ส้มแขก | |
---|---|
ดอกส้มแขก | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Plantae |
ไม่ได้จัดลำดับ: | Angiosperms |
ไม่ได้จัดลำดับ: | Eudicots |
ไม่ได้จัดลำดับ: | Rosids |
อันดับ: | Malpighiales |
วงศ์: | Clusiaceae |
สกุล: | Garcinia |
สปีชีส์: | G. atroviridis |
ชื่อทวินาม | |
Garcinia atroviridis ex |
ส้มแขก (ชื่อวิทยาศาสตร์: Garcinia atroviridis) ชื่ออื่นคือ ส้มควาย (ตรัง), อาแซกะลูโก (ยะลา), ส้มมะอ้น, ส้มมะวน, มะขามแขก (ภาคใต้), ชะมวงช้าง เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Guttiferae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับมังคุด ชะมวง มีถิ่นกำเนิดในอินเดียและศรีลังกา ซึ่งในประเทศไทยนิยมปลูกมากในทางภาคใต้
แถวตลาดนัด เขาจะขายกันแบบฝานเป็นชิ้นบาง ๆ เป็นส้มแขกตากแห้งโดยนำไปตากแห้งจนมีสีหมองดำ ๆ หมองคล้ำ ซึ่งสามารถเก็บเอาไว้ใช้ได้นานหลายเดือน โดยวิธีการนำไปใช้คือนำไปล้างน้ำให้สะอาดแล้วใส่ลงไปในหม้อ เพียงไม่กี่กลีบก็จะช่วยเพิ่มรสเปรี้ยว พร้อมให้กลิ่นหอมมากยิ่งขึ้น หรือจะนำมาต้มกับน้ำดื่มก็ได้เช่นกัน
เนื้อส่วนที่แข็ง มี กรดมาลิก และ กรดแอสคอร์บิก และ ฟลาโวนอยด์ นำมาปรุงรสเปรี้ยวในอาหารเช่น แกงส้ม หรือทำเครื่องดื่มลดความอ้วน ผลส้มแขกสุกเป็นสีส้มเหลือง ส้มแขกที่หั่นเป็นชิ้นแล้วตากแดดให้แห้ง ในภาษามลายูเรียก อาซัมเกอปิง มีขายทางการค้า ใช้แต่งรสเปรี้ยวในสลัด แกง และต้มต่างๆ ผลดิบเมื่อโตเต็มที่นำมาตากแห้งนำไปต้มเคี่ยวในน้ำเชื่อม รับประทานเป็นของหวาน ผลแห้งเป็นตัวช่วยให้สีย้อมติดแน่นทนทาน น้ำต้มเคี่ยวใบและรากใช้แก้อาการปวดหูใช้แปรรูปได้หลายอย่าง เช่น น้ำส้มแขก ส้มแขกกวน ส้มแขกหยี แยมส้มแขก ส้มแขกแช่อิ่ม รสเปรี้ยวของส้มแขกเกิดจากกรดหลายชนิดเช่นกรดซิตริก กรดทาร์ทาริก กรดมาลิก กรดแอสคอร์บิกและกรดไฮดรอกซีซิตริก
ลักษณะ
- ต้นส้มแขกเป็นไม้ยืนต้นทรงพุ่มกว้างสูงประมาณ 5-14 เมตร เป็นไม้เนื้อแข็ง ลักษณะของเปลือกต้นหากเป็นต้นอ่อนจะมีสีเขียว หากแก่แล้วจะมีสีน้ำตาลอมดำ เมื่อลำต้นเป็นแผลจะมียางสีเหลืองออกมา
- ใบส้มแขกเป็นใบเดี่ยวออกตรงข้ามเป็นคู่ ใบใหญ่ผิวเรียบเป็นมัน ใบอ่อนมีสีน้ำตาลอมแดง ขอบใบเรียบ ปลายใบแหลม ยาวประมาณ 10-20 เซนติเมตร กว้างประมาณ 4-5 เซนติเมตร โดยใบแห้งจะมีสีน้ำตาล
- ดอกส้มแขกออกตามปลายยอด ดอกเพศผู้มีกลีบเลี้ยง 4 กลีบ ด้านในสีแดง ด้านนอกมีสีเขียว มีเกสรเพศผู้เรียงอยู่บนฐานรองดอก ส่วนดอกเพศเมียเป็นดอกเดี่ยวแทงออกจากปลายกิ่ง มีขนาดเล็กกว่าดอกเพศผู้ รังไข่มีรูปทรงกระบอก
- ผลส้มแขกลักษณะของผลส้มแขกเป็นผลเดี่ยว ผิวเรียบสีเขียว เมื่อแก่จัดจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองแก่ มีขนาดใกล้เคียงกับผลกระท้อน เปลือกผลเป็นร่องตามแนวขั้วไปยังปลายผล มีประมาณ 8-10 ร่อง ที่ขั้วมีกลีบเลี้ยงติดอยู่ 2 ชั้น ชั้นละ 4 กลีบ เนื้อแข็งมีรสเปรี้ยวจัด ในผลมีเมล็ดแข็ง 2-3 เมล็ด
ผลส้มแขกมีรสเปรี้ยว นิยมนำมาปรุงอาหาร เช่น แกงส้ม แกงเลียง ต้มเนื้อ ต้มปลา เพื่อให้มีรสเปรี้ยว หรือใช้ทำน้ำแกงขนมจีน ทำเป็นเครื่องดื่มลดความอ้วน โดยการรับประทานส้มแขกในระยะแรกทำให้รู้สึกหิวบ่อยมากขึ้น เนื่องจากไปเร่งระบบการเผาผลาญอาหาร โดยร่างกายจะค่อย ๆ ปรับตัวไปเอง ซึ่งใช้ระยะเวลาประมาณ 1-2 อาทิตย์ หากรับประทานไปนาน ๆ ก็จะช่วยลดความอยากอาหาร ทำให้รู้สึกไม่หิวได้ และเมื่อหยุดรับประทานส้มแขก ร่างกายจึงไม่กลับมาอ้วน และที่สำคัญก็คือไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย ซึ่งผู้เชี่ยวชาญด้านโภชนาวิทยา[] มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ประเมินผลและพบว่า ไม่มีการเปลี่ยนของหน้าที่ของตับและไต รวมไปถึงระดับน้ำตาลในเลือดและความดันเลือดก็ไม่มีการเปลี่ยนแปลงเช่นกัน[]
ส้มแขกมีสารสำคัญที่มีชื่อว่า หรือเรียกสั้น ๆ ว่า HCA ซึ่งเป็นสารที่มีคุณสมบัติช่วยยับยั้งเอนไซม์ในกระบวนการสร้างไขมันจากการบริโภคอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตสูง นอกจากนี้ยังมีกรดอินทรีย์อื่น ๆ อีกด้วย ไม่ว่าจะเป็น (), กรดโดคีคาโนอิค (Dodecanoic Acid), กรดออกตาดีคาโนอิค (Octadecanoic acid) และกรดเพนตาดีคาโนอิค (Pentadecanoic acid)
ในปัจจุบันส้มแขกได้มีการนำไปสกัดทำเป็นผลิตภัณฑ์ลดน้ำหนัก ลดความอ้วน หลายรูปแบบ เช่น แบบผง แบบเม็ด ชาส้มแขก ส้มแขกแคปซูล โดยจะมีขนาดตั้งแต่ 300-600 มิลลิกรัม และจะมีเนื้อส้มแขกประมาณ 250-500 มิลลิกรัม และมีปริมาณ HCA ประมาณ 60-70% โดยจะแตกต่างกับส้มแขกบดแห้งบรรจุแคปซูลธรรมดาที่ไม่ได้ผ่านการสกัด ซึ่งจะมีปริมาณของ HCA เพียง 30% เท่านั้น
สรรพคุณ
- ดอกช่วยแก้อาการไอ
- ดอกใช้เป็นยาขับเสมหะ
- ผลแก่นำมาใช้ทำเป็นชาลดความดันได้ หรือจะใช้ดอกก็ได้
- ช่วยรักษาโรคเบาหวาน ด้วยการใช้ดอกตัวผู้แห้งต้มกับน้ำ (อัตราส่วน 7 ดอก : น้ำ 1 ลิตร) เติมน้ำครั้งที่สองใส่ดอก 3 ดอกต่อน้ำ 1 ลิตร โดยไม่ต้องทิ้งดอกที่ต้มในครั้งแรก แล้วนำมาดื่ม
- ใช้เป็นยาสมุนไพรช่วยฟอกโลหิต
- รากใช้ทำเป็นยาแก้กระษัย ด้วยการนำมาตากแห้งแล้วต้มกับน้ำผสมกับรากมังคุดและรากจูบู
- ตำรายาพื้นบ้านใช้ส้มแขกทำเป็นยาบรรเทาอาการปวดท้องในสตรีมีครรภ์
- ส้มแขกมีสรรพคุณใช้เป็นยาระบายอ่อน ๆ
- ใบสดน้ำมารับประทานช่วยแก้อาการท้องผูก
- มีฤทธิ์เป็นยาขับปัสสาวะ
- รากใช้ทำเป็นยารักษานิ่ว ด้วยการนำมาตากแห้งแล้วต้มกับน้ำผสมกับรากมังคุดและรากจูบู
- ผลส้มแขกมีสรรพคุณช่วยลดความอยากอาหาร ความรู้สึกหิวอาหาร
- ช่วยเร่งระบบการเผาผลาญอาหาร
- ช่วยดักจับแป้งและไขมันจากอาหารที่รับประทานเข้าไป
- สารสกัดจากส้มแขกช่วยทำให้ลำไส้เกิดการเคลื่อนไหวตัวได้เร็วขึ้นและขับไขมันออกมา
- ส้มแขกลดน้ำหนักเนื่องจากผลส้มแขกมีกรดมีกรดไฮดรอกซีซิตริก (HCA) มีสรรพคุณในการช่วยลดน้ำหนักและช่วยลดไขมันส่วนเกินของร่างกายได้
- มีคุณสมบัติช่วยสกัดกั้นการเปลี่ยนแปลงของคาร์โบไฮเดรต (อาหารจำพวกแป้งและน้ำตาล) ไม่ให้เปลี่ยนเป็นไขมันสะสมตามร่างกายได้ แต่จะนำไปเป็นพลังงานให้ร่างกาย ทำให้ร่างกายไม่อ่อนเพลีย
- ส้มแขกลดความอ้วนช่วยกระตุ้นให้มีการดึงเอาไขมันที่สะสมในร่างกายออกมาใช้เป็นพลังงาน ทำให้ไขมันที่สะสมตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายลดน้อยลง ซึ่งจะทำให้ร่างกายมีน้ำหนักลดลงอย่างช้า ๆ ประมาณ 1 กิโลกรัมภายใน 3-4 อาทิตย์
ประโยชน์
- ใบแก่นำมาทำเป็นชาได้ และจะมีกลิ่นเหม็นเขียว
- ใบอ่อนส้มแขกใช้รองนึ่งปลา
- ผลสดใช้ทำแกงส้ม
- ผลใช้ปรุงรสอาหารด้วยการนำมาผ่าเป็นชิ้นเล็ก ๆ เอาเยื่อและเมล็ดออก นำมาตากแห้งแล้วนำมาใช้ปรุงรสอาหารให้มีรสเปรี้ยว เช่น แกงส้ม แกงเลียง หรือใช้ทำน้ำแกงขนมจีน เป็นต้น หรือจะใช้ใบแทนผลก็ให้รสเปรี้ยวได้เช่นกัน
- ใบแก่ของส้มแขกมาผสมกับยางพารา เพื่อใช้ทำปฏิกิริยาให้น้ำยางพาราแข็งตัวเร็วขึ้น ด้วยการใช้ใบแก่ประมาณ 2 กิโลกรัมผสมกับน้ำ 10 ลิตรแล้วทิ้งไว้ประมาณ 1 อาทิตย์แล้วค่อยนำมาผสมกับยางพารา
- ลำต้นส้มแขกแก่ ๆ อายุเกิน 30 ปีขึ้นไป สามารถนำมาใช้ทำเป็นเฟอร์นิเจอร์ หรือทำเป็นไม้แปรรูปใช้ในการก่อสร้างได้
- มีการนำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อย่างหลากหลาย เช่น ชาส้มแขก น้ำส้มแขก ส้มแขกกวน แคปซูลส้มแขก ฯลฯ
อ้างอิง
- มัณฑนา นวลเจริญ. 2552. สารานุกรมความหลากหลายทางชีวภาพตำบลกะเปอร์ อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง. กทม. สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- Muensritharam, L; Tolieng, V; Chaichantipyuth, C; Petsom, A; Nhujak, T (2008). "Capillary zone electrophoresis for separation and analysis of hydroxycitric acid and hydroxycitric acid lactone: Application to herbal products of Garcinia atroviridis Griff". Journal of pharmaceutical and biomedical analysis. 46 (3): 577–82. doi:10.1016/j.jpba.2007.11.008. PMID 18160244.
- พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ และคณะ. ทรัพยากรพืชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 2: ไม้ผลและไม้ผลเคี้ยวมัน. กทม. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. 2544. หน้า 241
- นิดดา หงส์วิวัฒน์. ส้มแขกลูกยักษ์ของบ้านคีรีวง. ครัว. ปีที่ 20 ฉบับที่ 229 กรกฎาคม 2556 หน้า 10 – 11
แหล่งข้อมูลอื่น
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ ส้มแขก ที่วิกิสปีชีส์
เว็บไซต์คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, เว็บไซต์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, เว็บไซต์หมอชาวบ้าน, วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี (EN)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
smaekhkdxksmaekhkkarcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Plantaeimidcdladb Angiospermsimidcdladb Eudicotsimidcdladb Rosidsxndb Malpighialeswngs Clusiaceaeskul Garciniaspichis G atroviridischuxthwinamGarcinia atroviridis ex smaekhk chuxwithyasastr Garcinia atroviridis chuxxunkhux smkhway trng xaaeskaluok yala smmaxn smmawn makhamaekhk phakhit chamwngchang epnimyuntninwngs Guttiferae sungepnwngsediywkbmngkhud chamwng mithinkaenidinxinediyaelasrilngka sunginpraethsithyniymplukmakinthangphakhit aethwtladnd ekhacakhayknaebbfanepnchinbang epnsmaekhktakaehngodynaiptakaehngcnmisihmxngda hmxngkhla sungsamarthekbexaiwichidnanhlayeduxn odywithikarnaipichkhuxnaiplangnaihsaxadaelwislngipinhmx ephiyngimkiklibkcachwyephimrsepriyw phrxmihklinhxmmakyingkhun hruxcanamatmkbnadumkidechnkn ibsmaekhk enuxswnthiaekhng mi krdmalik aela krdaexskhxrbik aela flaownxyd namaprungrsepriywinxaharechn aekngsm hruxthaekhruxngdumldkhwamxwn phlsmaekhksukepnsismehluxng smaekhkthihnepnchinaelwtakaeddihaehng inphasamlayueriyk xasmekxping mikhaythangkarkha ichaetngrsepriywinsld aekng aelatmtang phldibemuxotetmthinamatakaehngnaiptmekhiywinnaechuxm rbprathanepnkhxnghwan phlaehngepntwchwyihsiyxmtidaennthnthan natmekhiywibaelarakichaekxakarpwdhuichaeprrupidhlayxyang echn nasmaekhk smaekhkkwn smaekhkhyi aeymsmaekhk smaekhkaechxim rsepriywkhxngsmaekhkekidcakkrdhlaychnidechnkrdsitrik krdthartharik krdmalik krdaexskhxrbikaelakrdihdrxksisitriklksnatnsmaekhkepnimyuntnthrngphumkwangsungpraman 5 14 emtr epnimenuxaekhng lksnakhxngepluxktnhakepntnxxncamisiekhiyw hakaekaelwcamisinatalxmda emuxlatnepnaephlcamiyangsiehluxngxxkmaibsmaekhkepnibediywxxktrngkhamepnkhu ibihyphiweriybepnmn ibxxnmisinatalxmaedng khxbiberiyb playibaehlm yawpraman 10 20 esntiemtr kwangpraman 4 5 esntiemtr odyibaehngcamisinataldxksmaekhkxxktamplayyxd dxkephsphumiklibeliyng 4 klib daninsiaedng dannxkmisiekhiyw mieksrephsphueriyngxyubnthanrxngdxk swndxkephsemiyepndxkediywaethngxxkcakplayking mikhnadelkkwadxkephsphu rngikhmirupthrngkrabxkphlsmaekhklksnakhxngphlsmaekhkepnphlediyw phiweriybsiekhiyw emuxaekcdcaepliynepnsiehluxngaek mikhnadiklekhiyngkbphlkrathxn epluxkphlepnrxngtamaenwkhwipyngplayphl mipraman 8 10 rxng thikhwmiklibeliyngtidxyu 2 chn chnla 4 klib enuxaekhngmirsepriywcd inphlmiemldaekhng 2 3 emld phlsmaekhkmirsepriyw niymnamaprungxahar echn aekngsm aekngeliyng tmenux tmpla ephuxihmirsepriyw hruxichthanaaekngkhnmcin thaepnekhruxngdumldkhwamxwn odykarrbprathansmaekhkinrayaaerkthaihrusukhiwbxymakkhun enuxngcakiperngrabbkarephaphlayxahar odyrangkaycakhxy prbtwipexng sungichrayaewlapraman 1 2 xathity hakrbprathanipnan kcachwyldkhwamxyakxahar thaihrusukimhiwid aelaemuxhyudrbprathansmaekhk rangkaycungimklbmaxwn aelathisakhykkhuximepnxntraytxrangkay sungphuechiywchaydanophchnawithya ikhr mhawithyalymhidl idpraeminphlaelaphbwa immikarepliynkhxnghnathikhxngtbaelait rwmipthungradbnatalineluxdaelakhwamdneluxdkimmikarepliynaeplngechnkn txngkarxangxing smaekhkmisarsakhythimichuxwa hruxeriyksn wa HCA sungepnsarthimikhunsmbtichwyybyngexnisminkrabwnkarsrangikhmncakkarbriophkhxaharpraephthkharobihedrtsung nxkcakniyngmikrdxinthriyxun xikdwy imwacaepn krdodkhikhaonxikh Dodecanoic Acid krdxxktadikhaonxikh Octadecanoic acid aelakrdephntadikhaonxikh Pentadecanoic acid inpccubnsmaekhkidmikarnaipskdthaepnphlitphnthldnahnk ldkhwamxwn hlayrupaebb echn aebbphng aebbemd chasmaekhk smaekhkaekhpsul odycamikhnadtngaet 300 600 millikrm aelacamienuxsmaekhkpraman 250 500 millikrm aelamipriman HCA praman 60 70 odycaaetktangkbsmaekhkbdaehngbrrcuaekhpsulthrrmdathiimidphankarskd sungcamiprimankhxng HCA ephiyng 30 ethannsrrphkhundxkchwyaekxakarix dxkichepnyakhbesmha phlaeknamaichthaepnchaldkhwamdnid hruxcaichdxkkid chwyrksaorkhebahwan dwykarichdxktwphuaehngtmkbna xtraswn 7 dxk na 1 litr etimnakhrngthisxngisdxk 3 dxktxna 1 litr odyimtxngthingdxkthitminkhrngaerk aelwnamadum ichepnyasmuniphrchwyfxkolhit rakichthaepnyaaekkrasy dwykarnamatakaehngaelwtmkbnaphsmkbrakmngkhudaelarakcubu tarayaphunbanichsmaekhkthaepnyabrrethaxakarpwdthxnginstrimikhrrph smaekhkmisrrphkhunichepnyarabayxxn ibsdnamarbprathanchwyaekxakarthxngphuk mivththiepnyakhbpssawa rakichthaepnyarksaniw dwykarnamatakaehngaelwtmkbnaphsmkbrakmngkhudaelarakcubu phlsmaekhkmisrrphkhunchwyldkhwamxyakxahar khwamrusukhiwxahar chwyerngrabbkarephaphlayxahar chwydkcbaepngaelaikhmncakxaharthirbprathanekhaip sarskdcaksmaekhkchwythaihlaisekidkarekhluxnihwtwiderwkhunaelakhbikhmnxxkma smaekhkldnahnkenuxngcakphlsmaekhkmikrdmikrdihdrxksisitrik HCA misrrphkhuninkarchwyldnahnkaelachwyldikhmnswnekinkhxngrangkayid mikhunsmbtichwyskdknkarepliynaeplngkhxngkharobihedrt xaharcaphwkaepngaelanatal imihepliynepnikhmnsasmtamrangkayid aetcanaipepnphlngnganihrangkay thaihrangkayimxxnephliy smaekhkldkhwamxwnchwykratunihmikardungexaikhmnthisasminrangkayxxkmaichepnphlngngan thaihikhmnthisasmtamswntang khxngrangkayldnxylng sungcathaihrangkayminahnkldlngxyangcha praman 1 kiolkrmphayin 3 4 xathitypraoychnibaeknamathaepnchaid aelacamiklinehmnekhiyw ibxxnsmaekhkichrxngnungpla phlsdichthaaekngsm phlichprungrsxahardwykarnamaphaepnchinelk exaeyuxaelaemldxxk namatakaehngaelwnamaichprungrsxaharihmirsepriyw echn aekngsm aekngeliyng hruxichthanaaekngkhnmcin epntn hruxcaichibaethnphlkihrsepriywidechnkn ibaekkhxngsmaekhkmaphsmkbyangphara ephuxichthaptikiriyaihnayangpharaaekhngtwerwkhun dwykarichibaekpraman 2 kiolkrmphsmkbna 10 litraelwthingiwpraman 1 xathityaelwkhxynamaphsmkbyangphara latnsmaekhkaek xayuekin 30 pikhunip samarthnamaichthaepnefxrniecxr hruxthaepnimaeprrupichinkarkxsrangid mikarnamaaeprrupepnphlitphnthxyanghlakhlay echn chasmaekhk nasmaekhk smaekhkkwn aekhpsulsmaekhk lxangxingmnthna nwlecriy 2552 saranukrmkhwamhlakhlaythangchiwphaphtablkaepxr xaephxkaepxr cnghwdranxng kthm sanknganpldkrathrwngthrphyakrthrrmchatiaelasingaewdlxmMuensritharam L Tolieng V Chaichantipyuth C Petsom A Nhujak T 2008 Capillary zone electrophoresis for separation and analysis of hydroxycitric acid and hydroxycitric acid lactone Application to herbal products of Garcinia atroviridis Griff Journal of pharmaceutical and biomedical analysis 46 3 577 82 doi 10 1016 j jpba 2007 11 008 PMID 18160244 phirskdi wrsunthorsth aelakhna thrphyakrphuchinexechiytawnxxkechiyngit 2 imphlaelaimphlekhiywmn kthm sthabnwicywithyasastraelaethkhonolyiaehngpraethsithy 2544 hna 241 nidda hngswiwthn smaekhklukykskhxngbankhiriwng khrw pithi 20 chbbthi 229 krkdakhm 2556 hna 10 11aehlngkhxmulxunkhxmulthiekiywkhxngkb smaekhk thiwikispichis ewbistkhnathrphyakrthrrmchati mhawithyalysngkhlankhrinthr ewbistkhnawithyasastr mhawithyalymhidl ewbisthmxchawban wikiphiediy saranukrmesri EN wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb Garcinia atroviridis