ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
กระสวยอวกาศ (อังกฤษ: space shuttle) คือ เครื่องบินอวกาศของสหรัฐอเมริกา สร้างขึ้นโดยองค์การนาซ่า (NASA) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า Space Transportation System (STS) ผลิตโดยบริษัท North American Aviation ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของบริษัท Rockwell International สเปซชัทเทิลทะยานขึ้นเหมือนจรวดและไปโคจรรอบโลก มีปีกและตอนกลับสู่โลกจะร่อนลงตามรันเวย์ กระสวยอวกาศสามารถนำมาใช้ได้หลาย ๆ ครั้ง
begins liftoff at the start of . | |
หน้าที่ | Manned orbital launch and reentry |
---|---|
ผู้ผลิต | : / (SRBs) ล็อกฮีด มาร์ติน/ (ET) โบอิง/ (orbiter) |
ขนาด | |
เส้นผ่านศูนย์กลาง | 8.7 เมตร (28.5 ฟุต) |
ความจุ | |
น้ำหนักบรรทุกสู่ | 3,810 กิโลกรัม (8,390 ปอนด์ต่อตารางเมตร) |
น้ำหนักบรรทุกสู่ | 12,700 กิโลกรัม (28,000 ปอนด์) |
น้ำหนักบรรทุกสู่ Landing | 14,400 กิโลกรัม (32,000 ปอนด์) (น้ำหนักที่สามารถบรรทุกคืน) |
ประวัติการบิน | |
จำนวนเที่ยวบิน | 135 |
สำเร็จ | ปล่อยยานที่ประสบความสำเร็จ 134 ครั้ง ลงจอดสำเร็จ 133 ครั้ง |
ล้มเหลว | 2 (, ; , ) |
น้ำหนักบรรทุกที่โดดเด่น | (including Hubble) , , |
Boosters - | |
จำนวนบูสเตอร์ | 2 |
เครื่องยนต์ | 1 |
แรงขับ | 12.5 each, sea level liftoff (2,800,000 ) |
แรงดลจำเพาะ | 269 วินาที |
เวลาเผาไหม้ | 124 วินาที |
เชื้อเพลิง | เชื้อเพลิงแข็ง |
จรวดท่อนแรก - | |
เครื่องยนต์ | 3 located on Orbiter |
แรงขับ | 5.45220 MN total, sea level liftoff (1,225,704 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว) |
แรงดลจำเพาะ | 455 วินาที |
เวลาเผาไหม้ | 480 วินาที |
เชื้อเพลิง | / |
จรวดท่อนที่สอง | |
เครื่องยนตร์ | 2 |
แรงขับ | 53.4 kN combined total vacuum thrust (12,000 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว) |
แรงดลจำเพาะ | 316 วินาที |
เวลาเผาไหม้ | 1,250 วินาที |
เชื้อเพลิง | / N2O4 |
กระสวยอวกาศถูกออกแบบมาให้ใช้งานซ้ำได้ 100 ครั้ง หรือปฏิบัติการได้ 10 ปี โครงการถูกเริ่มขึ้นในท้ายยุค 60 หลังจากนั้นก็มีบทบาทสำคัญในปฏิบัติการที่ต้องใช้คนเข้าร่วมของนาซามาโดยตลอด
ส่วนสำคัญของกระสวยอวกาศ เรียกว่า (orbiter หมายถึง ยานโคจร) จะพาลูกเรือและสัมภาระไปยังอวกาศในขณะที่จะส่งกระสวยอวกาศขึ้นไป กระสวยจะอยู่ที่ฐานส่งโดยจะตั้งชี้ขึ้นไปคล้ายจรวด ข้าง ๆ ออร์บิเตอร์จะมีแทงค์น้ำมันขนาดใหญ่ ซึ่งเรียกว่า แทงค์ด้านนอก (External Tank) ซึ่งมันจะเก็บออกซิเจนและไฮโดรเจนในขณะที่มันขึ้นเชื้อเพลิงเหล่านี้จะถูกสูบเข้าไปยังเครื่องยนต์หลัก 3 เครื่อง ของออร์บิเตอร์
นอกจากนี้ยังมีแทงค์ขนาดเล็กที่อยู่ข้าง ๆ ออร์บิเตอร์บนฐานส่งเพื่อให้แรงผลักดันพิเศษในขณะส่งกระสวยขึ้น ซึ่งเรียกว่า Solid Fuel Rocket Booster หรือ SRB ทำงานคล้ายกับจรวดดอกไม้ไฟขนาดใหญ่
เมื่อกระสวยอวกาศทะยานขึ้น หลังจากนั้นประมาณ 2 นาที เชื้อเพลิงในแทงค์เชื้อเพลิง SRB จะหมดลง และตกลงในทะเลกับร่มชูชีพ อัตราความเร็วของกระสวยค่อย ๆ เพิ่มขึ้นจนถึงความเร็วประมาณ 72 ไมล์ จากนั้นเครื่องยนต์หลักจึงหยุดทำงาน และถังเชื้อเพลิงภายนอกซึ่งว่างเปล่าจะถูกปล่อยตกลงสู่ทะเล เครื่องยนต์ของจรวดสองลำจะรับภาระต่อไป ซึ่งเรียกว่า ระบบการยักย้ายการโคจร ในระหว่างการโคจร
เมื่อถึงเวลากลับสู่โลก เครื่องยนต์ระบบการยักย้ายการโคจรจะถูกยิงคล้ายกับตอนล่างของจรวด และยานจะหลุดออกจากการโคจร แล้วกลับลงมาสู่บรรยากาศโลกในอัตราความเร็ว 15,900 ไมล์ต่อชั่วโมง (หรือประมาณ 25,700 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) แผ่นกำบังความร้อนข้างใต้กระสวยอวกาศจะเปล่งแสงสีแดงจัดพร้อมกับความร้อนในการกลับเข้ามาสู่โลก แผ่นกระเบื้องพิเศษบนกระสวยอวกาศจะป้องกันลูกเรือและยานอวกาศออร์บิเตอร์จะช้าลงเมื่อเข้ามาถึงบริเวณส่วนล่างของบรรยากาศ จะร่อนลงบนพื้นดินบนรันเวย์ด้วยความเร็วประมาณ 210 ไมล์แล้วภารกิจก็จะจบลง
กระสวยอวกาศของนาซ่า
กระสวยอวกาศของนาซ่าถูกสร้างขึ้นมาทั้งหมด 6ลำ ตามลำดับคือ
- กระสวยอวกาศเอนเทอร์ไพรซ์ ถูกใช้ในการทดสอบระบบต้นแบบเท่านั้น ไม่เคยถูกใช้งานในอวกาศจริง
- กระสวยอวกาศโคลัมเบีย ขึ้นบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 12 เมษายน ค.ศ. 1981 นับเป็นกระสวยอวกาศลำแรกที่ได้ขึ้นบินในอวกาศ
- กระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ ขึ้นบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1983
- กระสวยอวกาศดิสคัฟเวรี ขึ้นบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม ค.ศ. 1984
- กระสวยอวกาศแอตแลนติส ขึ้นบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม ค.ศ. 1985
- กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ ถูกสร้างขึ้นหลังกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ประสบอุบัติเหตุ ขึ้นบินครั้งแรกเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1992
โศกนาฏกรรม
วันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 1986 กระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์ประสบอุบัติเหตุระเบิดขณะทยานขึ้นจากพื้นโลกได้เพียง 73 วินาที ลูกเรือเจ็ดคนเสียชีวิตทั้งหมด สาเหตุเกิดจากมีรอยรั่วบริเวณจรวด SRB ด้านขวา ทำให้เชื้อเพลิงรั่วออกมาและเกิดการเผาไหม้ที่ช่องว่างระหว่างจรวด SRB และถังเชื่อเพลิงหลัก ซึ่งรอยรั่วนั้นเกิดจากความเย็นจากน้ำแข็งที่เกาะรอบยานในช่วงไม่กี่ชั่วโมงก่อนปล่อยยาน
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2003 กระสวยอวกาศโคลัมเบียประสบอุบัติเหตุขณะกลับสู่พื้นโลก เนื่องจากบริเวณปีกมีความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการกระแทกของชิ้นส่วนโฟมจากถังเชื้อเพลิงหลักหลุดขณะขึ้นบิน ทำให้ยานแตกออกป็นเสี่ยงๆขณะเสียดสีกับชั้นบรรยากาศระหว่างกลับลงสู่พื้นโลก ลูกเรือเจ็ดคนบนยานเสียชีวิตทั้งหมด
นับตั้งแต่เหตุการณ์กระสวยอวกาศโคลัมเบียเป็นต้นมา ทุกเที่ยวบินจะมีกระสวยอวกาศสำรองอีก 1 ลำ ในกรณีเหตุฉุกเฉินหรือเหตุการณ์ที่ต้องกู้ภัยนักบินในเที่ยวบินหลักทุกเที่ยวบิน โดยกระสวยอวกาศสำรองที่จะออกปฏิบัติการจะใช้รหัสเที่ยวบิน STS-3xx กระสวยอวกาศที่รับหน้าที่กู้ภัยสามารถบินได้ทันทีตามปฏิบัติการ Launch On Need (LON) เช่น STS-114 กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอร์รี่ (ซึ่งเป็นเที่ยวบินแรกหลังเหตุการณ์กระสวยอากาศโคลัมเบียระเบิด) จะมีกระสวยอากาศสำหรับเที่ยวบินกู้ภัยเป็น กระสวยอวกาศแอตแลนติส รหัสเที่ยวบินคือ STS-300 เป็นต้น ยกเว้นเที่ยวบิน STS-125 มีการเปลี่ยนแปลงรหัสเที่ยวบินกู้ภัยเป็น STS-400 สำหรับภารกิจซ่อมบำรุงกล้องโทรทรรศ์อวกาศฮับเบิล ครั้งที่ 4 ของกระสวยอวกาศแอตแลนติส เนื่องจากเป็นภารกิจนี้เป็นภารกิจเดียวที่ไม่ได้ไป ISS หากมีเหตุฉุกเฉินการที่จะไป ISS เป็นเรื่องที่ทำได้ยาก โดยกระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์จะรับหน้าที่เป็นเที่ยวบินกู้ภัย จนกระทั่งตั้งแต่เที่ยวบิน STS-126 จึงยกเลิกแผนกู้ภัยโดยใช้กระสวยอวกาศสำรอง เพราะหากมีเหตุที่ไม่สามารถลงจอดได้จะใช้ยานกู้ภัยของ ISS แทน แต่นำมาใช้อีกครั้งในเที่ยวบิน STS-134
สิ้นสุดโครงการ
นาซ่ายุติโครงการกระสวยอวกาศในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2011 หลังจากกระสวยอวกาศลำแรกขึ้นสู่อวกาศมานานกว่า 30 ปี รวมถึงระยะเวลาพัฒนาอีกกว่า 20 ปี และจะเปลี่ยนไปพัฒนาระบบขนส่งรุ่นใหม่ในโครงการ Constellation ซึ่งเป็นจรวดธรรมดาแทน เดิมคาดการณ์ว่าจะเริ่มใช้งานได้ในปี ค.ศ. 2016 จนกระทั่งในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ.2010 ประธานาธิบดีบารัก โอบามา ได้ประกาศให้ยกเลิกโครงการนี้ โดยให้เปลี่ยนไปออกแบบพัฒนายานอวกาศรุ่นใหม่ที่มีประสิทธิภาพมากกว่าเพียงแค่ใช้ในโครงการเดียวแทน
วันที่ 9 มีนาคม ค.ศ. 2011 กระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรีถูกปลดประจำการ
วันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 2011 กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ถูกปลดประจำการ
วันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 2011 กระสวยอวกาศแอตแลนติสถูกปลดประจำการ นับเป็นกระสวยอวกาศลำสุดท้ายที่ได้ขึ้นบินสู่อวกาศ
ดูเพิ่ม
โครงการอื่น
สำหรับกระสวยอวกาศของสหภาพโซเวียต มีชื่อว่า (Buran - Бура́н แปลว่า พายุหิมะ) ปัจจุบันล้มเลิกโครงการไปแล้ว ตั้งแต่ ค.ศ. 1993 ในสมัยประธานาธิบดี เนื่องจากมีต้นทุนสูง และประเทศกำลังประสบปัญหาทางเศรษฐกิจ หลังจากปฏิบัติการเพียงหนึ่งครั้ง ใช้เวลาในอวกาศเพียง 3 ชั่วโมง
อ้างอิง
- Gordon R. Woodcock - '''Space stations and platforms''' (1986, 220 pages) - Snippet: "The present limit on Shuttle landing payload is 14400 kg. (32000 lb). This value applies to payloads intended for landing.". Books.google.com. สืบค้นเมื่อ 2012-04-17.
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud kraswyxwkas xngkvs space shuttle khux ekhruxngbinxwkaskhxngshrthxemrika srangkhunodyxngkhkarnasa NASA michuxeriykxyangepnthangkarwa Space Transportation System STS phlitodybristh North American Aviation sungpccubnepnswnhnungkhxngbristh Rockwell International sepschthethilthayankhunehmuxncrwdaelaipokhcrrxbolk mipikaelatxnklbsuolkcarxnlngtamrnewy kraswyxwkassamarthnamaichidhlay khrngkraswyxwkasbegins liftoff at the start of hnathiManned orbital launch and reentryphuphlit SRBs lxkhid martin ET obxing orbiter khnadesnphansunyklang8 7 emtr 28 5 fut khwamcunahnkbrrthuksu3 810 kiolkrm 8 390 pxndtxtarangemtr nahnkbrrthuksu12 700 kiolkrm 28 000 pxnd nahnkbrrthuksu Landing14 400 kiolkrm 32 000 pxnd nahnkthisamarthbrrthukkhun prawtikarbincanwnethiywbin135saercplxyyanthiprasbkhwamsaerc 134 khrng lngcxdsaerc 133 khrnglmehlw2 nahnkbrrthukthioddedn including Hubble Boosters canwnbusetxr2ekhruxngynt1aerngkhb12 5 each sea level liftoff 2 800 000 aerngdlcaephaa269 winathiewlaephaihm124 winathiechuxephlingechuxephlingaekhngcrwdthxnaerk ekhruxngynt3 located on Orbiteraerngkhb5 45220 MN total sea level liftoff 1 225 704 pxndtxtarangniw aerngdlcaephaa455 winathiewlaephaihm480 winathiechuxephling crwdthxnthisxngekhruxngyntr2aerngkhb53 4 kN combined total vacuum thrust 12 000 pxndtxtarangniw aerngdlcaephaa316 winathiewlaephaihm1 250 winathiechuxephling N2O4okhlmebiy ph s 2524 kraswyxwkasthukxxkaebbmaihichngansaid 100 khrng hruxptibtikarid 10 pi okhrngkarthukerimkhuninthayyukh 60 hlngcaknnkmibthbathsakhyinptibtikarthitxngichkhnekharwmkhxngnasamaodytlxd swnsakhykhxngkraswyxwkas eriykwa orbiter hmaythung yanokhcr caphalukeruxaelasmpharaipyngxwkasinkhnathicasngkraswyxwkaskhunip kraswycaxyuthithansngodycatngchikhunipkhlaycrwd khang xxrbietxrcamiaethngkhnamnkhnadihy sungeriykwa aethngkhdannxk External Tank sungmncaekbxxksiecnaelaihodrecninkhnathimnkhunechuxephlingehlanicathuksubekhaipyngekhruxngynthlk 3 ekhruxng khxngxxrbietxr nxkcakniyngmiaethngkhkhnadelkthixyukhang xxrbietxrbnthansngephuxihaerngphlkdnphiessinkhnasngkraswykhun sungeriykwa Solid Fuel Rocket Booster hrux SRB thangankhlaykbcrwddxkimifkhnadihy emuxkraswyxwkasthayankhun hlngcaknnpraman 2 nathi echuxephlinginaethngkhechuxephling SRB cahmdlng aelatklnginthaelkbrmchuchiph xtrakhwamerwkhxngkraswykhxy ephimkhuncnthungkhwamerwpraman 72 iml caknnekhruxngynthlkcunghyudthangan aelathngechuxephlingphaynxksungwangeplacathukplxytklngsuthael ekhruxngyntkhxngcrwdsxnglacarbpharatxip sungeriykwa rabbkarykyaykarokhcr inrahwangkarokhcr emuxthungewlaklbsuolk ekhruxngyntrabbkarykyaykarokhcrcathukyingkhlaykbtxnlangkhxngcrwd aelayancahludxxkcakkarokhcr aelwklblngmasubrryakasolkinxtrakhwamerw 15 900 imltxchwomng hruxpraman 25 700 kiolemtrtxchwomng aephnkabngkhwamrxnkhangitkraswyxwkascaeplngaesngsiaedngcdphrxmkbkhwamrxninkarklbekhamasuolk aephnkraebuxngphiessbnkraswyxwkascapxngknlukeruxaelayanxwkasxxrbietxrcachalngemuxekhamathungbriewnswnlangkhxngbrryakas carxnlngbnphundinbnrnewydwykhwamerwpraman 210 imlaelwpharkickcacblngkraswyxwkaskhxngnasakraswyxwkaskhxngnasathuksrangkhunmathnghmd 6la tamladbkhux kraswyxwkasexnethxriphrs thukichinkarthdsxbrabbtnaebbethann imekhythukichnganinxwkascring kraswyxwkasokhlmebiy khunbinkhrngaerkemuxwnthi 12 emsayn kh s 1981 nbepnkraswyxwkaslaaerkthiidkhunbininxwkas kraswyxwkaschaelnecxr khunbinkhrngaerkemuxwnthi 4 emsayn kh s 1983 kraswyxwkasdiskhfewri khunbinkhrngaerkemuxwnthi 30 singhakhm kh s 1984 kraswyxwkasaextaelntis khunbinkhrngaerkemuxwnthi 3 tulakhm kh s 1985 kraswyxwkasexnedfewxr thuksrangkhunhlngkraswyxwkaschaelnecxrprasbxubtiehtu khunbinkhrngaerkemuxwnthi 7 phvsphakhm kh s 1992osknatkrrmwnthi 28 mkrakhm kh s 1986 kraswyxwkasaechlelnecxrprasbxubtiehturaebidkhnathyankhuncakphunolkidephiyng 73 winathi lukeruxecdkhnesiychiwitthnghmd saehtuekidcakmirxyrwbriewncrwd SRB dankhwa thaihechuxephlingrwxxkmaaelaekidkarephaihmthichxngwangrahwangcrwd SRB aelathngechuxephlinghlk sungrxyrwnnekidcakkhwameyncaknaaekhngthiekaarxbyaninchwngimkichwomngkxnplxyyan wnthi 1 kumphaphnth kh s 2003 kraswyxwkasokhlmebiyprasbxubtiehtukhnaklbsuphunolk enuxngcakbriewnpikmikhwamesiyhaythiekidkhuncakkarkraaethkkhxngchinswnofmcakthngechuxephlinghlkhludkhnakhunbin thaihyanaetkxxkpnesiyngkhnaesiydsikbchnbrryakasrahwangklblngsuphunolk lukeruxecdkhnbnyanesiychiwitthnghmd nbtngaetehtukarnkraswyxwkasokhlmebiyepntnma thukethiywbincamikraswyxwkassarxngxik 1 la inkrniehtuchukechinhruxehtukarnthitxngkuphynkbininethiywbinhlkthukethiywbin odykraswyxwkassarxngthicaxxkptibtikarcaichrhsethiywbin STS 3xx kraswyxwkasthirbhnathikuphysamarthbinidthnthitamptibtikar Launch On Need LON echn STS 114 kraswyxwkasdiskhfewxrri sungepnethiywbinaerkhlngehtukarnkraswyxakasokhlmebiyraebid camikraswyxakassahrbethiywbinkuphyepn kraswyxwkasaextaelntis rhsethiywbinkhux STS 300 epntn ykewnethiywbin STS 125 mikarepliynaeplngrhsethiywbinkuphyepn STS 400 sahrbpharkicsxmbarungklxngothrthrrsxwkashbebil khrngthi 4 khxngkraswyxwkasaextaelntis enuxngcakepnpharkicniepnpharkicediywthiimidip ISS hakmiehtuchukechinkarthicaip ISS epneruxngthithaidyak odykraswyxwkasexnedfewxrcarbhnathiepnethiywbinkuphy cnkrathngtngaetethiywbin STS 126 cungykelikaephnkuphyodyichkraswyxwkassarxng ephraahakmiehtuthiimsamarthlngcxdidcaichyankuphykhxng ISS aethn aetnamaichxikkhrnginethiywbin STS 134sinsudokhrngkarnasayutiokhrngkarkraswyxwkasineduxnkrkdakhm kh s 2011 hlngcakkraswyxwkaslaaerkkhunsuxwkasmanankwa 30 pi rwmthungrayaewlaphthnaxikkwa 20 pi aelacaepliynipphthnarabbkhnsngrunihminokhrngkar Constellation sungepncrwdthrrmdaaethn edimkhadkarnwacaerimichnganidinpi kh s 2016 cnkrathnginwnthi 1 kumphaphnth kh s 2010 prathanathibdibark oxbama idprakasihykelikokhrngkarni odyihepliynipxxkaebbphthnayanxwkasrunihmthimiprasiththiphaphmakkwaephiyngaekhichinokhrngkarediywaethn wnthi 9 minakhm kh s 2011 kraswyxwkasdiskhfewxrithukpldpracakar wnthi 1 mithunayn kh s 2011 kraswyxwkasexnedfewxrthukpldpracakar wnthi 21 krkdakhm kh s 2011 kraswyxwkasaextaelntisthukpldpracakar nbepnkraswyxwkaslasudthaythiidkhunbinsuxwkasduephimokhrngkarxun sahrbkraswyxwkaskhxngshphaphosewiyt michuxwa Buran Bura n aeplwa phayuhima pccubnlmelikokhrngkaripaelw tngaet kh s 1993 insmyprathanathibdi enuxngcakmitnthunsung aelapraethskalngprasbpyhathangesrsthkic hlngcakptibtikarephiynghnungkhrng ichewlainxwkasephiyng 3 chwomngxangxingGordon R Woodcock Space stations and platforms 1986 220 pages Snippet The present limit on Shuttle landing payload is 14400 kg 32000 lb This value applies to payloads intended for landing Books google com subkhnemux 2012 04 17 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb kraswyxwkas