ส่วนสว่างจัดจ้า (specular highlight) คือ ภาพสะท้อนแบบในกระจกของแหล่งกำเนิดแสงซึ่ง แสงจากแหล่งกำเนิดแสงจะสะท้อนกับที่มีความวาว
หากแหล่งกำเนิดแสงเป็นจุด และเป็นพื้นผิวเรียบ ๆ เช่น ทรงกลม ส่วนสว่างจัดจ้าจะปรากฏเป็นจุดวงรีโดยมีขอบเบลอเล็กน้อย อย่างไรก็ตาม หากพื้นผิวมีความซับซ้อนหรือแหล่งกำเนิดแสงมีความซับซ้อนส่วนสว่างจัดจ้าที่ปรากฏขึ้นจะมีความซับซ้อนมากขึ้น
การทำสร้างจำลองส่วนสว่างจัดจ้าเป็นสิ่งสำคัญในคอมพิวเตอร์กราฟิกส์สามมิติ ส่วนประกอบนี้มีผลอย่างชัดเจนในการแสดงถึงรูปร่างของวัตถุหรือตำแหน่งของวัตถุเทียบกับแหล่งกำเนิดแสงในฉาก
สีของส่วนสว่างจัดจ้า
ส่วนสว่างจัดจ้ามักจะสะท้อนสีของแหล่งกำเนิดแสง โดยไม่ขึ้นอยู่กับสีของวัตถุที่สะท้อน ปรากฏการณ์นี้เกิดขึ้นเนื่องจากวัสดุหลายชนิดมีชั้นวัสดุโปร่งใสบาง ๆ อยู่บนพื้นผิวสี ตัวอย่างเช่น พลาสติกทำจากเม็ดบีทสีอ่อนที่ห่อหุ้มด้วยโพลิเมอร์ใส หรืออย่างเช่นผิวหนังของมนุษย์ซึ่งมักมีชั้นน้ำมันและเหงื่อบาง ๆ อยู่ด้านบนของเซลล์ที่มีสีอยู่ วัสดุดังกล่าวจะแสดงส่วนสว่างจัดจ้าโดยเป็นแสงที่สะท้อนแต่ละช่วงสเปกตรัมออกมาอย่างเท่าเทียมกัน อย่างไรก็ตาม สำหรับบนวัสดุโลหะ เช่น ทองคำ ส่วนสว่างจัดจ้าจะสะท้อนสีของวัสดุ
ส่วนสว่างจัดจ้าในตัวคน
ส่วนสว่างจัดจ้าบนดวงตา มีอิทธิพลอย่างมากต่อความประทับใจในการวาดภาพเหมือน และภาพถ่ายบุคคล ดังนั้นในการถ่ายภาพบุคคล ส่วนสว่างจัดจ้าจึงเป็นปัจจัยสำคัญอีกอย่างนอกเหนือไปจากแหล่งกำเนิดแสง ตำแหน่งและความเข้มของแหล่งกำเนิดแสงได้รับการจัดลำดับความสำคัญตามสภาพแสง แต่เนื่องจากรูปร่างของแหล่งกำเนิดแสงไม่สำคัญต่อการจัดแสง จึงอาจเลือกโดยขึ้นอยู่กับประเภทของส่วนสว่างจัดจ้าบนลูกตาที่ต้องการสร้าง
นอกจากนี้ เนื่องจากส่วนสว่างจัดจ้าจะเกือบเหมือนกันในภาพถ่ายเดียว จึงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สามารถใช้เพื่อมองแยกแยะภาพตัดต่อออกจากภาพถ่ายจริงได้
พื้นผิวในระดับจุลภาค
การสะท้อนแสงจัดจ้า หมายถึง การสะท้อนแสงซึ่งสะท้อนจากแหล่งกำเนิดแสงไปยังผู้สังเกตการณ์โดยสมบูรณ์ในลักษณะที่เหมือนเป็นกระจกเงา การสะท้อนแสงจัดจ้าจะมองเห็นได้ก็ต่อเมื่อแนวฉากพื้นผิวนั้นอยู่กึ่งกลางระหว่างทิศทางการตกกระทบของแสงกับทิศทางของผู้สังเกตพอดี ซึ่งหมายความว่าภาพของแหล่งกำเนิดแสงจะสะท้อนอย่างคมชัดและสมบูรณ์แบบ ดังนั้นพื้นผิวที่สะท้อนแสงจัดจ้าจะเกิดส่วนสว่างจัดจ้าขึ้น อย่างไรก็ตามสำหรับวัตถุที่ไม่ได้สะท้อนเหมือนกระจกอย่างสมบูรณ์แบบแล้ว ส่วนสว่างจัดจ้าที่ปรากฏขึ้นจะมีลักษณะพร่ามัว
ปรากฏการณ์นี้สามารถอธิบายได้โดยการสันนิษฐานถึงสภาพพื้นผิวในระดับจุลภาค สมมุติว่าพื้นผิวของวัตถุนั้นไม่ได้เรียบอย่างสมบูรณ์ แต่ประกอบด้วยผิวเล็ก ๆ จำนวนมาก ซึ่งแต่ละผิวเกิดการสะท้อนแสงจัดจ้าอย่างสมบูรณ์แบบ ระดับความแตกต่างระหว่างแนวฉากของผิวในระดับจุลภาคกับแนวฉากของพื้นผิวเรียบลื่นจะแตกต่างกันไปตามความเรียบลื่นของพื้นผิว
สำหรับจุดบนวัตถุที่เรียบซึ่งมีพื้นผิวแนวฉากอยู่ประมาณกึ่งกลางระหว่างทิศทางที่ตกกระทบและทิศทางของผู้สังเกตการณ์ ส่วนสว่างจัดจ้าจะสว่างขึ้นเนื่องจากแนวฉากส่วนใหญ่บนพื้นผิวระดับจุลภาคจะอยู่ในทิศกึ่งกลางระหว่างมุมสังเกตการณ์และแหล่งกำเนิดแสง ในที่นี้ หากจุดกึ่งกลางของส่วนสว่างจัดจ้าเลื่อนออกไป ทิศทางของแนวฉากพื้นผิวและทิศทางของมุมมองจะคลาดเคลื่อนไป ทำให้แนวฉากของพื้นผิวระดับจุลภาคส่วนใหญ่ไม่ได้อยู่กึ่งกลางระหว่างมุมมองกับมุมของแหล่งกำเนิดแสงอีกต่อไป ความสว่างของส่วนสว่างจัดจ้าจึงลดลงจนเข้าใกล้ 0
แบบจำลองพื้นผิวในระดับจุลภาค
มีหลายแบบจำลองที่แตกต่างกันสำหรับการจำลองการกระเจิงของพื้นผิวระดับจุลภาค ส่วนใหญ่จะมองว่าแนวฉากของผิวในระดับจุลภาคนั้นมีการแจกแจงอย่างสม่ำเสมอรอบแนวฉากของพื้นผิวระดับมหภาค แบบจำลองแบบนี้เรียกว่า ไอโซทรอปิก (isotropic) ถ้าแนวฉากของพื้นผิวในระดับจุลภาคมีการแจกแจงไปตามทิศทางใดทิศทางหนึ่งมากกว่าภายใต้การตั้งค่าบางอย่าง แบบจำลองการแจกแจงเรียกว่า แอนไอโซทรอปิก (anisotropic)
การแจกแจงแบบฟ็อง
ในแบบจำลองการสะท้อนแบบฟ็อง ความสว่างของส่วนสว่างจัดจ้าคำนวณได้โดย
โดยที่ R คือเวกเตอร์ที่ชี้ไปยังมุมที่มีการสะท้อนแสงจัดจ้าแบบสมบูรณ์ ส่วน V คือเวกเตอร์ที่ชี้ไปยังมุมมอง ค่าคงตัว n คือเลขชี้กำลังของฟ็อง ซึ่งเป็นค่าที่ให้ผู้ใช้เลือกได้ซึ่งจะควบคุมสมบัติความเรียบลื่นปรากฏของพื้นผิว
ในความสว่างของส่วนสว่างจัดจ้าคำนวณได้โดย
โดย N คือแนวฉากของพื้นผิวเรียบลื่น และ H คือมุมกึ่งกลางระหว่างเวกเตอร์รังสี L และเวกเตอร์มุมมอง V
สมการเหล่านี้บ่งบอกเป็นนัยว่าการแจกแจงของแนวฉากพื้นผิวในระดับจุลภาคมีการแจกแจงแบบปรกติ หรือมี อย่างไรก็ตาม แม้ว่าแบบจำลองนี้จะพิสูจน์ได้ว่ามีประโยชน์และให้ผลลัพธ์ที่น่าเชื่อถือ แต่ก็ไม่ใช่แบบจำลองที่ยืนพื้นจากทฤษฎีทางฟิสิกส์
การแจกแจงแบบปกติ
สามารถสร้างแบบจำลองการแจกแจงของแนวฉากพื้นผิวในระดับจุลภาคที่ดีขึ้นเล็กน้อยโดยใช้ การแจกแจงแบบปกติ โดยความสว่างของส่วนสว่างจัดจ้าสามารถคำนวณได้โดยใช้ฟังก์ชันนี้
โดยที่ m คือค่าคงตัวที่มีค่าระหว่าง 0 ถึง 1 ซึ่งแสดงถึงความเรียบลื่นปรากฏของพื้นผิว
การแจกแจงแบบเบ็กมัน
แบบจำลองพื้นผิวในระดับจุลภาคที่ยืนพื้นตามหลักฟิสิกส์คือการแจกแจงแบบเบ็กมัน (Beckmann distribution) แม้ว่าฟังก์ชันนี้จะให้ผลลัพธ์ที่แม่นยำมาก แต่ก็กินทรัพยากรในการคำนวณมาก
โดยที่ m คือความเอียงเฉลี่ยของพื้นผิวในระดับจุลภาค
การแจกแจงแบบแอนไอโซทรอปิกของไฮดริช–ไซเดิล
การแจกแจงแบบแอนไอโซทรอปิกของไฮดริช–ไซเดิล (Heidrich–Seidel anisotropic distribution) เป็นการแจกแจงแบบแอนไอโซทรอปิกอย่างง่ายและอิงตามแบบจำลองของฟ็อง ใช้สำหรับจำลองพื้นผิวที่มีร่องหรือเส้นใยเล็ก ๆ ขนานกัน เช่น โลหะขัดเงา หรือ เส้นผม ความสว่างของส่วนสว่างจัดจ้าที่คำนวณโดยใช้การแจกแจงแบบนี้คือ
โดยที่ n คือเลขชี้กำลังของฟ็อง V คือทิศทางการมอง L คือทิศทางของลำแสง และ T คือทิศทางของร่องขนานหรือเส้นใยที่จุดหนึ่งบนพื้นผิว
การแจกแจงแบบแอนไอโซทรอปิกของวอร์ด
การแจกแจงแบบแอนไอโซทรอปิกของวอร์ด (Ward anisotropic distribution) ใช้พารามิเตอร์ที่ผู้ใช้ควบคุมได้สองตัวคือ αx และ αy สำหรับการควบคุมความเป็นแอนไอโซทรอปิก หากพารามิเตอร์ทั้งสองมีค่าเท่ากัน แสดงว่าเป็นส่วนสว่างจัดจ้าแบบไอโซทรอปิก
สูตรความสว่างสำหรับการแจกแจงแบบนี้คือ
ถ้า N-L < 0 หรือ N-E < 0 แสดงว่าพจน์การสะท้อนแสงจัดจ้าเป็นศูนย์ เวกเตอร์ทั้งหมดในที่นี้เป็นเวกเตอร์หน่วย เวกเตอร์ V คือเวกเตอร์จากจุดหนึ่งบนพื้นผิวไปยังจุดสังเกตการณ์ L คือทิศทางจากจุดบนพื้นผิวไปยังแหล่งกำเนิดแสง และ H คือทิศทางครึ่งมุม N คือแนวฉากพื้นผิว ส่วน X และ Y เป็นเวกเตอร์สองตัวที่ตั้งฉากกับระนาบแนวฉากซึ่งระบุทิศทางของความเป็นแอนไอโซทรอปิก
แบบจำลองของคุก-ทอร์เรนซ์
แบบจำลองของคุก-ทอร์เรนซ์ (Cook–Torrance model) จะคำนวณส่วนสว่างจัดจ้าในรูปของ
โดยในที่นี้ D คือพจน์การแจกแจงของเบ็กมัน
และ F คือพจน์ของแฟรแนล
G คือพจน์การลดทอนเชิงเรขาคณิต ซึ่งอธิบายถึงการให้แสงเงาในตัวเองภายในพื้นผิวระดับจุลภาค ซึ่งคำนวณโดย
ในสูตรเหล่านี้ E คือเวกเตอร์มุมมองของกล้องหรือจุดสังเกตการณ์ ในขณะที่ H คือเวกเตอร์มุมกึ่งกลางระหว่างจุดสังเกตการณ์กับแหล่งกำเนิดแสง ส่วน L คือเวกเตอร์ที่ชี้ไปยังแหล่งกำเนิดแสง และ N คือเวกเตอร์แนวฉาก ส่วน α คือมุมระหว่าง H และ N
การรวมหลายแบบจำลองเข้าด้วยกัน
หากมีความจำเป็นเราสามารถคำนวณโดยใช้ค่าเฉลี่ยแบบถ่วงน้ำหนักของการแจกแจงแบบต่าง ๆ ได้ (โดยปกติจะใช้ฟังก์ชันการแจกแจงแบบเดียวกันแต่มีค่า m และ n ต่างกัน) ตัวอย่างเช่น สร้างแบบจำลองพื้นผิวที่เรียบและมีความขรุขระเล็กน้อยแทนที่จะสร้างแบบจำลองพื้นผิวที่ขรุขระไปทั้งหมด
อ้างอิง
- Richard Lyon, "Phong Shading Reformulation for Hardware Renderer Simplification", Apple Technical Report #43, Apple Computer, Inc. 1993 PDF
- (ed). An Introduction to Ray Tracing. San Diego: Academic Press Ltd, 1989. p. 148.
- Foley et al. . Menlo Park: Addison-Wesley, 1997. p. 764.
- R. Cook and K. Torrance. "A reflectance model for computer graphics". Computer Graphics (SIGGRAPH '81 Proceedings), Vol. 15, No. 3, July 1981, pp. 301–316.
อ่านเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
swnswangcdca specular highlight khux phaphsathxnaebbinkrackkhxngaehlngkaenidaesngsung aesngcakaehlngkaenidaesngcasathxnkbthimikhwamwawswnswangcdcabnphiwthrngklmthisrangin 3DCGswnswangcdcathrngklmaebbsmcringinlukobwlingswnswangcdcabnphunphiwthisbsxnswnswangcdcabnluktaswnswangcdcainaebbkartun hakaehlngkaenidaesngepncud aelaepnphunphiweriyb echn thrngklm swnswangcdcacapraktepncudwngriodymikhxbeblxelknxy xyangirktam hakphunphiwmikhwamsbsxnhruxaehlngkaenidaesngmikhwamsbsxnswnswangcdcathipraktkhuncamikhwamsbsxnmakkhun karthasrangcalxngswnswangcdcaepnsingsakhyinkhxmphiwetxrkrafikssammiti swnprakxbnimiphlxyangchdecninkaraesdngthungruprangkhxngwtthuhruxtaaehnngkhxngwtthuethiybkbaehlngkaenidaesnginchaksikhxngswnswangcdcaswnswangcdcamkcasathxnsikhxngaehlngkaenidaesng odyimkhunxyukbsikhxngwtthuthisathxn praktkarnniekidkhunenuxngcakwsduhlaychnidmichnwsduoprngisbang xyubnphunphiwsi twxyangechn phlastikthacakemdbithsixxnthihxhumdwyophliemxris hruxxyangechnphiwhnngkhxngmnusysungmkmichnnamnaelaehnguxbang xyudanbnkhxngesllthimisixyu wsdudngklawcaaesdngswnswangcdcaodyepnaesngthisathxnaetlachwngsepktrmxxkmaxyangethaethiymkn xyangirktam sahrbbnwsduolha echn thxngkha swnswangcdcacasathxnsikhxngwsduswnswangcdcaintwkhnswnswangcdcabndwngta mixiththiphlxyangmaktxkhwamprathbicinkarwadphaphehmuxn aelaphaphthaybukhkhl dngnninkarthayphaphbukhkhl swnswangcdcacungepnpccysakhyxikxyangnxkehnuxipcakaehlngkaenidaesng taaehnngaelakhwamekhmkhxngaehlngkaenidaesngidrbkarcdladbkhwamsakhytamsphaphaesng aetenuxngcakruprangkhxngaehlngkaenidaesngimsakhytxkarcdaesng cungxaceluxkodykhunxyukbpraephthkhxngswnswangcdcabnluktathitxngkarsrang nxkcakni enuxngcakswnswangcdcacaekuxbehmuxnkninphaphthayediyw cungepnxngkhprakxbhnungthisamarthichephuxmxngaeykaeyaphaphtdtxxxkcakphaphthaycringidphunphiwinradbculphakhkarsathxnaesngcdca hmaythung karsathxnaesngsungsathxncakaehlngkaenidaesngipyngphusngektkarnodysmburninlksnathiehmuxnepnkrackenga karsathxnaesngcdcacamxngehnidktxemuxaenwchakphunphiwnnxyukungklangrahwangthisthangkartkkrathbkhxngaesngkbthisthangkhxngphusngektphxdi sunghmaykhwamwaphaphkhxngaehlngkaenidaesngcasathxnxyangkhmchdaelasmburnaebb dngnnphunphiwthisathxnaesngcdcacaekidswnswangcdcakhun xyangirktamsahrbwtthuthiimidsathxnehmuxnkrackxyangsmburnaebbaelw swnswangcdcathipraktkhuncamilksnaphramw praktkarnnisamarthxthibayidodykarsnnisthanthungsphaphphunphiwinradbculphakh smmutiwaphunphiwkhxngwtthunnimideriybxyangsmburn aetprakxbdwyphiwelk canwnmak sungaetlaphiwekidkarsathxnaesngcdcaxyangsmburnaebb radbkhwamaetktangrahwangaenwchakkhxngphiwinradbculphakhkbaenwchakkhxngphunphiweriybluncaaetktangkniptamkhwameriyblunkhxngphunphiw sahrbcudbnwtthuthieriybsungmiphunphiwaenwchakxyupramankungklangrahwangthisthangthitkkrathbaelathisthangkhxngphusngektkarn swnswangcdcacaswangkhunenuxngcakaenwchakswnihybnphunphiwradbculphakhcaxyuinthiskungklangrahwangmumsngektkarnaelaaehlngkaenidaesng inthini hakcudkungklangkhxngswnswangcdcaeluxnxxkip thisthangkhxngaenwchakphunphiwaelathisthangkhxngmummxngcakhladekhluxnip thaihaenwchakkhxngphunphiwradbculphakhswnihyimidxyukungklangrahwangmummxngkbmumkhxngaehlngkaenidaesngxiktxip khwamswangkhxngswnswangcdcacungldlngcnekhaikl 0aebbcalxngphunphiwinradbculphakhmihlayaebbcalxngthiaetktangknsahrbkarcalxngkarkraecingkhxngphunphiwradbculphakh swnihycamxngwaaenwchakkhxngphiwinradbculphakhnnmikaraeckaecngxyangsmaesmxrxbaenwchakkhxngphunphiwradbmhphakh aebbcalxngaebbnieriykwa ixosthrxpik isotropic thaaenwchakkhxngphunphiwinradbculphakhmikaraeckaecngiptamthisthangidthisthanghnungmakkwaphayitkartngkhabangxyang aebbcalxngkaraeckaecngeriykwa aexnixosthrxpik anisotropic karaeckaecngaebbfxng inaebbcalxngkarsathxnaebbfxng khwamswangkhxngswnswangcdcakhanwnidody kspec R V cosn b R V n displaystyle k mathrm spec R V cos n beta hat R cdot hat V n odythi R khuxewketxrthichiipyngmumthimikarsathxnaesngcdcaaebbsmburn swn V khuxewketxrthichiipyngmummxng khakhngtw n khuxelkhchikalngkhxngfxng sungepnkhathiihphuicheluxkidsungcakhwbkhumsmbtikhwameriyblunpraktkhxngphunphiw inkhwamswangkhxngswnswangcdcakhanwnidody kspec N H cosn b N H n displaystyle k mathrm spec N H cos n beta hat N cdot hat H n ody N khuxaenwchakkhxngphunphiweriyblun aela H khuxmumkungklangrahwangewketxrrngsi L aelaewketxrmummxng V smkarehlanibngbxkepnnywakaraeckaecngkhxngaenwchakphunphiwinradbculphakhmikaraeckaecngaebbprkti hruxmi xyangirktam aemwaaebbcalxngnicaphisucnidwamipraoychnaelaihphllphththinaechuxthux aetkimichaebbcalxngthiyunphuncakthvsdithangfisiks karaeckaecngaebbpkti samarthsrangaebbcalxngkaraeckaecngkhxngaenwchakphunphiwinradbculphakhthidikhunelknxyodyich karaeckaecngaebbpkti odykhwamswangkhxngswnswangcdcasamarthkhanwnidodyichfngkchnni kspec e N H m 2 displaystyle k spec e left frac angle N H m right 2 odythi m khuxkhakhngtwthimikharahwang 0 thung 1 sungaesdngthungkhwameriyblunpraktkhxngphunphiw karaeckaecngaebbebkmn aebbcalxngphunphiwinradbculphakhthiyunphuntamhlkfisikskhuxkaraeckaecngaebbebkmn Beckmann distribution aemwafngkchnnicaihphllphththiaemnyamak aetkkinthrphyakrinkarkhanwnmak kspec 14m2cos4 N H e tan N H m 2 displaystyle k spec frac 1 4m 2 cos 4 N H e left frac tan N H m right 2 odythi m khuxkhwamexiyngechliykhxngphunphiwinradbculphakh karaeckaecngaebbaexnixosthrxpikkhxngihdrich isedil karaeckaecngaebbaexnixosthrxpikkhxngihdrich isedil Heidrich Seidel anisotropic distribution epnkaraeckaecngaebbaexnixosthrxpikxyangngayaelaxingtamaebbcalxngkhxngfxng ichsahrbcalxngphunphiwthimirxnghruxesniyelk khnankn echn olhakhdenga hrux esnphm khwamswangkhxngswnswangcdcathikhanwnodyichkaraeckaecngaebbnikhux kspec sin L T sin V T cos L T cos V T n displaystyle k spec left sin L T sin V T cos L T cos V T right n odythi n khuxelkhchikalngkhxngfxng V khuxthisthangkarmxng L khuxthisthangkhxnglaaesng aela T khuxthisthangkhxngrxngkhnanhruxesniythicudhnungbnphunphiw karaeckaecngaebbaexnixosthrxpikkhxngwxrd karaeckaecngaebbaexnixosthrxpikkhxngwxrd Ward anisotropic distribution ichpharamietxrthiphuichkhwbkhumidsxngtwkhux ax aela ay sahrbkarkhwbkhumkhwamepnaexnixosthrxpik hakpharamietxrthngsxngmikhaethakn aesdngwaepnswnswangcdcaaebbixosthrxpik sutrkhwamswangsahrbkaraeckaecngaebbnikhux kspec 1 N L N V N L4axayexp 2 H Xax 2 H Yay 21 H N displaystyle k spec frac 1 sqrt N cdot L N cdot V frac N cdot L 4 alpha x alpha y exp left 2 frac left frac H cdot X alpha x right 2 left frac H cdot Y alpha y right 2 1 H cdot N right tha N L lt 0 hrux N E lt 0 aesdngwaphcnkarsathxnaesngcdcaepnsuny ewketxrthnghmdinthiniepnewketxrhnwy ewketxr V khuxewketxrcakcudhnungbnphunphiwipyngcudsngektkarn L khuxthisthangcakcudbnphunphiwipyngaehlngkaenidaesng aela H khuxthisthangkhrungmum N khuxaenwchakphunphiw swn X aela Y epnewketxrsxngtwthitngchakkbranabaenwchaksungrabuthisthangkhxngkhwamepnaexnixosthrxpik aebbcalxngkhxngkhuk thxrerns aebbcalxngkhxngkhuk thxrerns Cook Torrance model cakhanwnswnswangcdcainrupkhxng kspec DFGE N displaystyle k spec frac DFG E cdot N odyinthini D khuxphcnkaraeckaecngkhxngebkmn D e tan am 24m2cos4 a displaystyle D frac e left frac tan alpha m right 2 4m 2 cos 4 alpha aela F khuxphcnkhxngaefraenl F 1 0 E N l displaystyle F 1 0 E N lambda G khuxphcnkarldthxnechingerkhakhnit sungxthibaythungkarihaesngengaintwexngphayinphunphiwradbculphakh sungkhanwnody G min 1 2 H N E N E H 2 H N L N E H displaystyle G min left 1 frac 2 H cdot N E cdot N E cdot H frac 2 H cdot N L cdot N E cdot H right insutrehlani E khuxewketxrmummxngkhxngklxnghruxcudsngektkarn inkhnathi H khuxewketxrmumkungklangrahwangcudsngektkarnkbaehlngkaenidaesng swn L khuxewketxrthichiipyngaehlngkaenidaesng aela N khuxewketxraenwchak swn a khuxmumrahwang H aela N karrwmhlayaebbcalxngekhadwykn hakmikhwamcaepnerasamarthkhanwnodyichkhaechliyaebbthwngnahnkkhxngkaraeckaecngaebbtang id odypkticaichfngkchnkaraeckaecngaebbediywknaetmikha m aela n tangkn twxyangechn srangaebbcalxngphunphiwthieriybaelamikhwamkhrukhraelknxyaethnthicasrangaebbcalxngphunphiwthikhrukhraipthnghmd xangxing Richard Lyon Phong Shading Reformulation for Hardware Renderer Simplification Apple Technical Report 43 Apple Computer Inc 1993 PDF ed An Introduction to Ray Tracing San Diego Academic Press Ltd 1989 p 148 Foley et al Menlo Park Addison Wesley 1997 p 764 R Cook and K Torrance A reflectance model for computer graphics Computer Graphics SIGGRAPH 81 Proceedings Vol 15 No 3 July 1981 pp 301 316 xanephimkarsathxn karsathxnaesngphra karsathxnaesngcdca