็นอาวุธ พิษของหอยเต้าปูนเป็นที่สนใจของนักวิทยาศาสตร์เป็นอย่างมาก เนื่องจากมีความซับซ้อนในโครงสร้างของพิษ อีกทั้งยังออกฤทธิหลากหลาย ทำให้ยากที่จะป้องกันได้ ซึ่งพัฒนาการนี้เองทำให้หอยเต้าปูนได้เปรียบสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น สามารถทำให้เหยื่อเป็นอัมพาตชนิดเฉียบพลันได้ภายใน 1/200 วินาที ความเร็วในการจู่โจมอยู่ที่ 1/4 วินาที
หอยเต้าปูนสายพันธุ์ Conus geographus ที่รู้จักกันชื่อ หอยบุหรี่ มีเข็มพิษที่ร้ายแรงมาก ถึงกับมีคำกล่าวว่า หากใครถูกเข็มพิษของชนิดนี้เข้า จะมีชีวิตอยู่ได้เพียงช่วงเวลา ของบุหรี่ 1 มวน ในสายพันธุ์ของเขตร้อนที่มีขนาดใหญ่ เข็มพิษจะสามารถเจาะทะลุถุงมือหรือชุดว่ายน้ำได้ พิษของมันจะทำให้ ปวด บวม ชา ในกรณีที่ร้ายแรง จะทำให้กล้ามเนื้อเป็นอัมพาต สายตาพร่ามัว ระบบหายใจล้มเหลว ปัจจุบันยังไม่มียาชนิดใดจะช่วยเยียวยาหรือรักษาพิษของหอยเต้าปูนได้
การพัฒนาตัวยาจากการสกัดพิษ
พิษของหอยเต้าปูนมีชื่อว่า โคโนทอกซิน (conotoxins) เป็นหนึ่งในพิษที่ร้ายแรงที่สุดเท่าที่เคยมีการค้นพบ ที่ออกฤทธิต่อระบบประสาท ในหอยเต้าปูนแต่ละตัว จะสามารถสร้างพิษ ที่แตกต่างกันได้กว่า 100 ชนิด ซึ่งในพิษนี้จะมีสายโปรตีน (peptide) ที่สามารถยับยั้ง สารสื่อประสาทที่สำคัญหลายตัว ของสิ่งมีชีวิตได้ เมื่อสกัดเอาสายโปรตีนบางตัวออกมา นำมาวิจัยพัฒนาต่อ เป็นยาต่อต้านอาการเจ็บปวด ซึ่งมันจะไปหยุดยั้งเฉพาะความเจ็บปวดบางอาการเท่านั้น โดยที่ไม่ทำลายความรู้สึกทั้งหมด ในปัจจุบันสิ่งที่ใช้ระงับอาการเจ็บปวดคือ มอร์ฟีน แต่จากการทดลองพบว่า ยาที่สกัดจากพิษของหอยเต้าปูน มีประสิทธิภาพมากกว่ามอร์ฟีนถึง 1000 เท่า อีกทั้งยังสามารถใช้ได้ในอาการเจ็บปวดบางกรณี ที่มอร์ฟีนไม่สามารถระงับได้อีกด้วย
ดูเพิ่ม
- บทความเกี่ยวกับหอยเต้าปูนบนข่าว BBC
- บทความ "หอยเต้าปูน จู่โจมสายฟ้าแลบ" บน NewScientist.com
- คลิปวิดีโอแสดง หอยเต้าปูนจู่โจมปลาและกิน บน youtube
- บทความจำแนกรายละเอียดพิษของหอยเต้าปูน 2010-02-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- บทความพิษหอยเต้าปูนจาก National Institute of General Medical Sciences 2017-11-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ข้อมูล โคโนทอกซิน เพิ่มเติม 2009-03-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
อ้างอิง
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2013-09-30.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
hxyetapun xngkvs Cone snail Cone shell cdxyuinpraephthstwimmikraduksnhlng iflmmxllskha chnaeksothrophda epnstwnkla phbidtamaethbaenwpakarng epluxkmisisnsdis aelamilwdlayswyngam dungdudsayta aetmibangsayphnthuthisikhxnghxyetapuncasxnxyuphayitenuxeyuxphiess thiyngimthrabkarthanganthiaenchd Periostracum bangchnidinaethbthaelekhtrxn camikhnadthikhxnkhangihy mimakkwa 500 spichis cdepnstwkinenux mkcalahnxnthael plaelk hxy hruxaemkrathnghxyetapundwyknexngepnxahar enuxngcakekhluxnthiidcha cungmikarphthnaxawuthechphaatwkhunmakhux ekhmphis venomous harpoon ephuxichsahrblaehyuxaelathaihehyuxhmdstikxnklayepnxahar thimikhwamrwderwsung sunginsayphnthukhnadihy phiskhxnghxyetapunmikhwamrunaerngmakphxthicakhakhnidhxyetapunkarcaaenkchnthangwithyasastrodemn yuaekhrioxtxanackr stwiflm mxllskachn hxyfaediywchnyxy xndb wngsihy wngs hxyetapun Linnaeus 1758skullksnathwiphxyetapunepnstwthimilatwxxnnum miepluxkhxhumxyuphaynxkrangkay ephuxepnkarpxngknxntray cakstwxun inthxngthael miekhmphisepnxawuth phiskhxnghxyetapunepnthisnickhxngnkwithyasastrepnxyangmak enuxngcakmikhwamsbsxninokhrngsrangkhxngphis xikthngyngxxkvththihlakhlay thaihyakthicapxngknid sungphthnakarniexngthaihhxyetapunidepriybsingmichiwitchnidxun samarththaihehyuxepnxmphatchnidechiybphlnidphayin 1 200 winathi khwamerwinkarcuocmxyuthi 1 4 winathi hxyetapunsayphnthu Conus geographus thiruckknchux hxybuhri miekhmphisthirayaerngmak thungkbmikhaklawwa hakikhrthukekhmphiskhxngchnidniekha camichiwitxyuidephiyngchwngewla khxngbuhri 1 mwn insayphnthukhxngekhtrxnthimikhnadihy ekhmphiscasamarthecaathaluthungmuxhruxchudwaynaid phiskhxngmncathaih pwd bwm cha inkrnithirayaerng cathaihklamenuxepnxmphat saytaphramw rabbhayiclmehlw pccubnyngimmiyachnididcachwyeyiywyahruxrksaphiskhxnghxyetapunidkarphthnatwyacakkarskdphisphiskhxnghxyetapunmichuxwa okhonthxksin conotoxins epnhnunginphisthirayaerngthisudethathiekhymikarkhnphb thixxkvththitxrabbprasath inhxyetapunaetlatw casamarthsrangphis thiaetktangknidkwa 100 chnid sunginphisnicamisayoprtin peptide thisamarthybyng sarsuxprasaththisakhyhlaytw khxngsingmichiwitid emuxskdexasayoprtinbangtwxxkma namawicyphthnatx epnyatxtanxakarecbpwd sungmncaiphyudyngechphaakhwamecbpwdbangxakarethann odythiimthalaykhwamrusukthnghmd inpccubnsingthiichrangbxakarecbpwdkhux mxrfin aetcakkarthdlxngphbwa yathiskdcakphiskhxnghxyetapun miprasiththiphaphmakkwamxrfinthung 1000 etha xikthngyngsamarthichidinxakarecbpwdbangkrni thimxrfinimsamarthrangbidxikdwyduephimbthkhwamekiywkbhxyetapunbnkhaw BBC bthkhwam hxyetapun cuocmsayfaaelb bn NewScientist com khlipwidioxaesdng hxyetapuncuocmplaaelakin bn youtube bthkhwamcaaenkraylaexiydphiskhxnghxyetapun 2010 02 25 thi ewyaebkaemchchin bthkhwamphishxyetapuncak National Institute of General Medical Sciences 2017 11 07 thi ewyaebkaemchchin khxmul okhonthxksin ephimetim 2009 03 13 thi ewyaebkaemchchinxangxing khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2016 03 04 subkhnemux 2013 09 30